เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล
  
     ��÷�褹��������ͧ��ҧ �Ъ����������ö�͡���觷���Ңͧ���§������Ҩҡ��ȷҧ�
�� ������§�Ҩҡ�ҧ������ �٢�ҧ��Ҩ����Թ���§��͹�٢�ҧ������硹��� ���٢ͧ��
���Ԩ�����ö�Ѻ���§����դ����ѧ�ͧ���§����ش 0 ഫ��� (decibel:dB) ����٧�ش 120
ഫ��� (�������ͧ�������§ ����� 20-20,000 ���õ��) �дѺ���§����դ�����ʹ����
������Թ����Ѻ������ ��� �����ѧ����ҳ 75 ഫ��� (decibel:dB) ���͹��¡���   
     ���ͧ�ҡ���§�������ʷ���դ����Ӥѭ��ͤ�����դ����������ҧ�ҡ��͡�����¹���
��������� ��ШԵ� �����§���Ҩ���ѹ���µ�ͤ����蹡ѹ ������§������Թ����դ���
�ѧ�ҡ�Թ�������Ѻ�ѧ�����ҹҹ ���ռš�з���͡�����Թ���Դ����٭����
������Թ��������
เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล
�����ѧ�ͧ���§�дѺ㴷������ѹ���µ�͡�����Թ
�ͧ�س

� �ͧ���֡�Ҩҡ���������������§�ѹ��Д���������������§������� ? ʧ��¨ѧ

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

 
       �繡�����º��º�����ѧ�ͧ���§�Ѻ�дѺ�س����Է���٧��鹫���Ѵ����
������������ ������س������٧��鹫�����¶֧�͡�ʷ������ѹ���µ����ҧ������ҡ���
㹷ӹͧ���ǡѹ ��Ҥ����ѧ�ͧ���§����Ѵ����˹���ഫ��� (decibel:dB) �ҡ���
����ռš�з���͡�����Թ�ͧ�ؤ�Ź���蹡ѹ ���ѹ���µ�͡���٭���¡�����Թ���
�ѡ���Դ��鹪��� ����������դ����纻Ǵ ��駹��������Ѻ�Ѩ��� 2 ��С�ä�� �дѺ�����ѧ
�ͧ���§����������ҷ�����Թ���§��鹵Դ��͡ѹ �·ء� 5 ഫ��ŷ����������ѡ�з����
������ʹ��µ�͡�����ԹŴŧ����˹�� �дѺ�����ѧ���㴷������ѹ���µ�͡�����Թ
�������������ö�֡����ҡ ����������������§�

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

��õ�Ǩ������Թ�����ҧ�� ���繵�ͧ��Ǩ�ء���������    

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

ความเข้มของเสียงและการได้ยิน
เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียงและในการทำให้วัตถุสั่นจำต้องใช้พลังงาน ถ้าพลังงานที่ใช้มีค่ามากแอมพลิจูดของการสั่นก็มีค่ามาก และถ้าใช้พลังงานน้อย แอมพลิจูดของการสั่นก็จะน้อยตามไปด้วย พลังงานการสั่นของต้นกำเนิดเสียงจะถูกถ่ายโอนให้แก่โมเลกุลของอากาศที่อยู่รอบ ๆ แหล่งกำเนิดเสียงซึ่งพลังงานจะถูกถ่ายโอนผ่านโมเลกุลของอากาศต่อกันไปถึงหูผู้ฟัง ทำให้แก้วหูสั่นสะเทือน เป็นผลให้ผู้ฟังได้ยินเสียง การได้ยินเสียงของผู้ฟัง ขึ้นกับปัจจัยหลายประการ ซึ่งจะศึกษาต่อไป

ความเข้มของเสียง
แหล่งกำเนิดที่มีช่วงกว้างของการสั่น (amplitude) กว้างมาก จะเกิดเสียงดังกว่าเสียงที่มี amplitude น้อย ในทางวิทยาศาสตร์ เรียกความดังของเสียงว่า ความเข้มของเสียง การวัดความเข้มของเสียงวัดได้จากพลังงานของเสียงที่ตกตั้งฉากบน 1 หน่วยพื้นที่ใน 1 หน่วยเวลา มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร ( Watt/m2 ) และหาได้จากสมการดังต่อไปนี้

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล
พลังงานเสียงจากแหล่งกำเนิดคงที่ ที่ระยะห่างออกไปจะได้ยินเสียงที่มีความเข้มเสียงไม่เท่ากันดังรูป

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

จะเห็นว่าค่าความเข้มเสียง (I) แปรผกผันกับระยะห่างกำลังสอง

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

เมื่อมีการเปรียบเทียบความเข้มเสียง 2 ค่า  สามารถพิจารณาได้จากสมการ

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

ระดับความเข้มของเสียง

เมื่อหาอัตราส่วนระหว่างความเข้มเสียงที่ดังที่สุดที่มนุษย์ทนฟังได้กับความเข้มเสียงเบาที่สุดที่มนุษย์ได้ยินมีค่ามากถึง 1012   ดังนั้นเพื่อความสะดวกในทางปฏิบัติ จึงนิยมใช้ ระดับความเข้มเสียง เป็นปริมาณที่บอกความดังของเสียงแทน ความเข้มเสียง และเป็นเกียรติแก่ อเลกซานเดอร์ เกรแฮม เบล  ระดับความเข้มของเสียงและมีหน่วยเรียกว่า เบล  แต่เนื่องจากเบลเป็นหน่วยที่ใหญ่เกินไป ไม่สามารถบอกความละเอียดที่จะบอกค่าความดังของเสียงต่าง ๆ  ได้ จึงแบ่งเป็นหน่วยย่อยลงไป เรียกว่า เดซิเบล ( dB )

มนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความดังที่ระดับความเข้มของเสียงตั้งแต่ 0 – 120 เดซิเบล  เสียงที่ดังมากเกินไปอาจทำให้หูหนวกได้ เช่น เสียงฟ้าผ่าใกล้ๆตัว  ที่มีค่าความดังเกิน 120 dB  เป็นต้น เสียงที่มีความดังไม่มากแต่ได้ยินเป็นเวลานานหลายชั่วโมงก็อาจเป็นอันตรายได้ เช่น เสียงเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ( มลภาวะทางเสียง )  องค์การอนามัยโลกจึงกำหนดว่าเสียงที่ปลอดภัยต้องมีความเข้มไม่เกิน 85 dB เมื่อต้องได้ยินติดต่อกันวันละ  8 ชั่วโมงขึ้นไป   เสียงที่ดังไม่ถึงขั้นเป็นอันตรายกับหู แต่อาจมีผลกระทบทางด้านจิตใจได้ เช่น ทำให้เกิดความเครียด ไม่มีสมาธิ เป็นต้น

เราสามารถหาระดับความเข้มของเสียง ได้ดังนี้

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

ถ้ามีการสังเกตที่ 2 ตำแหน่ง ซึ่งมีค่าระดับความเข้มเสียงแตกต่างกัน สามารถเขียนสมการผลต่างของระดับความเข้มเสียงได้ดังนี้

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

ตาราง  แสดงระดับความเข้มเสียงจากแหล่งกำเนิดต่าง ๆ

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

มลภาวะของเสียง

เมื่อเราอยู่ใกล้บริเวณที่กำลังมีการตอกเสาเข็มหรือมีการขุดเจาะถนนด้วยเครื่องเจาะหรือบริเวณโรงงานอุตสาหกรรมที่มีเครื่องจักรขนาดใหญ่  หรือแม้แต่ในบริเวณสนามบิน  เสียงที่เกิดขึ้นในบริเวณเหล่านี้ จะเป็นเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงสูง ถ้าหูรับฟังเสียงเหล่านี้ติดต่อกันนาน ๆ  จำทำให้สภาพหูและสภาพจิตใจของผู้ฟังผิดปกติได้ ดังนั้นผู้ที่ทำงานในบริเวณที่มีระดับความเข้มสูง จึงต้องมีจุกอุดหูหรือที่ครอบหูหรือวัสดุเก็บเสียงอื่นๆ เพื่อช่วยลดระดับความเข้มเสียงให้หูปลอดภัย

เนื่องจากเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงสูง เป็นอันตรายต่อผู้ฟังที่อยู่ใกล้ กระทรวงมหาดไทยจึงได้ออกประกาศเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานในบริเวณที่มีเสียงดังโดยมีเกณฑ์ ดังแสดงในตาราง

ตาราง  ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับเสียง

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล

เสียงที่มีระดับความเข้มเสียงสูง และเสียงที่ทำความรำคาญแก่หูผู้ฟัง คือ มลภาวะของเสียง

การปรับปรุงหรือแก้ไข แหล่งกำเนิดเสียงให้มีกำลังเสียงลดลง จะทำให้ระดับความเข้มของเสียงลดลงด้วย จึงจัดเป็นการลดมลภาวะของเสียงวิธีหนึ่ง ในกรณีที่เราไม่สามารถแก้ไขความดังของเสียงที่แหล่งกำเนิดเสียงได้ การป้องกันโดยวิธีอื่น ๆ เช่น การใช้จุกอุดหู หรือที่ครอบหู หรือการติดตั้งวัสดุเก็บเสียง จะสามารถช่วยลดมลภาวะของเสียงได้

หูกับการได้ยิน

          หูเป็นอวัยวะสำคัญในการรับเสียง แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ

1)   หูส่วนนอก (external ear)  ประกอบด้วยใบหู รูหูหรือช่องหู จนถึงแก้วหู ทำหน้าที่รับเสียงจากภายนอก คลื่นเสียงเดินทางไปทางรูหู โดยมีช่องหูทำหน้าที่รวมเสียงไปสู่แก้วหู

2 )    หูส่วนกลาง  (middle ear)  อยู่ถัดจากแก้วหูเข้าไป มีลักษณะเป็นโพรงอากาศ ภายในมีกระดูก 3 ชิ้น ได้แก่กระดูกค้อน อยู่ชิดแนบกับแก้วหู กระดูกโกลนมีฐานวางปิดช่องที่ต่อไปยังหูชั้นใน และกระดูกทั่งทำหน้าที่ส่งต่อแรงสั่นสะเทือนของเสียงไปยังหูส่วนใน และหูส่วนกลาง  นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ปรับความดันอากาศภายในให้เท่ากับความดันอากาศภายนอก โดยอาศัยท่อที่ติดต่อกับโพรงอากาศ หากความดันไม่เท่ากันจะทำให้หูอื้อ  ได้ยินเสียงไม่ชัดเจน

3 )    หูส่วนใน  (inner ear)  ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน

ส่วนแรก  คือ คอเคลีย  (cochlea) เป็นท่อขดคล้ายรูปหอยโข่ง ภายในมีของเหลว มีเซลล์รับความสั่นสะเทือนของของเหลวภายในคอเคลีย ทำหน้าที่รับคลื่นเสียง และแปลงเป็นคลื่นไฟฟ้าไปตามประสาทได้ยินไปยังสมอง เพื่อรับรู้การได้ยินและแปลความหมายโดยสมอง

ส่วนที่สอง  คือ ท่อครึ่งวงกลม 3 ท่อ ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ทำหน้าที่รับการทรงตัวของร่างกายและการเคลื่อนไหวของศรีษะ

เสียงที่มีระดับความเข้มของเสียงประมาณ 120 เดซิเบล