ตราคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มน

กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (อังกฤษ : Faculty of Medical Science, Naresuan University) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2544 โดยเป็นการรวมภาควิชาที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก (Pre-clinic) ทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพทุกสาขาเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก และให้การสนับสนุนงานวิจัยกับอาจารย์และนิสิตในคณะกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์
มหาวิทยาลัยนเรศวร

ตราคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มน

ชื่ออังกฤษFaculty of Medical Science
Naresuan Universityที่อยู่เลขที่ 99 หมู่ 9 ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000วันก่อตั้ง22 กันยายน พ.ศ. 2544 (19 ปี)คณบดีรศ.ดร.สุขกิจ ยะโสธรศรีกุลสีประจําคณะ     สีทองสัญลักษณ์Vitruvian man และ โครงสร้างอะตอมสถานปฏิบัติโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรเว็บไซต์www.medsci.nu.ac.th

ตราคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มน

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

เนื้อหา

  • 1 ประวัติ
  • 2 ภาควิชา
  • 3 หลักสูตรการศึกษา
  • 4 ศูนย์
  • 5 ดูเพิ่ม
  • 6 แหล่งข้อมูลอื่น

ประวัติ

มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดทำโครงการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์เสนอขอปรับเข้าไว้ในแผนฯ 7 แล้ว และคณะรัฐมนตรีก็ได้มีมติให้ความเห็นชอบแนวทางการจัดการศึกษาของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยให้มีการจัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ระดับชั้นปรีคลินิก (Pre-clinic) ให้การสนับสนุนงานวิจัยกับอาจารย์และนิสิตในคณะและสาขาวิชาในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ นิสิตในสาขาวิชาแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สาขาวิชากายภาพบำบัด และสาขาวิชารังสีเทคนิค ในระดับปริญญาตรี

ต่อมาได้โอนหน่วยงานภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาปรสิตวิทยา ของคณะแพทยศาสตร์ และภาควิชาชีวเคมี ภาควิชาจุลชีววิทยา ของคณะวิทยาศาสตร์ มาเป็นภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาชีวเคมี และภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา สังกัดคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวรทั้งหมด

สภามหาวิทยาลัยนเรศวร ได้มีมติเห็นชอบการจัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2544

กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์
มหาวิทยาลัยนเรศวร

ตราคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มน

ชื่ออังกฤษFaculty of Medical Science
Naresuan Universityที่อยู่เลขที่ 99 หมู่ 9 ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000วันก่อตั้ง22 กันยายน พ.ศ. 2544 (21 ปี)คณบดีผศ.ร้อยโทหญิง ดร.สายศิริ มีระเสนสีประจําคณะ███ สีทองสัญลักษณ์Vitruvian man และ โครงสร้างอะตอมสถานปฏิบัติโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรเว็บไซต์www.medsci.nu.ac.th

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (อังกฤษ : Faculty of Medical Science, Naresuan University) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2544 โดยเป็นการรวมภาควิชาที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก (Pre-clinic) ทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพทุกสาขาเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก และให้การสนับสนุนงานวิจัยกับอาจารย์และนิสิตในคณะกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์

ประวัติ[แก้]

มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดทำโครงการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์เสนอขอปรับเข้าไว้ในแผนฯ 7 แล้ว และคณะรัฐมนตรีก็ได้มีมติให้ความเห็นชอบแนวทางการจัดการศึกษาของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยให้มีการจัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ระดับชั้นปรีคลินิก (Pre-clinic) ให้การสนับสนุนงานวิจัยกับอาจารย์และนิสิตในคณะและสาขาวิชาในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ นิสิตในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ นิสิตในสาขาวิชาแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สาขาวิชากายภาพบำบัด และสาขาวิชารังสีเทคนิค ในระดับปริญญาตรี

ต่อมาได้โอนหน่วยงานภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาปรสิตวิทยา ของคณะแพทยศาสตร์ และภาควิชาชีวเคมี ภาควิชาจุลชีววิทยา ของคณะวิทยาศาสตร์ มาเป็นภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาชีวเคมี และภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา สังกัดบคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวรทั้งหมด

สภามหาวิทยาลัยนเรศวร ได้มีมติเห็นชอบการจัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2544[1]

หน่วยงาน[แก้]

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกอบไปหน่วยงานต่างๆ ได้แก่[2]

  • ภาควิชากายวิภาคศาสตร์
  • ภาควิชาชีวเคมี
  • ภาควิชาสรีรวิทยา
  • ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา
  • สถานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศด้านเห็ดและรา
  • สถานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์
  • สถานบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สำนักงานเลขานุการคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์

หลักสูตรการศึกษา[แก้]

ปัจจุบัน คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรที่เปิดสอนในคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวรภาควิชาปริญญาบัณฑิตปรัญญามหาบัณฑิตปริญญาดุษดีบัณฑิตรวมทุกภาควิชาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)
  • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ควบ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)

  • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ปริญญาตรีและปริญญาโท) เก็บถาวร 2022-01-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
  • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
  • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ภาควิชากายวิภาคศาสตร์หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)
  • สาขาพยาธิวิทยาภายวิภาค
หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วท.ม.)
  • สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
  • สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์
ภาควิชาชีวเคมีหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)
  • สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล
หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วท.ม.)
  • สาขาวิชาชีวเคมี
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
  • สาขาวิชาชีวเคมี
ภาควิชาสรีรวิทยาหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วท.ม.)
  • สาขาวิชาสรีรวิทยา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
  • สาขาวิชาสรีรวิทยา
ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)
  • สาขาวิชาจุลชีววิทยา
หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วท.ม.)
  • สาขาวิชาจุลชีววิทยา
  • สาขาวิชาปรสิตวิทยา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
  • สาขาวิชาจุลชีววิทยา
  • สาขาวิชาปรสิตวิทยา
หลักสูตรต่อเนื่อง (ปริญญาตรีต่อเนื่องปริญญาโท)หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)
  • สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ต่อเนื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
    • สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์
    • สาขาจุลชีววิทยา
    • สาขาวิชาชีวเคมี
    • สาขาวิชาปรสิตวิทยา
    • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
    • สาขาวิชาสรีรวิทยา

ศูนย์[แก้]

ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตั้งอยู่
ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกอบด้วยศูนย์ต่างๆ ดังนี้

  • ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์

ดูเพิ่ม[แก้]

  • มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์. ประวัติความเป็นมา [ออนไลน์]. 20 กันยายน 2564.
  2. คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์. โครงสร้างองค์กร คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร [ออนไลน์]. 20 กันยายน 2564.

มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาเขต
  • พิษณุโลก

คณะ
  • เกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • ทันตแพทยศาสตร์
  • นิติศาสตร์
  • บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร
  • พยาบาลศาสตร์
  • แพทยศาสตร์
  • เภสัชศาสตร์
  • มนุษยศาสตร์
  • โลจิสติกส์และดิจิทัลซัพพลายเชน
  • วิทยาศาสตร์
  • วิทยาศาสตร์การแพทย์
  • วิศวกรรมศาสตร์
  • ศึกษาศาสตร์
  • สถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะและการออกแบบ
  • สหเวชศาสตร์
  • สังคมศาสตร์
  • สาธารณสุขศาสตร์
วิทยาลัย
  • วิทยาลัยการจัดการระบบสุขภาพ
  • วิทยาลัยนานาชาติ
  • วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี
  • วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน
  • บัณฑิตวิทยาลัย
โรงเรียน
  • โรงเรียนอนุบาลและประถมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
  • โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
โรงพยาบาล
  • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
  • โรงพยาบาลทันตกรรม
กิจกรรม
  • งานเทางามสัมพันธ์

สถาบันสมทบวิทยาลัย
  • วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช
  • วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์
  • วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์
  • วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี
โรงพยาบาล
  • ศพค.โรงพยาบาลพิจิตร
  • ศพค.โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
  • ศพค.โรงพยาบาลแพร่
  • ศพค.โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
  • ศพค.โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
  • หมวดหมู่
  • โครงการ
  • สถานีย่อย

รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

กาฬสินธุ์ • นราธิวาสราชนครินทร์ • นเรศวร (วิทยาศาสตร์) • นเรศวร (วิทยาศาสตร์การแพทย์) • มหาสารคาม (วลัยรุกขเวช) • มหาสารคาม (วิทยาศาสตร์) • รามคำแหง • สุโขทัยธรรมาธิราช • อุบลราชธานี • เทคโนโลยีปทุมวัน

สถาบันอุดมศึกษา
ในกำกับของรัฐ

เกษตรศาสตร์ (วิทยาศาสตร์) • เกษตรศาสตร์ (วิทยาศาสตร์ ศรีราชา) • เกษตรศาสตร์ (วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์) • เกษตรศาสตร์ (ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์) • ขอนแก่น (วิทยาศาสตร์) • ขอนแก่น (สหวิทยาการ) • จุฬาลงกรณ์ • เชียงใหม่ • ทักษิณ • เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (วิทยาศาสตร์ประยุกต์) • เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (วิทยาศาสตร์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม) • เทคโนโลยีสุรนารี • ธรรมศาสตร์ (สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร) • ธรรมศาสตร์ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) • นวมินทราธิราช (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ) • บูรพา (วิทยาศาสตร์) • บูรพา (วิทยาศาสตร์การกีฬา) • พะเยา • มหิดล • แม่โจ้ • แม่ฟ้าหลวง(วิทยาศาสตร์) • แม่ฟ้าหลวง (วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง) • วลัยลักษณ์ • ศรีนครินทรวิโรฒ • ศิลปากร • สงขลานครินทร์ (วิทยาศาสตร์) • สงขลานครินทร์ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) • สงขลานครินทร์ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) • สวนดุสิต