จรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์หมายถึง

คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต

กลอนเตือนใจวัยซนคนยุคเน็ต 1

เด็กยุคใหม่ ใสซื่อ ไม่ถือเคล็ด

จะเล่นเน็ต คราใด จำไว้หนา

เขียนหนังสือ สื่อสาร จำนรรจา

ต้องรู้ค่า ภาษาไทย ที่ใช้กัน

เขียนถึงใคร ให้ใช้คำ ที่ควรคู่

ส่งถึงครู ผู้ปกครอง ต้องคัดสรร

ส่งถึงเพื่อน อาจใช้คำ ที่คุ้นกัน

รู้เท่าทัน ว่าคำไหน ใช้กับเกลอ

จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ซึ่งเมื่อพิจารณาจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์แล้ว

คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต

ข้อดีของอินเทอร์เน็ต

1. ทำให้เกิดความสะดวกสบายในการติดต่อสื่อสารกันไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็สามารถสื่อสารกันได้

2. ประหยัดเวลาในการติดต่อสื่อสาร

3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน

4. ทำให้เกิดการพัฒนาความรู้ให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพราะบนอินเทอร์เน็ตจะมีความรู้ที่ทันสมัยให้เราค้นหาอยู่ตลอด

ข้อเสียของอินเทอร์เน็ต

1. ทำให้เกิดการล่อลวงมากขึ้นเนื่องจากการสนทนากับคนที่ไม่รู้จัก

2. มีสื่อลามกอนาจารเพิ่มมากขึ้น

3. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาจเกิดขึ้นถ้ามีระบบรักษาความปลอดภัยที่ไม่ดีนัก

4. มีการติดไวรัสคอมพิวเตอร์ได้ง่าย

5. เด็กนักเรียนจะเสียเวลากับการเล่นเกมส์ออนไลน์มากไป ส่งผลให้การเรียนตกต่ำลง

จรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์

1. ให้ระมัดระวังการละเมิดหรือสร้างความเสียหายให้ผู้อื่น

2. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้

3. ไม่กระทำการรบกวนผู้อื่นด้วยการโฆษณาเกินความจำเป็น

4. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็นเหยื่อจากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้คนอื่นเป็นเหยื่อ

รรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์

1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น

2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น

3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น

4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร

5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ

6. ต้องมีจรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์

7. ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรือสร้างความเสียหายให้ผู้อื่น

8. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้

9. ไม่กระทำการรบกวนผู้อื่นด้วยการโฆษณาเกินความจำเป็น

10. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็นเหยื่อจากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้คนอื่นเป็นเหยื่อ

ผลกระทบการใช้อินเทอร์เน็ต

1. โทษของอินเทอร์เน็ต

โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขายของผิดกฏหมาย, ขายบริการทางเพศ ที่รวมและกระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่างๆ

• อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำให้การควบคุมกระทำได้ยาก

• มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก

• ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำให้การค้นหากระทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร

• เติบโตเร็วเกินไป

• ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง

• ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้

• ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ

•เป็นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสาร เพื่อก่อเหตุร้าย เช่น การวางระเบิด หรือล่อลวงผู้อื่นไปกระทำชำเรา

•ทำให้เสียสุขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เน็ตเป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว

ผลกระทบการใช้อินเทอร์เน็ต (ต่อ)

2. โรคติดอินเทอร์เน็ต

โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์ไว้ว่า บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต

ผลกระทบการใช้อินเทอร์เน็ต (ต่อ)

ผลกระทบการใช้อินเทอร์เน็ต (ต่อ)

•รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ต

•มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้

•รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้

•คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น

•ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา

•หลอกคนในครอบครัว หรือเพื่อน เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง

•มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย

ผลกระทบการใช้อินเทอร์เน็ต (ต่อ)

3. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

• Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่างยิ่ง

•บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงานอาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับพนักงานจนมาก่อปัญหาอาชญากรรมได้เช่นกัน

•Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทำอันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัยช่อง โหว่ของระบบปฏิบัติการ และขีดจำกัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม

ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรจะรู้และยึดถือปฏิบัติ ดังนี้

1. ไม่บอกข้อมูลส่วนตัว เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ โรงเรียนของตนให้แก่บุคคลอื่นที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ต โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองก่อน

2. หากพบข้อความหรือรูปภาพใดๆ บนอินเทอร์เน็ตที่มีลักษณะหยาบคายหรือไม่เหมาะสม ควรแจ้งให้ผู้ปกครองทราบทันที

3. ไม่ควรไปพบบุคคลใดก็ตามที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตจาก ผู้ปกครองก่อน และหากผู้ปกครองอนุญาต ก็ควรไปพร้อมกับผู้ปกครอง โดยควรไปพบกันในที่สาธารณะ

4. ไม่ส่งรูปหรือสิ่งใดๆ ให้บุคคลที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองก่อน

5. ไม่ตอบคำถามหรือต่อความกับผู้ที่สื่อข้อความหยาบคาย และต้องแจ้งให้ผู้ปกครองทราบทันที

6. ควรเคารพต่อข้อต่อลงในการใช้อินเทอร์เน็ตที่ให้ไว้กับผู้ปกครอง เช่น กำหนดระยะเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่ผู้ปกครองอนุญาตให้เข้าได้

ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรจะรู้และยึดถือปฏิบัติ ดังนี้

จรรยาบรรณในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มีอะไรบ้าง

1. จรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์.
ให้ระมัดระวังการละเมิดหรือสร้างความเสียหายให้ผู้อื่น.
ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้.
ไม่กระทำการรบกวนผู้อื่นด้วยการโฆษณาเกินความจำเป็น.
ดูแลและแก้ไขหากตกเป็นเหยื่อจากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้คนอื่นเป็นเหยื่อ.

จริยธรรมในสังคมออนไลน์ คืออะไร

จริยธรรมที่ดีในการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย ไม่โกหก หลอกลวง ไม่ขายสินค้าที่ก่อให้เกิดอันตราย ไม่สร้างความเสียหายทางธุรกิจแก่ผู้อื่น ไม่คุกคาม ละเมิดสิทธิ เสรีภาพ ของผู้อื่น ไม่ก่อกวน สร้างความรำคาญ

เครือข่ายสังคมออนไลน์มีอะไรบ้าง

2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social Community) เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste.

มารยาทในการอยู่ร่วมกันในสังคมออนไลน์มีอะไรบ้าง

มารยาททั่วไปในการใช้อินเทอร์เน็ต.
1. ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการทำร้ายหรือรบกวนผู้อื่น.
2. ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการทำผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม.
3. ไม่เจาะระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของตนเองและผู้อื่น.
4. ไม่ใช้บัญชีอินเทอร์เน็ตของผู้อื่นและไม่ใช้เครือข่ายที่ไม่ได้รับอนุญาต.