เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น (สอศ.) (รหัสวิชา 20100-1005) มีแผน+เฉลย (PDF)

หนังสือเล่มนี้เรียบเรียงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

เนื้อหาโดยสังเขป

    หนังสือเล่มนี้ มีเนื้อหาประกอบไปด้วยการศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับ "หลักความปลอดภัยในปฏิบัติงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์" แหล่งกำเหนิดไฟฟ้า กฏของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง กฏควบคุมมอเตอร์เบื้องต้น อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าและการต่อสายดิน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ R L C หม้อแปลงไฟฟ้า รีเลย์ ไมโครโฟน ลำโพง อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ การบัดกรี การใช้มัลติมอเตอร์ เครื่องกำเหนิดสัญญาณ ออสซิลโลสโคป การประกอบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เหมาะสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนรายวิชา กลุ่มสมรรถนะรายวิชาพื้นฐาน ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ตรงตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

สารบัญ

บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Safety of Electrical and Electronics)
บทที่ 2 แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electrical Source)
บทที่ 3 ทฤษฏีไฟฟ้าเบื้องต้น (Basic Electrical Theory)
บทที่ 4 เครื่องมือวัดงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Electrical and Electronics Measurements)
บทที่ 5 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น (Basic Electrical Circuits)
บทที่ 6 วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง (Lighting Circuit)
บทที่ 7 อุกรณ์ไฟฟ้า (Electrical Devices)
บทที่ 8 อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าและการต่อลงดิน (Ciruit Breaker and Ground Connecting)
บทที่ 9 การควบคุมมอเตอร์เบื้องต้น (Basic Motor Control)
บทที่ 10 ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ (Resistor Condenser and Inductor)
บทที่ 11 ไมโครโฟน ลำโพง รีเลย์ หม้อแปลง โปรโตบอร์ด และสตริปบอร์ด (Microphone, Loudspeaker, Relay, Transformer, Protoboard and Stripboard)
บทที่ 12 อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ (Semiconductors Device)
บทที่ 13 ขั้วต่อสายไฟฟ้า (Electrical Connector)
บทที่ 14 การประกอบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น (Basic Electrical and Electronics circuit Assembly)
บทที่ 15 เครื่องมืองานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Electrical and Electronics Hand Tools)

รายละเอียดหนังสือ

สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน

ใบเนือ้ หา หนา้ ท่ี ๑ / ๑๔
วิชา ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น
เร่ือง ระบบความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ภาคเรยี นท่ี ๑ / ๒๕๖๒
ช้ัน ปวช. ๑

ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์

๑.๑ ทฤษฎีความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

๑.๑.๑ ประโยชนข์ องไฟฟ้า ไฟฟ้า เป็นพลังงานรปู หนึง่ ท่ีสามารถเปลย่ี นรูปเป็นพลงั งานรปู อ่นื ๆ ไดห้ ลายรปู แบบ โดยอาศัย
แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าท่ีจ่ายให้กับอุปกรณไ์ ฟฟ้า เครอื่ งมือ และเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ใหเ้ กิดการทางานโดยจา่ ยไปในรูปกระแสไหล
ไฟฟ้าเคล่ือนท่ีได้ดีในวัตถุตัวนาจาพวกโลหะชนิดต่าง ๆ เช่น ทองคา ทองแดง เงิน เหลก็ ตะก่ัว และอลูมิเนียม เป็นต้น เปลี่ยนเป็น
พลังงานตามต้องการ ไฟฟ้าจึงมีประโยชน์มาก สาหรับใช้ภายในบ้านพักอาศัยหรือในโรงงานอุตสาหกรรม ประโยชน์ของพลังงาน
ไฟฟ้าสามารถแยกได้ดงั ต่อไปนี้

๑) ใหค้ วามรอ้ น เชน่ เตารดี หม้อหงุ ขา้ วไฟฟา้ กาต้มน้าไฟฟา้ เป็นตน้
๒) ใหแ้ สงสวา่ ง เช่น หลอดไส้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ เปน็ ต้น
๓) ให้ความเยน็ เช่น ตเู้ ย็น เครื่องปรบั อากาศ เป็นตน้
๔) ใหพ้ ลงั งานกล เช่น พดั ลม เครอ่ื งซักผ้า เป็นต้น
๕) ใหอ้ านาจแม่เหลก็ เช่น หมอ้ แปลงไฟฟา้ กระด่งิ ไฟฟา้ เปน็ ต้น

๑.๑.๒ อันตรายของไฟฟา้ จากประโยชน์ของไฟฟ้าทมี่ ากมาย มนษุ ยจ์ ึงสามารถดารงชีวิตไดอ้ ยา่ งสะดวกสบาย และมคี วาม
บนั เทิง แตห่ ากผใู้ ช้ ใช้งานอย่างผดิ วิธี มคี วามประมาท และขาดความระมัดระวงั ในการใชง้ าน อาจทาใหเ้ กดิ อันตรายต่อชีวติ และ
ทรัพย์สนิ ได้ เนอื่ งจากกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านอปุ กรณ์ เครอื่ งมอื และเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ จนครบวงจรแลว้ ทาใหอ้ ุปกรณ์ เคร่อื งมอื และ
เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ทางานไดน้ ั้น เมือ่ มกี ารใช้งานทผ่ี ิดวธิ ี หรอื วงจรไฟฟา้ สว่ นใดสว่ นหนงึ่ มคี วามบกพร่อง จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อ
อุปกรณ์ เครื่องมอื และเครอื่ งใช้ไฟฟ้าน้นั หรอื เกดิ เพลงิ ไหมไ้ ด้ และหากมีบางส่วนของรา่ งกายไปสัมผสั กบั วงจรไฟฟ้า จะทาให้
กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นรา่ งกาย อาจกอ่ ให้เกิดอันตรายจนถงึ แกช่ วี ิตไดเ้ ช่นกัน อันตรายของไฟฟ้า แบ่งออกไดด้ ังนี้

๑) กระแสไฟฟ้าไหลเกิน เกิดจากการมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาเกินพิกัดท่ีกาหนด แบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ไฟฟ้า
ลดั วงจรและการใช้โหลดเกนิ

(๑) ไฟฟา้ ลัดวงจร เป็นสภาวะที่กระแสไฟฟา้ ไหลครบวงจรโดยไม่ผ่านอุปกรณ์เคร่ืองมือหรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหรือผ่าน
เพยี งบางส่วน อันเนอื่ งมาจากฉนวนของสายไฟชารุดดังรปู ที่ ๑.๑ ทาให้ตัวนาสายไฟสัมผัสถงึ กนั กอ่ ใหเ้ กิดการลัดวงจร หรอื เกดิ ความ
รอ้ นที่ฉนวนห่อหมุ้ ลวดตวั นา หรือเกิดความร้อนบนตวั อุปกรณ์ เคร่ืองมือ หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าจนเกิดความเสียหาย และอาจเกิดการ
ลกุ ไหม้ได้อีกดว้ ย

หนา้ ที่ ๒ / ๑๔

รูปที่ ๑.๑ แสดงฉนวนของสายไฟชารดุ
ทีม่ า : http://www.cctvbangkok.com, สบื ค้นวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๒) การใชโ้ หลดเกิน เปน็ สภาวะทจี่ ดุ ต่อ ไดร้ ับกระแสไฟฟา้ เกินกว่าพิกัดการรับโหลดท่ีกาหนด อันเนอ่ื งมาจากการใช้
อปุ กรณไ์ ฟฟา้ หลายชนิดตอ่ ในจดุ เดียวกนั ดงั รปู ท่ี ๑.๒

รปู ท่ี ๑.๒ แสดงการใช้อปุ กรณ์ไฟฟา้ หลายตัวตอ่ ในจดุ เดียวกัน
ท่ีมา : www.pea.co.th/mahasarakham, สบื ค้นวันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
๒) ไฟฟ้าดูด เกิดจากการมกี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกายลงดินมีผลใหร้ ่างกายไดร้ ับบาดเจ็บ พิการ หรือถึงกบั เสียชวี ิตได้
ซง่ึ ความรนุ แรงทีเ่ กดิ ข้ึนอย่กู บั ปริมาณของกระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า ระยะเวลา ตาแหน่งของร่างกายท่ีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น ความถี่
และสภาพผิวหนังของร่างกายทแี่ ห้งหรอื เปียกช้นื รวมท้ังกรรมวธิ ีในการชว่ ยเหลือ และการปฐมพยาบาล ลกั ษณะของการถูกไฟฟ้าดูด
สามารถแบ่งได้ ๓ แบบ คือ
(๑) การร่ัวระหว่างสาย การถกู ไฟฟา้ ดดู ลักษณะน้ีดังรูปท่ี ๑.๓ เกิดจากรา่ งกายต่อเป็นส่วนหนง่ึ ของวงจรไฟฟ้า ทาให้
มกี ระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจรในตัว โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งต่อลงดนิ

รปู ที่ ๑.๓ แสดงการถูกไฟฟ้าดูดจากการจบั สายไฟฟา้ ที่ชารดุ
ทีม่ า : http://www.oknation.net, สืบค้นวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒

หน้าที่ ๓ / ๑๔

(๒) การรั่วไหลลงสดู่ ิน การถูกไฟฟ้าดูดลกั ษณะน้ี จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายจากสายท่ีมไี ฟฟ้าลงสดู่ ินโดยตรง
อนั เนอ่ื งมาจากพ้นื ดินมคี วามชื้น หรือมนี ้าท่วมขัง หรือเกิดจากความประมาท เช่น อุบตั ิเหตจุ ากโลหะที่จับถือพลาดไปถกู สายไฟฟ้า
เกดิ การลดั วงจร มีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นโลหะ ผา่ นมือ ผา่ นร่างกายลงสู่ดนิ เปน็ ต้น

(๓) การรว่ั ไหลผา่ นโครงอุปกรณ์ การถูกไฟฟา้ ดดู ลักษณะดงั รูปที่ ๑.๔ จะมแี รงดันไฟฟ้าบางส่วนรว่ั มาปรากฏที่โครง
โลหะ ของอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื หรอื เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า ที่เส่อื มคณุ ภาพ หรอื ชารุด เมือ่ รา่ งกายสมั ผสั ถกู โครงโลหะ ทาใหม้ กี ระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านรา่ งกายลงดินทฝ่ี า่ เทา้ ได้

รูปท่ี ๑.๔ แสดงการรว่ั ไหลของกระแสไฟฟ้าผ่านโครงอปุ กรณ์ผา่ นร่างกาย
ท่ีมา : http://phathole.com, สบื คน้ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒

ตารางที่ ๑.๑ แสดงปรมิ าณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นและทม่ี ีผลกระทบต่อรา่ งกาย

ปรมิ าณกระแสไฟฟ้า (mA) ผลกระทบทมี่ ีปฏกิ ริ ยิ าตอ่ ร่างกาย

2 มอี าการอ่อนเพลีย ประสาทมอื สัน่ กล้ามเนื้อกระตุกเล็กน้อย เกดิ ความกลัว

5 – 10 มอี าการช็อก (Shock) กล้ามเนอ้ื กระตกุ เกดิ อาการเจ็บปวด ระบบหายใจลม้ เหลว

10 – 25 ความดนั เลือดสูง บริเวณถกู ดดู เกิดอาการหดตัวของกลา้ มเน้อื ระบบหายใจล้มเหลว
ถึงขั้นหมดสติ

25 – 80 เกรง็ กล้ามเนอื้ หายใจตดิ ขดั สมองอาจขาดออกซิเจน ถ้านานเกนิ ๔ นาที

80 – 200 ขาดเลอื ดเลีย้ งหวั ใจ หวั ใจล้มเหลวหลงั ถกู ดูดชั่วขณะ หัวใจหยดุ เตน้ หรือเสียชีวติ ได้

200 – 5,000 หัวใจล้มเหลวหลังถูกดดู ๐.๑ วนิ าที ผิวหนังถูกทาลาย หวั ใจหยดุ เต้นและเสยี ชีวติ ได้

มากกวา่ 5,000 ถกู เผาไหม้ เนื้อเย่อื ตายและเสียชวี ิตได้

จากตารางที่ ๑.๑ สามารถแยกผลของกระแสไฟฟา้ ที่มตี ่อรา่ งกาย ตามความรุนแรงของอาการไดด้ ังนี้
(๑) อาการอ่อนเพลยี กลา้ มเน้ือหดตวั เกดิ การกระตุกเลก็ นอ้ ยจนถงึ รุนแรง แต่ยังไมเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ ชวี ติ
(๒) กลา้ มเน้ือเกร็ง หดตวั อย่างรนุ แรง เกดิ อาการเจ็บปวด ทาใหป้ อดไม่สามารถทาหน้าท่ีได้ มีลกั ษณะการขาดอากาศ

หายใจ มีโอกาสเสยี ชวี ิตได้ภายใน ๒-๓ นาที
(๓) ระบบประสาทมีอาการเป็นอัมพาตชั่วคราว โดยเฉพาะประสาทส่วนกลางท่ีควบคุมการทางานของหัวใจ ทาให้

การทางานของหวั ใจลม้ เหลว
(๔) หวั ใจหยดุ เตน้ ผิวหนังถูกทาลาย หรอื เน้ือเยื่อไหม้อย่างรนุ แรง กลา้ มเนือ้ ไมท่ างานและเสียชีวิตได้

หนา้ ที่ ๔ / ๑๔

๑.๑.๓ การปฏิบัติงานทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่ีปลอดภัย การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องคานึงถึงความ
ปลอดภัยเป็นอันดับแรก โดยผู้ใช้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างเหมาะสมกับการใช้งาน และใช้งาน
เคร่ืองใช้ ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี มีการบารุงรักษาอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังมีความระมัดระวังในการใช้งาน ปฏิบัติงานด้านไฟฟ้าอย่างถูก
ขนั้ ตอน ทางานเป็นระบบและมีความรอบคอบ โดยมหี ลกั ในการปฏบิ ตั เิ พือ่ ความปลอดภัยดังน้ี

๑) ด้านการใชไ้ ฟฟ้า มีหลกั ในการปฏิบตั ิในการใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าและอปุ กรณ์ไฟฟา้ ดังน้ี
(๑) ก่อนใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทุกชนิด จะต้องศึกษาคู่มือแนะนาการใช้งานให้เข้าใจ รวมทั้งปฏิบัติตามคาแนะนาอย่าง

เครง่ ครดั
(๒) ก่อนนาเคร่ืองใช้ไฟฟ้าไปใช้งานทุกคร้ัง ควรตรวจสอบสายไฟฟ้า และเต้าเสียบของ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าน้ันให้อยู่ใน

สภาพสมบรู ณ์
(๓) การใชเ้ ครอื่ งใช้ไฟฟ้าประเภทให้ความร้อนสงู ไม่ควรใช้งานใกลก้ บั สารไวไฟ และถอดเตา้ เสยี บออกเม่ือเลิกใช้แลว้
(๔) ก่อนนาเต้าเสยี บของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่อเข้ากับเต้ารับไฟฟ้า ควรตรวจสอบสวิตช์ของเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ใหอ้ ยใู่ นสภาพ

ไมใ่ ช้งาน
(๕) ไม่ควรใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟา้ ในบรเิ วณท่ีมีความชน้ื สงู หรอื บริเวณที่มีนา้ ท่วมขงั ดงั รูปที่ ๑.๕ เพราะอาจทาให้เกิดไฟฟ้า

รว่ั ได้

รูปที่ ๑.๕ แสดงการใช้เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าในบรเิ วณที่มีน้าท่วมขงั
ทมี่ า : www.pea.co.th, สบื ค้นวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๖) เคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่มีผิวนอกเป็นโลหะ ควรต่อสายดินของเครื่องใช้ไฟฟ้า เข้ากับระบบสายดินดังรูปที่ ๑.๖ เพ่ือ
ปอ้ งกันอันตรายท่อี าจเกิดขึ้น

รูปที่ ๑.๖ แสดงการตอ่ สายดนิ ของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ เข้ากบั ระบบสายดิน
ทีม่ า : http://www.siamsafety.com, สบื ค้นวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๗) อุปกรณไ์ ฟฟ้าท่ตี ้องอยภู่ ายนอกอาคาร ควรใช้เปน็ แบบกันน้าได้ เพ่อื ป้องกนั การเกิดกระแสไฟฟ้าลดั วงจร

หน้าท่ี ๕ / ๑๔

(๘) ขณะที่ร่างกายเปียก หรือยืนบนพ้ืนที่เปียกดังรูปท่ี ๑.๗ ไม่ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือหรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เพราะ
อาจเกิดไฟดูดได้

รูปท่ี ๑.๗ แสดงอนั ตรายจากการใช้งานไฟฟา้ ขณะรา่ งกายเปยี ก
ทมี่ า : www.pea.co.th, สืบค้นวันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๙) ควรดแู ลบารุงรักษา และตรวจสอบความผิดปกติของเคร่ืองใช้ไฟฟา้ เพือ่ แก้ไขให้อยู่ในสภาพดีพรอ้ มใช้งานเสมอ
(๑๐) ในการตรวจสอบ ทดสอบ และบารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า ควรใช้เครื่องมือทดสอบ และ
เครื่องมืออ่ืน ๆ อย่างถกู ต้องเหมาะสมดงั รูปที่ ๑.๘

รปู ที่ ๑.๘ แสดงการใชไ้ ขควงตรวจสอบไฟทดสอบจดุ ทคี่ ดิ ว่าน่าจะมไี ฟรวั่
ทมี่ า : http://pantip.com, สืบคน้ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒

(๑๑) ต้องใชเ้ ครื่องมอื ชา่ งในงานไฟฟา้ ที่มีฉนวนหุ้มอยู่ในสภาพปกติ ไม่ชารดุ บกพรอ่ ง
(๑๒) ควรใช้อะไหลท่ ่ีมคี ุณภาพ เช่ือถอื ได้ และมีมาตรฐานรบั รอง ในการเปลี่ยนอะไหล่อุปกรณ์ใหม่ทกุ คร้งั
(๑๓) อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครอื่ งใช้ไฟฟ้าทีต่ รวจสอบแลว้ แต่ยงั ไม่มกี ารซ่อมบารุงส่วนท่ชี ารุดเสียหาย ควรติดป้ายแจ้ง
เตือนให้เหน็ ชดั เจนดังรูปท่ี ๑.๙

หนา้ ที่ ๖ / ๑๔

รูปที่ ๑.๙ แสดงป้ายแจ้งเตือนหา้ มสมั ผัส
ทม่ี า : http://b2bthaistorage.blob.core.windows.net, สืบคน้ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒

(๑๔) ควรแยกวงจรไฟฟ้าเป็นส่วน ๆ เช่น วงจรเครื่องปรับอากาศ วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง วงจรไฟฟ้ากาลังและ
วงจรไฟฟา้ ทอ่ี าจมีนา้ ท่วมถึง เพื่อใหส้ ามารถปลดไฟฟ้าทวี่ งจรน้ันออกไดท้ ันทีท่เี กดิ ปญั หา

(๑๕) การเดินสายไฟฟา้ ภายในบ้าน ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎการเดินสายไฟฟา้ ของการไฟฟ้า โดยใช้อุปกรณท์ ่ีมี
มาตรฐาน เช่อื ถือได้ และให้ชา่ งท่ีมคี วามรู้ความชานาญมปี ระสบการณ์เปน็ ผ้ตู ดิ ตงั้

(๑๖) ก่อนทาการตรวจซ่อมอปุ กรณห์ รือเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ต้องมน่ั ใจวา่ มกี ารปลดไฟฟ้าออกจากระบบแลว้
(๑๗) ไม่ควรซอ่ มเครื่องใช้ไฟฟ้าด้วยตนเอง หากไม่มีความรู้หรือความชานาญ เพราะอาจเกดิ อันตรายต่อตนเอง หรือ
เครื่องใช้ไฟฟ้านน้ั
(๑๘) ไม่ควรถอดเต้าเสียบด้วยการดึงสายกระชาก เพราะอาจทาให้สายไฟฟ้าขาดภายใน และเกิดกระแสไฟฟ้า
ลดั วงจรได้
(๑๙) ไม่ควรใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าหลายเคร่ืองผ่านเต้ารับอันเดียวกัน เพราะกระแสไฟฟ้ารวมท่ีไหลผ่านเต้ารับอาจมาก
เกินกวา่ พกิ ัดทเี่ ต้ารบั สามารถรบั ได้ ทาให้เกิดความรอ้ นสะสมมากจนเกิดการลุกไหมไ้ ด้
(๒๐) ควรปิดสวิตช์ และถอดเต้าเสียบออกทุกครั้งที่เลิกใช้งานเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่ใช้ควบคุมด้วยการควบคุมจาก
ระยะไกล เพราะเมื่อปิดเครอื่ งแล้ว จะยังคงมีไฟเล้ียงวงจรควบคมุ ภายในตวั อย่ตู ลอดเวลา เมือ่ อุปกรณภ์ ายในเกดิ การชารดุ อาจทาให้
เกิดไฟลกุ ไหมไ้ ด้
(๒๑) ไม่ควรใชอ้ ุปกรณ์ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าราคาถูก และไม่ได้มาตรฐาน เนื่องจากมอี ายุการใช้งานส้ันกว่าปกติ อาจ
ทาใหไ้ มป่ ลอดภัยในการใช้งานได้
๒) ดา้ นการปฏิบัตงิ านตดิ ต้งั ซ่อมบารงุ ผู้ปฏบิ ตั ิงานไฟฟ้าต้องมที ักษะปฏบิ ตั ิงานดังนี้
(๑) ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรอบคอบ คานึงถึงความปลอดภัย ขณะปฏิบัติงานติดตั้งหรือซ่อมบารุงเคร่ืองใช้หรือ
อปุ กรณไ์ ฟฟ้าทกุ คร้งั
(๒) ผู้ปฏิบตั งิ านไฟฟา้ ต้องมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมีความชานาญเนื้องานน้ัน กอ่ นที่จะลงมอื ปฏบิ ัติงาน
(๓) ควรหยุดการปฏบิ ัติงานเมือ่ รู้สกึ เพลีย เหนอ่ื ย หรือรับประทานยาทีท่ าใหง้ ว่ งนอน
(๔) ควรมีผู้ปฏิบัตงิ านไฟฟา้ ร่วมกนั อย่างน้อย ๒ คน
(๕) เมื่อจะปฏบิ ัตงิ านไฟฟ้าต่อหลังจากหยุดพักการปฏิบัตงิ าน ต้องตรวจสอบสะพานไฟ หรือเคร่ืองหมายต่าง ๆ ท่ีทา
ไว้กอ่ นออกไปพกั ใหอ้ ยู่ในสภาพเดิม กอ่ นปฏิบตั งิ านใหม่ทกุ ครง้ั
(๖) หากจาเป็นต้องปฏิบัติงานในบริเวณท่ีมีคนพลุกพล่าน ต้องจัดทาป้ายแสดงการงดใช้ไฟฟ้าให้เห็นชัดเจนทุกคร้ัง
กอ่ นเร่ิมปฏบิ ัตงิ าน
(๗) หากจาเป็นต้องปฏิบัติงานในบริเวณท่ีไม่สามารถตัดสะพานไฟออกได้ ต้องป้องกันไม่ให้ผู้ไม่เก่ียวข้องเข้าใกล้
บริเวณงาน ดว้ ยการกน้ั บรเิ วณหรือจดั ทาปา้ ยเตอื นอันตราย
(๘) ผู้ปฏิบัติงานต้องยืนบนฉนวนไฟฟ้า เช่น พ้ืนท่แี ห้ง หรือแผ่นยาง และใช้อุปกรณ์เพื่อป้องกันอันตราย เช่น ถุงมือ
ยาง ถุงมอื หนัง หมวกนริ ภยั เข็มขดั นิรภัย เปน็ ตน้ ดังรูปท่ี ๑.๑๐

หนา้ ที่ ๗ / ๑๔

รูปท่ี ๑.๑๐ แสดงการใช้อุปกรณ์ปอ้ งกนั ก่อนปฏบิ ัติงานไฟฟ้า
ทม่ี า : http://www.jorpor.com, สบื ค้นวนั ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๙) ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแรงสูง ควรใช้เครื่องช่วยป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าท่ีมากขึ้นกว่าปกติ เช่น ชุด
ปฏบิ ัติการสาหรับแรงดนั ไฟฟ้าสงู ปลอกแขนฉนวน เปน็ ต้น

๑.๒ การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดดู

๑.๒.๑ การช่วยเหลือผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าดูด ผู้ช่วยเหลือ จะต้องให้ความช่วยเหลืออย่างถูกวิธี และรวดเร็ว
เนื่องจากผู้ถูกไฟฟ้าดูดอาจเสียชีวิตได้ และต้องคานึงถึงความปลอดภัยของตัวผู้ช่วยเหลือเองด้วย โดยการใช้ความรอบคอบ
ระมดั ระวัง เปน็ อย่างสงู เนอ่ื งจากอาจถกู ไฟฟา้ ดูดตามไปดว้ ย วิธีท่ถี กู ต้องในการใหค้ วามช่วยเหลือปฏิบตั ไิ ดด้ ังน้ี

๑) ตดั กระแสไฟฟา้ ของจดุ เกิดเหตอุ อก ดว้ ยการปลดสวิตช์ หรือถอดเตา้ เสียบ หรอื ปลดสวติ ชป์ ระธานดังรูปที่ ๑.๑๑

รปู ท่ี ๑.๑๑ แสดงการปลดสวติ ชป์ ระธาน
ท่มี า : www.pea.co.th, สบื คน้ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
๒) กรณีไม่สามารถตัดกระแสไฟฟ้าออกจากจุดเกดิ เหตไุ ด้ ให้ผู้ช่วยเหลือใช้วัสดุฉนวนไฟฟ้า เช่น ผ้าแหง้ สายยาง คล้อง
แขน ขา หรอื ลาตัวผูถ้ ูกไฟฟ้าดดู ดงึ ให้หลดุ จากจดุ เกิดเหตุ หรอื ใช้ไมเ้ ขย่ี สายไฟให้หลดุ จากตัวผู้ถูกไฟฟา้ ดดู โดยเร็วดังรูปท่ี ๑.๑๒ เพอื่
ทาการปฐมพยาบาลตอ่ ไป

หน้าที่ ๘ / ๑๔

รปู ท่ี ๑.๑๒ แสดงการใช้ไมเ้ ข่ยี สายไฟฟ้าออกจากผปู้ ระสบภัย
ที่มา : www.pea.co.th, สบื คน้ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
๓) หากการใชไ้ มเ้ ขี่ยสายไฟฟา้ ไมส่ ามารถนาตวั ผูถ้ ูกไฟฟ้าดูดออกจากจดุ เกิดเหตไุ ด้ ให้ใชเ้ ครื่องมอื มีคมทมี่ ีด้ามเป็นฉนวน
ตัดสายไฟฟ้าให้ขาดหลุดออกไป โดยต้องแนใ่ จวา่ สามารถทาไดอ้ ย่างปลอดภยั
๔) หากผถู้ ูกไฟฟ้าดูดอยู่ในบรเิ วณท่มี ีน้าขัง ผ้ชู ว่ ยเหลือต้องแนใ่ จวา่ ไดต้ ัดกระแสไฟฟา้ ออกไปจากบริเวณนน้ั แลว้ จึงลงไป
ช่วยผู้ถกู ไฟฟา้ ดูดได้
๕) กรณีเป็นการถูกไฟฟ้าท่ีดูดจากสายไฟฟ้าแรงสูงต้องรีบแจ้งการไฟฟ้าที่รับผิดชอบให้ตัดกระแสไฟฟ้าให้โดยเร็ว และ
หลกี เลี่ยงท่ีจะเขา้ ไปใกล้ก่อนทจี่ ะมีการตัดกระแสไฟฟ้าออก
๖) ตรวจดูอาการของผู้ถูกไฟฟ้าดูดดังรูปที่ ๑.๑๓ หากพบว่าเพียงหมดสติแต่ยังหายใจได้ให้จัดผู้ถูกไฟฟ้าดูด นอนราบ
คลายเสอ้ื ผ้าให้หลวมเพ่อื ใหห้ ายใจไดส้ ะดวก และฟนื้ ได้เอง

รูปท่ี ๑.๑๓ แสดงการตรวจการหายใจและชีพจรของผู้ถกู ไฟฟ้าดดู
ที่มา : http://www.mea.or.th, สบื คน้ วันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
๗) ทาการปฐมพยาบาลทันทีหากสงั เกตพบว่าผู้ถูกไฟฟ้าดูดหมดสติ หวั ใจหยุดเต้น และไม่หายใจ เพ่ือให้ปอดและหัวใจ
กลับมาทางาน กอ่ นทแ่ี พทยจ์ ะมาถงึ หรอื ขณะนาสง่ โรงพยาบาล
๑.๒.๒ ข้นั ตอนการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ พันธ์ศักด์ิ พุฒิมานติ พงศ์ (2555:12) กล่าวว่า ผูป้ ระสบอันตรายจากไฟฟ้าดูด ถ้า
หากหมดสติ หัวใจหยดุ เต้น และไม่หายใจ สงั เกตได้จากอาการดงั นี้ รมิ ฝีปากเขียว สหี นา้ ซีดเขียวคล้า ที่ทรวงอกเคลอื่ นไหวน้อยมาก
หรอื ไมเ่ คลื่อนไหว ชีพจรเต้นชา้ และเบามาก หากหัวใจหยุดเต้นจะคลาหาชีพจรไม่พบ และมา่ นตาขยายคา้ งไมห่ ดเลก็ ลง
การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ระหวา่ งรอแพทยม์ าถึง หรือขณะนาสง่ โรงพยาบาล สามารถใชว้ ธิ ี การผายปอดโดยการเปา่ ปาก
หรือการนวดหัวใจอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง หรือสลบั กันได้ ซึง่ มรี ายละเอียดวิธกี ารปฐมพยาบาลดงั นี้
๑) วิธกี ารผายปอดโดยการเป่าปาก การปฏบิ ัตติ นของผู้ช่วยเหลอื มดี งั นี้

หนา้ ที่ ๙ / ๑๔

(๑) จัดวางผู้ถูกไฟฟ้าดูด นอนหงายราบกับพ้ืน ผู้ช่วยเหลืออยู่ทางด้านขวา หรือซ้ายของผู้ถูกไฟฟ้าดูด จัดให้ศีรษะ
แหงน ลาคอยืด ยกคางขนึ้ ดังรปู ที่ ๑.๑๔

รูปที่ ๑.๑๔ แสดงการจดั ศีรษะผูถ้ กู ไฟฟ้าดูด เพือ่ ปฐมพยาบาล
ที่มา : http://www.mea.or.th, สืบค้นวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๒) สอดนิ้วหัวแม่มือเข้าไปในปากผู้ถูกไฟฟ้าดูด จับขากรรไกรล่างยกข้ึนจนปากอ้าออก สังเกตส่ิงตดิ ค้างในช่องปาก
เชน่ เศษอาหาร หรือฟันปลอม หากมตี ดิ อยู่ ต้องนาออกให้หมด
(๓) ผู้ช่วยเหลอื อา้ ปากกว้าง สดู หายใจเขา้ ปอดใหเ้ ตม็ ท่ี และบบี จมูกผถู้ กู ไฟฟ้าดดู ใหแ้ นน่ แลว้ ทาบปากลงใหแ้ นบสนิท
กบั ปากของผู้ถกู ไฟฟ้าดดู ดังรูปท่ี ๑.๑๕ เปา่ ลมเขา้ เป็นจังหวะประมาณ ๑๒-๑๕ คร้งั /นาที กรณีเดก็ เล็กเปา่ ลมประมาณ ๒๐-๕๐ คร้ัง/
นาที จนกว่าผ้ถู กู ไฟฟา้ ดดู จะหายใจไดเ้ อง

รูปที่ ๑.๑๕ แสดงการเปา่ ปากใหผ้ ถู้ ูกไฟฟา้ ดูด
ทมี่ า : http://www.mea.or.th, สืบค้นวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๔) กรณไี ม่สามารถเปิดปากผู้ถูกไฟฟ้าดูดได้ ใหป้ ิดปากผถู้ กู ไฟฟา้ ดูดให้สนทิ แลว้ ใชว้ ธิ ีเป่าลมเขา้ ทางจมกู แทนด้วยวิธี
เดยี วกับการเป่าปาก
(๕) ในขณะทาการปฐมพยาบาล ให้สงั เกตการขยายของหนา้ อก หากไม่มกี ารกระเพอ่ื มข้นึ ลง ให้จดั ท่าใหม่ เพื่อไมใ่ ห้
มีสง่ิ กีดขวางทางเดนิ หายใจ
(๖) ขณะนาสง่ โรงพยาบาลใหเ้ ปา่ ปากผู้ถกู ไฟฟ้าดดู จนกว่าผูถ้ ูกไฟฟา้ ดูดจะหายใจไดเ้ อง หรอื ได้รับการช่วยเหลอื จาก
แพทย์
๒) วิธกี ารนวดหวั ใจ การปฏบิ ัตติ นของผ้ชู ่วยเหลือมีดังนี้
(๑) จัดวางผู้ถูกไฟฟ้าดูด นอนหงายราบกับพื้น ผู้ช่วยเหลืออยู่ทางด้าน ขวาหรือซ้ายของผู้ถูกไฟฟ้าดูด จัดให้ศีรษะ
แหงน ลาคอยดื ยกคางขนึ้ เช่นเดยี วกับวธิ กี ารผายปอด

หน้าที่ ๑๐ / ๑๔

(๒) สอดน้ิวหัวแม่มอื เข้าไปในปากผถู้ ูกไฟฟ้าดดู จับขากรรไกรล่างยกขน้ึ จนปากอ้าออก สังเกตส่งิ ติดค้างในปากและ
ลาคอ เช่น เศษอาหาร หรือฟันปลอม หากมตี ดิ อยู่ ต้องนาออกให้หมด

(๓) วางมอื สองขา้ งซ้อนทับกันบนทรวงอกของผู้ถูกไฟฟา้ ดูด ส่วนทีเ่ ป็นกระดูกอกเหนือลน้ิ ปเี่ หยียดนวิ้ มอื และแขนให้
ตรง โน้มตัวให้ต้ังฉากกับหน้าอกของผู้ถูกไฟฟ้าดูด ใช้น้าหนักตัวกดสันมือลงด้วยให้หน้าอกยุบลงประมาณ ๑-๒ น้ิว ดังรูปท่ี ๑.๑๖
แลว้ ผอ่ นมอื ขึ้น เป็นจงั หวะเท่ากบั การเต้นของหัวใจ ประมาณ ๖๐-๑๐๐ ครั้ง/นาที

รปู ท่ี ๑.๑๖ แสดงการนวดหัวใจใหผ้ ้ถู ูกไฟฟา้ ดดู
ทม่ี า : http://www.mea.or.th, สบื คน้ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(๔) เมือ่ นวดหัวใจไปแลว้ ประมาณ ๑๐-๑๕ ครง้ั ใหต้ รวจการเต้นของหัวใจ หากยงั ไม่พบชพี จรและการหายใจ ให้นวด
หวั ใจตอ่ ไปจนกวา่ ผ้ถู ูกไฟฟ้าดูดจะฟืน้ คนื สตหิ รอื ถงึ มอื แพทย์
ในขณะทาการปฐมพยาบาล หากพบวา่ ผถู้ ูกไฟฟา้ ดูดไมห่ ายใจและหัวใจไม่เต้นให้นวดหวั ใจ ๑๕ คร้งั สลับกับการเป่า
ปาก ๒ ครัง้ ดังรูปที่ ๑.๑๗ เม่อื พบว่าสามารถจบั ชพี จรได้แลว้ แตย่ งั ไม่หายใจ ให้เป่าปากตอ่ ไปอยา่ งเดียว

รูปที่ ๑.๑๗ แสดงการชว่ ยเหลืออย่างต่อเนื่องจนกว่าถงึ มือแพทย์
ที่มา : http://www.mea.or.th, สบื ค้นวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒
สรปุ
พลังงานไฟฟ้า มปี ระโยชน์ต่อการใช้งานทงั้ ในบ้านพักอาศัย และในโรงงานอุตสาหกรรมซ่ึงสามารถเปล่ียนเปน็ พลังงานแสง
สว่าง ความร้อน ความเย็น พลังงานกล ที่อานวยความสะดวก และให้ความบนั เทิงแก่ผู้ใชไ้ ด้ แตถ่ ้าเกิดมีความผิดพลาดในการใช้งาน
หรือเกิดอุบตั ิเหตุข้ึน นอกจาก จะทาใหเ้ กิดความเสียหายต่ออปุ กรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าแล้ว อาจทาให้เป็นอันตรายตอ่ ชีวิต ผู้
ใชไ้ ด้ ซ่ึงอันตรายจากการใช้ไฟฟ้าที่เกิดกระแสไฟฟ้าไหลเกิน ได้แก่ การลัดวงจร และการใช้โหลดเกินจะเป็นอนั ตรายต่อทรัพยส์ ิน
จนถึงอาจเกิดเพลิงไหม้ สว่ นอนั ตรายตอ่ ชวี ิตจะเป็นผลจากผใู้ ชไ้ ฟฟา้ ถูกไฟฟ้าดดู จากการรว่ั ระหวา่ งสาย การร่วั ไหลลงส่ดู นิ หรือการ
รั่วไหลผ่านโครงอุปกรณ์ และถ้ามีองค์ประกอบที่เหมาะสม ได้แก่ ปริมาณแรงดันไฟฟ้า ระยะเวลาที่ถูกไฟฟ้าดูด ตาแหน่งของ
รา่ งกายท่ีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ความถ่ี รวมถึงสภาพผวิ หนงั ของร่างกายเปียกชน้ื ถงึ จะมีปรมิ าณกระแสไฟฟ้าเพยี ง 5 mA ก็สามารถ
ทาให้ผู้ถูกไฟฟ้าดูดเสียชีวิตได้ ดังน้ันเพ่ือความปลอดภัยในด้านการใช้งาน และการปฏิบัติงานติดต้ัง ซ่อมบารุงเก่ียวกับอุปกรณ์

หนา้ ที่ ๑๑ / ๑๔

เคร่ืองมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า และระบบไฟฟ้า ผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ใช้งานไฟฟ้า จึงต้องมีความละเอียดรอบคอบ ความระมัดระวัง ไม่
ประมาท มีความรู้ ความเข้าใจในวธิ ีการใช้งาน รวมทั้งมีความเข้าใจวิธีการชว่ ยเหลือผู้ถกู ไฟฟ้าดูดใหร้ อดพ้นจากอนั ตรายได้อย่างถูก
วธิ ี โดยการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น จากการสงั เกตอาการของผู้ถูกไฟฟ้าดูด ถ้าจบั ชีพจรได้แต่ไม่หายใจ ให้ใช้วิธีการเป่าปากหรือนวด
หัวใจ แต่ถ้าจบั ชีพจรไมไ่ ดแ้ ละไม่หายใจ ให้ใช้วิธกี ารนวดหัวใจ ๑๕ คร้ัง สลบั กบั การเป่าปาก ๒ ครั้ง จนกว่าผถู้ กู กระแสไฟฟา้ -ดดู จะ
ฟื้นคืนสตหิ รือถงึ มอื แพทย์

หนังสืออา้ งอิง

๑. บุญสืบ โพธศ์ิ รี และคณะ. ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บือ้ งต้น. กรงุ เทพฯ : ศนู ย์สง่ เสริมอาชีวะ, ๒๕๕๐.
๒. บญุ สืบ โพธิ์ศรี และศุภโชค พานทอง. งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งตน้ . : นนทบรุ ี : รตั นโรจน์การพมิ พ,์ ๒๕๕๖.
๓. พนั ธศ์ ักดิ์ พฒุ มิ านิตพงศ์. งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์เบื้องต้น. กรงุ เทพฯ : ศนู ย์ส่งเสรมิ อาชวี ะ, ๒๕๕๕.
๔. มงคล พรหมเทศ และณรงคช์ ัย กลอ่ มสุนทร. งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบอ้ื งตน้ . : กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์เอมพนั ธ,์ ๒๕๕๖.
๕. ไวพจน์ ศรธี ญั . งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์. : นนทบุรี : อักษรใหมก่ ารพิมพ,์ ๒๕๕๘.

หน้าที่ ๑๒ / ๑๔

ใบทดสอบ ภาคเรยี นที่ ๑ / ๒๕๖๒
วชิ า ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์เบอ้ื งตน้ ช้นั ปวช. ๑
เรื่อง ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์

ช่ือ…………………………………………………………............................…………เลขท…ี่ …………...........…...วันที่…………………...........……………

คาสงั่ ทาเครือ่ งหมายกากบาทขอ้ คาตอบทถ่ี ูกท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว

......................................................................................

๑. ขอ้ ใดเปน็ ประโยชนข์ องไฟฟา้

ก. ให้แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงกระแสสลับ ข. ให้กระแสไฟฟ้ากระแสตรงกระแสสลบั

ค. ให้สนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า ง. ให้ความต้านทานไฟฟ้า

๒. ข้อใดเป็นความหมายของไฟฟ้าดูด

ก. เกิดกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นร่างกายมนษุ ย์ ข. มีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นวงจรไฟฟ้าตลอดเวลา

ค. เกดิ สนามไฟฟา้ แผอ่ อกมาโดยรอบวงจรไฟฟา้ ง. สนามแม่เหลก็ ไฟฟา้ สามารถดึงดูดโลหะจาพวกเหลก็ ได้

๓. ในกรณที ส่ี ายไฟฟา้ เกดิ การชารดุ จนลวดตัวนาภายในสัมผัสกัน จะเกดิ เหตกุ ารณ์ใด

ก. กระแสไฟฟา้ ไหลเกนิ ข. การลดั วงจร

ค. โหลดเกนิ ง. ไฟฟา้ ร่ัว

๔. ขอ้ ใดเป็นการปฏบิ ัติงานดา้ นไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ทปี่ ลอดภยั

ก. ควรแยกวงจรไฟฟ้าเปน็ ส่วน ๆ

ข. ปฏิบตั ิงานเก่ียวกบั ไฟฟา้ แตล่ ะครัง้ ควรทาคนเดียวโดยลาพงั

ค. อปุ กรณ์และเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ชารุดเลก็ น้อยสามารถใชง้ านได้ปกติ

ง. ควรหยดุ ปฏิบตั งิ านเกยี่ วกับไฟฟ้าเมอ่ื รบั ประทานยาทีท่ าใหง้ ่วงนอน

๕. ขอ้ ใดเป็นสง่ิ แรกทคี่ วรปฏบิ ตั เิ ม่ือกลับจากการละการปฏบิ ตั ิงานเก่ียวกับไฟฟ้าไปชั่วคราว

ก. ตรวจสอบเครือ่ งหมายตา่ ง ๆ ทท่ี าไวว้ ่าอยูใ่ นสภาพเดมิ หรอื ไม่

ข. รอเพ่ือนรว่ มงานใหพ้ ร้อมกอ่ นการปฏิบัตงิ าน

ค. ตรวจสอบสวติ ช์ตดั ตอนหรอื สะพานไฟ

ง. ปฏิบตั ิงานตอ่ เนอ่ื งจากเดมิ ทนั ที

๖. อะไรเปน็ ข้อควรปฏบิ ัตเิ มอ่ื ใช้เครือ่ งใช้ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ทม่ี ีโครงเปน็ โลหะ

ก. ต่อสายไฟฟ้าระหวา่ งโครงโลหะของอปุ กรณ์กับสายล่อฟ้า

ข. ต่อสายไฟฟา้ ระหว่างท่อประปากบั โครงของอปุ กรณ์

ค. ต่อสายไฟฟา้ ระหว่างสายนวิ ตรอนกับโครงของอปุ กรณ์

ง. ตอ่ สายไฟฟา้ ระหวา่ งโครงโลหะกบั แทง่ ลงดิน

๗. เมือ่ ตอ้ งการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบอันตรายจากไฟฟา้ ดูดควรปฏิบตั อิ ย่างไรเปน็ อันดบั แรก

ก. แจง้ เจา้ หน้าทรี่ ถพยาบาล ข. เข้าไปพยงุ ผถู้ กู ไฟฟ้าดูดอย่างรวดเรว็

ค. ตดั กระแสไฟฟ้าของจดุ เกดิ เหตอุ อก ง. ใช้ส่งิ ของเขย่ี อปุ กรณ์หรือสายไฟออกหา่ งจากผู้ถกู ไฟฟ้าดูด

๘. ข้อใดเป็นการปฐมพยาบาลผู้ทถ่ี ูกกระแสไฟฟ้าดูดไมถ่ ูกวิธี

ก. วางผู้ป่วยใหน้ อนหงาย ข. ประกบปากของผปู้ ่วยใหส้ นทิ

ค. ใชม้ อื กดเหนอื ช่องทอ้ ง ง. นวดหวั ใจและเป่าปากสลับกัน

หนา้ ท่ี ๑๓ / ๑๔

๙. การปฐมพยาบาลเด็กเลก็ ดว้ ยการเป่าปาก ตอ้ งเป่าลมเป็นจงั หวะอยา่ งไร

ก. ๑๐-๑๒ ครั้ง/นาที ข. ๑๒-๑๕ คร้ัง/นาที

ค. ๑๕-๒๐ ครั้ง/นาที ง. ๒๐-๓๐ ครัง้ /นาที

๑๐. กรณผี ู้ปว่ ยไมห่ ายใจและยงั ไมม่ ีชพี จรต้องปฐมพยาบาลด้วยวิธีใด

ก. เปา่ ปาก ๑๐-๑๕ ครง้ั ข. เปา่ ปาก ๑๒-๑๕ ครั้ง/นาที

ค. นวดหัวใจ ๑๕ คร้ัง สลับกับเปา่ ปาก ๒ ครั้ง ง. นวดหัวใจ ๖๐-๑๐๐ คร้งั /นาที

เฉลยใบทดสอบ หน้าท่ี ๑๔ / ๑๔
วชิ า ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น
เรอื่ ง ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ ภาคเรยี นท่ี ๑ / ๒๕๖๒
ช้นั ปวช. ๑
ข้อ ๑. ค. ให้สนามแมเ่ หล็กไฟฟ้า
ข้อ ๒. ก. เกดิ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนษุ ย์
ขอ้ ๓. ข. ลดั วงจร
ขอ้ ๔. ก. ควรแยกวงจรไฟฟา้ เปน็ สว่ น ๆ
ขอ้ ๕. ค. ตรวจสอบสวิตช์ตดั ตอนหรือสะพานไฟ
ข้อ ๖. ง. ตอ่ สายไฟฟา้ ระหวา่ งโครงโลหะกบั แทง่ ลงดิน
ข้อ ๗. ค. ตัดกระแสไฟฟ้าของจุดเกิดเหตอุ อก
ข้อ ๘. ค. ใชม้ อื กดเหนือช่องท้อง
ขอ้ ๙. ง. ๒๐-๓๐ ครง้ั /นาที
ข้อ ๑๐. ค. นวดหวั ใจ ๑๕ คร้ัง สลบั กบั เป่าปาก ๒ ครัง้