แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 เฉลย

ส่ือการเรยี นรู รายวชิ าพื้นฐาน Aชcดุ �แiม�บ่ �ทมLาeตaรrฐnานing

วทิ ยาศาสตร์ ป.6
ª¹éÑ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 6

µÒÁÁҵðҹ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙጠÅеÑǪÇÕé ´Ñ 9

¡ÅÁØ‹ ÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙÇŒ ·Ô ÂÒÈÒʵÃᏠÅÐà·¤â¹âÅÂÕ (©ºÑº»ÃºÑ »Ã§Ø ¾.È. 25 0)

µÒÁËÅѡʵ٠Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢é¹Ñ ¾¹é× °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2551

¼ÙàŒ ÃÕºàÃÂÕ § ¼ÙŒµÃǨ ºÃóҸ¡Ô Òà เฉฉบลบั ย
ดร.พลอยทราย โอฮามา รศ. ดร.กรัณยพล ววิ รรธมงคล นายวันเฉลิม กล่ินศรีสขุ
นายฐาปกรณ คาํ หอมกุล ดร.รักซอน รัตนวิจติ ตเวช นางสาวอัญชลี คาํ เหลือง
นางสาวอภิญญา อินไรขิง ดร.เพญ็ พกั ตร ภศู ิลป
นางสาวพชิ ญา กลาหาญ

พมิ พค รง้ั ที่ 2
สงวนลขิ สทิ ธิ์ตามพระราชบญั ญัติ
รหสั สินคา 1634801349

ช่ือ ช้ัน เลขที่…………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………..
…………………………………..

สารบัญ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁ÷ŒÙ Ò§Ç·Ô ÂÒÈÒʵÏ 2
˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù èÕ 1 àÃÂÕ ¹ÃŒáÙ ºº¹¡Ñ ÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ èÕ 2 àÃÍ×è §·Õè 1 1431
12.. กรูจรักะบนวักนวกิทายราทศาางสวตทิ รย าศาสตร 13
เฉฉบลับย ˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè 3
สรุปสาระสาํ คัญประจําเร่อื งที่ 1 14
˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ·Õè 4
˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ èÕ 5 ÃÒ‹ §¡Ò¢ͧàÃÒ 32113365
ÊÒÃÍÒËÒáºÑ ¡ÒÃà¨ÃÞÔ àµÔºâµ¢Í§ÃÒ‹ §¡Ò 45
àÃ×èͧ·èÕ 1 48
1. การเจริญเตบิ โตของรางกาย 49
2. สารอาหารท่ีจําเปนตอ การเจริญเตบิ โตของรางกาย 60
3. สดั สวนอาหารและพลงั งานจากสารอาหาร 62

กิจกรรมพัฒนาทักษะการคดิ ประจําเรอ่ื งท่ี 1 68

àÃÍè× §·èÕ 2 ÃкºÂÍ‹ ÂÍÒËÒâͧÃÒ‹ §¡Ò 69
70
ระบบยอ ยอาหาร 80
82
กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะการคดิ ประจาํ เรื่องที่ 2 83
แบบวดั ผลสมั ฤทธิต์ ามตัวชว้ี ัดประจําหนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 105
109
áç俿҇ áÅÐǧ¨Ãä¿¿Ò‡ 111
àÃÍè× §·Õè 1 áç俿‡Ò¹‹ÒÃÙŒ
116
การเกดิ แรงไฟฟา
117
กิจกรรมพฒั นาทักษะการคดิ ประจาํ เรอื่ งที่ 1 118
126
àÃè×ͧ·Õè 2 ǧ¨Ãä¿¿Ò‡ ã¡ÅŒµÇÑ 128
1. การตอวงจรไฟฟา
130
2. ตวั นาํ ไฟฟา และฉนวนไฟฟา
113312
กิจกรรมพฒั นาทกั ษะการคดิ ประจําเร่อื งที่ 2 147
แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ตามตวั ชวี้ ัดประจาํ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 149

áʧáÅÐà§Ò
à§ÒÁ´× áÅÐà§ÒÁÑÇ
àÃèÍ× §·Õè 1
การเกดิ เงามดื และเงามัว

กิจกรรมพัฒนาทักษะการคดิ ประจําเร่อื งท่ี 1
แบบวัดผลสัมฤทธิต์ ามตวั ชีว้ ัดประจาํ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4

ÊÒÃÃͺµÇÑ àÃÒ

àÃè×ͧ·èÕ 1 ¡ÒÃá¡ÊÒüÊÁ
การแยกสารผสม

กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะการคดิ ประจาํ เรอื่ งท่ี 1
แบบวดั ผลสัมฤทธ์ิตามตวั ช้วี ัดประจําหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เลม่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๖ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เล่ม ๑ ตามมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จัดทาโดย สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาช้แี จง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถท่ีทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการในการ สืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไปน้ี โรงเรียนจะต้องใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงได้จัดทาหนังสือเรียนท่ีเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดของหลักสตู รเพื่อให้โรงเรียนไดใ้ ช้ สาหรับจดั การเรยี นการสอนในช้ันเรยี น คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ เล่ม ๑ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ สสวท. ได้พัฒนาข้ึน เพ่ือนาไปใช้ประกอบหนังสือเรียนรายวิชา พ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เลม่ ๑ โดยภายในคมู่ ือครูประกอบดว้ ยผังมโนทัศน์ ตัวชี้วัด ข้อแนะนาการใช้คู่มือครู ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาและกิจกรรมในหนังสื อเรียนกับ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัด กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะรอบด้าน ทั้งการอ่าน การสารวจตรวจสอบ การฝึกปฏิบัติ การปฏิบัติการทดลอง การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย โดยมีเป้าหมายให้นักเรียนพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ จิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะการคิด การอ่าน การส่ือสาร การแก้ปัญหา ตลอดจนการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างมีคุณธรรมและค่านิยม ทเี่ หมาะสม สามารถดารงชวี ิตอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมีความสุข ในการจัดทา คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และ ครูผสู้ อน จากสถาบนั การศึกษาต่าง ๆ จึงขอขอบคุณไว้ ณ ทนี่ ี้ สสวท. หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ท่ีจะช่วยให้การจัดการศึกษาด้านวทิ ยาศาสตรม์ ีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทาให้ คมู่ ือครเู ลม่ นสี้ มบรู ณ์ยิง่ ข้นึ โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จักขอบคณุ ยิง่ (ศาสตราจารย์ชกู ิจ ลิมปิจานงค)์ ผอู้ านวยการสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สารบัญกระทรวงศึกษาธกิ าร หน้า คาช้แี จง เปา้ หมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ ก คณุ ภาพของผเู้ รยี นวิทยาศาสตร์ เมื่อจบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ข ทักษะทีส่ าคัญในการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ง ผังมโนทศั น์ (concept map) รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 เล่ม 1 ซ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ฌ ข้อแนะนาการใชค้ ู่มือครู ฐ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรใ์ นระดับประถมศึกษา ป การจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ป การจดั การเรียนการสอนที่สอดคลอ้ งกับธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ ฝ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ฟ ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างเน้อื หาและกจิ กรรม ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 เลม่ 1 ย กับตวั ชีว้ ัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) หลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 รายการวัสดอุ ุปกรณว์ ิทยาศาสตร์ ป.6 เลม่ 1 ว หนว่ ยท่ี 1 อาหารและการย่อยอาหาร 1 ภาพรวมการจัดการเรยี นรู้ประจาหนว่ ยที่ 1 อาหารและการยอ่ ยอาหาร 1 บทท่ี 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร 3 บทน้เี ริ่มต้นอย่างไร 7 เรื่องท่ี 1 สารอาหาร 15 กิจกรรมท่ี 1 ในแตล่ ะวันเรารับประทานอาหารเหมาะสมหรอื ไม่ อย่างไร 21 เรอื่ งที่ 2 ระบบย่อยอาหาร..................................................................................................................... 49 กจิ กรรมที่ 2 อวยั วะในระบบยอ่ ยอาหารมลี ักษณะและหน้าทอ่ี ย่างไร ..................................... 54

สารบญั กิจกรรมทา้ ยบทที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร หนา้ แนวคาตอบในแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 79 หน่วยท่ี 2 การแยกสารเนือ้ ผสม 82 ภาพรวมการจดั การเรียนรปู้ ระจาหนว่ ยที่ 2 การแยกสารเนื้อผสม 85 บทที่ 1 การแยกสารเนอื้ ผสม 85 บทนี้เร่ิมต้นอย่างไร 87 เรอื่ งท่ี 1 วิธกี ารแยกสารเนือ้ ผสมอยา่ งงา่ ย 90 94 กิจกรรมท่ี 1.1 แยกของแข็งในสารเนื้อผสมออกจากกันไดอ้ ย่างไร 98 กจิ กรรมท่ี 1.2 แยกของแข็งกับของเหลวในสารเนอ้ื ผสมออกจากกนั ไดอ้ ย่างไร 112 กจิ กรรมท่ี 1.3 แยกสารแม่เหลก็ ออกจากสารเนื้อผสมได้อย่างไร 129 กิจกรรมท่ี 1.4 ใช้ประโยชน์จากการแยกสารเน้อื ผสมอย่างง่ายได้อย่างไร 140 กจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 การแยกสารเนอื้ ผสมอย่างง่าย 150 แนวคาตอบในแบบฝึกหดั ท้ายบท 153 หน่วยท่ี 3 หินและซากดึกดาบรรพ์ 157 ภาพรวมการจดั การเรียนร้ปู ระจาหนว่ ยที่ 3 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ 157 บทท่ี 1 หนิ วัฏจักรหิน และซากดกึ ดาบรรพ์ 159 บทนีเ้ ริ่มตน้ อย่างไร 163 เร่ืองที่ 1 กระบวนการเกิดหิน วัฏจกั รหนิ และการนาหนิ และแรไ่ ปใช้ประโยชน์ 169 กิจกรรมที่ 1.1 องค์ประกอบของหนิ มีอะไรบ้าง 177 กิจกรรมท่ี 1.2 กระบวนการเกดิ หินและวฏั จักรหินเปน็ อยา่ งไร 191 กิจกรรมที่ 1.3 หินและแร่มปี ระโยชนอ์ ย่างไรบ้าง 220 เรื่องท่ี 2 การเกิดซากดึกดาบรรพแ์ ละการนาไปใช้ประโยชน์ 235 กิจกรรมท่ี 2.1 ซากดกึ ดาบรรพ์เกดิ ข้ึนได้อยา่ งไร 239 กจิ กรรมท่ี 2.2 ซากดกึ ดาบรรพ์มีประโยชนอ์ ย่างไร 263 กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 หิน วฏั จักรหิน และซากดกึ ดาบรรพ์ 275

แนวคาตอบในแบบฝกึ หดั ท้ายบท สารบญั แบบทดสอบทา้ ยเลม่ บรรณานกุ รม หน้า คณะทางาน 279 283 297 299

ก คูม่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 เป้าหมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเก่ียวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติแล้วนาผลที่ได้มาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจ์ ึงมุ่งเน้นให้นักเรยี นได้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด น่นั คอื ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ทัง้ กระบวนการและองคค์ วามรู้ การจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรใ์ นสถานศึกษามเี ป้าหมายสาคัญ ดังน้ี 1. เพ่อื ให้เขา้ ใจแนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี กฎและความรู้พืน้ ฐานของวิทยาศาสตร์ 2. เพอ่ื ให้เขา้ ใจขอบเขตธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ และขอ้ จากัดของวิทยาศาสตร์ 3. เพ่ือใหม้ ที กั ษะทส่ี าคญั ในการสบื เสาะหาความรูแ้ ละพฒั นาเทคโนโลยี 4. เพ่ือให้ตระหนักถึงการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ ส่งิ แวดลอ้ ม 5. เพ่ือนาความรู้ แนวคิดและทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคมและการดารงชีวติ 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ ทักษะใน การส่อื สาร และความสามารถในการประเมนิ และตดั สินใจ 7. เพื่อให้เป็นผู้ท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ข คุณภาพของนกั เรยี นวทิ ยาศาสตร์ เม่ือจบชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 นักเรียนที่เรียนจบช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดงั น้ี 1. เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมท้ังความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตใน แหล่งที่อยู่ การทาหน้าทขี่ องส่วนตา่ ง ๆ ของพืช และการทางานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์ 2. เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสาร การละลาย การเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงที่ผนั กลับไดแ้ ละผันกลบั ไม่ได้ และการแยกสารอยา่ งง่าย 3. เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ ผลท่ี เกิดจากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการที่มีต่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบื้องต้น ของเสยี ง และแสง 4. เข้าใจปรากฏการณ์การข้ึนและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ องค์ประกอบ ของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การข้ึน และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนท่ีดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยี อวกาศ 5. เข้าใจลักษณะของแหล่งน้า วัฏจักรน้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง น้าค้างแข็ง หยาดน้าฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ ปรากฏการณ์เรอื นกระจก 6. ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความนา่ เชอื่ ถือ ตดั สนิ ใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะ ในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทางานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าที่ ของตน เคารพสิทธิของผูอ้ ่นื 7. ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน คาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสอดคล้องกับคาถามหรือปัญหาท่ีจะสารวจตรวจสอบ วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลท้ังเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ 8. วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการสารวจตรวจสอบใน รูปแบบที่เหมาะสม เพ่ือส่ือสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตุผลและหลักฐาน อ้างองิ 9. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตามความ สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ คิดเหน็ ผอู้ ่ืน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ค คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 10. แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานทไี่ ด้รับมอบหมายอยา่ งมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซอื่ สตั ย์ จนงาน ลุลว่ งเป็นผลสาเรจ็ และทางานร่วมกับผู้อื่นอยา่ งสร้างสรรค์ 11. ตระหนักในคณุ ค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้นและศึกษาหาความรู้ เพ่ิมเติม ทาโครงงานหรอื ช้นิ งานตามท่ีกาหนดใหห้ รือตามความสนใจ 12. แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ มอย่างร้คู ณุ ค่า  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ง ทกั ษะทีส่ าคัญในการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ทกั ษะสาคัญที่ครูผู้สอนจาเป็นต้องพัฒนาให้เกิดข้ึนกับนักเรยี นเมื่อมีการจัดการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เชน่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือนาไปสู่ การสืบเสาะค้นหาผ่านการสังเกต ทดลอง สร้างแบบจาลอง และวิธีการอื่น ๆ เพ่ือนาข้อมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษ์มาสร้างคาอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วย ทกั ษะการสังเกต (Observing) เป็นความสามารถในการใชป้ ระสาทสัมผสั อยา่ งใดอย่างหน่ึง หรือ หลายอย่างสารวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไม่ลงความคิดเห็นของ ผูส้ งั เกต ประสาทสัมผัสท้งั 5 ไดแ้ ก่ การดู การฟงั เสียง การดมกลิน่ การชมิ รส และการสัมผสั ทักษะการวัด (Measuring) เป็นความสามารถในการเลือกใช้เคร่ืองมือในการวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ จากเครื่องมือท่ีเลือกใช้ออกมาเป็น ตัวเลขไดถ้ ูกต้องและรวดเรว็ พร้อมระบหุ น่วยของการวดั ได้อยา่ งถูกต้อง ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) เป็นความสามารถในการคาดการณ์อย่างมี หลักการเก่ียวกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ โดยใช้ข้อมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคย เก็บรวบรวมไว้ในอดีต ทกั ษะการจาแนกประเภท (Classifying) เปน็ ความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุ่ม ส่ิงต่าง ๆ ที่สนใจ เช่น วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหวัตถุต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ท่ีต้องการศึกษาออกเป็น หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑ์หรือลักษณะร่วมลักษณะใดลักษณะ หนึ่งของส่ิงตา่ ง ๆ ทต่ี ้องการจาแนก ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พ้ืนที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่น้ีอาจเป็นตาแหน่ง รูปร่าง รูปทรงของวัตถุ ส่ิงเหล่านี้อาจมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้ การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง สัมพั น ธ์กัน ระห ว่างพื้ น ที่ ท่ี วัตถุต่างๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

จ คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปซกบั เวลา เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง (Relationship between Space and Time) สัมพันธ์กันระหว่างพ้ืนที่ท่ีวัตถุครอบครอง เมอื่ เวลาผ่านไป ทักษะการใช้จานวน (Using Number) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้สึกเชิงจานวน และ การคานวณเพือ่ บรรยายหรอื ระบุรายละเอียดเชงิ ปริมาณของสิง่ ทสี่ ังเกตหรอื ทดลอง ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data) เป็นความสามารถในการนาผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาจัดกระทาให้อยใู่ นรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรือมีความสมั พันธ์กนั มากข้ึน จนง่ายตอ่ การทาความเข้าใจหรือเห็นแบบรูปของข้อมลู นอกจากนี้ ยังรวมถึงความสามารถในการนาข้อมูลมาจัดทาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขยี นบรรยาย เพ่ือสือ่ สารให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจความหมายของขอ้ มูลมากขึน้ ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เป็นความสามารถในบอกผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์ การสังเกต การทดลองที่ได้จากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ์ที่ แม่นยาจึงเป็นผลมาจากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดท่ีถูกต้อง การบันทึก และการจัดกระทากับข้อมูลอย่าง เหมาะสม ทักษะการต้ังสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เป็นความสามารถในการคิดหาคาตอบ ล่วงหน้าก่อนดาเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานคาตอบท่ีคิด ล่วงหน้าท่ียังไม่รู้มาก่อน หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน การตั้งสมมติฐานหรือคาตอบที่คิดไว้ ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเป็นไปตามที่ คาดการณไ์ ว้หรือไมก่ ไ็ ด้ ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เป็นความสามารถในการ กาหนดความหมายและขอบเขตของสิ่งตา่ ง ๆ ทีอ่ ยใู่ นสมมติฐานของการทดลอง หรอื ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การทดลอง ให้เขา้ ใจตรงกนั และสามารถสังเกตหรอื วดั ได้ ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เป็นความสามารถในการ กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ทั้งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงท่ี ให้สอดคล้องกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น ซ่ึงอาจ ส่งผลต่อผลการทดลอง หากไม่ควบคุมให้เหมือนกันหรือเท่ากัน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ได้แก่ ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ตี อ้ งควบคมุ ให้คงท่ี ซ่งึ ลว้ นเปน็ ปจั จยั ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การทดลอง ดงั น้ี ตัวแปรตน้ (Independent Variable) หมายถงึ ส่ิงท่เี ป็นต้นเหตุทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลง จึงต้อง จัดสถานการณใ์ ห้มีส่งิ น้ีแตกตา่ งกนั ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง สิ่งที่เป็นผลจากการจัดสถานการณ์บางอย่างให้ แตกต่างกัน และเราตอ้ งสังเกต วัด หรอื ติดตามดู  สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ฉ ตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงท่ี (Controlled Variable) หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ที่อาจส่งผลต่อการจัด สถานการณ์ จึงต้องจัดส่ิงเหล่านี้ให้เหมือนกันหรือเทา่ กัน เพื่อให้ม่ันใจว่าผลจากการจัดสถานการณ์เกิดจากตัว แปรต้นเท่านน้ั ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดว้ ย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเป็นความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองได้อย่างรอบคอบ และสอดคล้องกับคาถามการทดลองและสมมตฐิ าน รวมถึง ความสามารถในการดาเนินการทดลองได้ตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได้ละเอียด ครบถว้ น และเที่ยงตรง ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting and Making Conclusion) เป็นความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ ตลอดจน ความสามารถในการสรุปความสัมพนั ธข์ องขอ้ มูลทั้งหมด ทักษะการสร้างแบบจาลอง (Formulating Models) เป็นความสามารถในการสร้างและใชส้ ิ่งท่ี ทาข้ึนมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ท่ีศึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว สามารถประเมินแบบจาลอง และปรับปรุงแบบจาลองที่สร้างข้ึน รวมถึงความสามารถ ในการนาเสนอข้อมลู แนวคดิ ความคิดรวบยอดเพอ่ื ใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจในรูปของแบบจาลองแบบต่าง ๆ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานได้ระบุทักษะท่ีจาเป็นแห่งศตวรรษที่ 21 ซึ่งสอดคล้องกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหม่รวม 7 ด้าน (สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดับประถมศกึ ษาจะเนน้ ให้ครูผู้สอนสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมที ักษะ ดงั ต่อไปนี้ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใช้เหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ ประเมินหลักฐานและข้อคิดเห็นด้วยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และจัดทาข้อสรุป สะท้อนความคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้ ประสบการณแ์ ละกระบวนการเรยี นรู้ การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคย หรือ ปญั หาใหม่ โดยอาจใช้ความรู้ ทักษะ วิธีการและประสบการณท์ ่ีเคยร้มู าแล้ว หรือการสืบเสาะหาความรู้ วิธีการ ใหม่มาใช้แก้ปัญหา นอกจากนี้ยังรวมถึงการซักถามเพ่ือทาความเข้าใจมุมมองที่แตกต่าง หลากหลายเพื่อให้ได้ วธิ ีแกป้ ัญหาท่ีดียิง่ ขึ้น การสื่อสาร (Communication) หมายถึง ความสามารถในการส่ือสารได้อย่างชัดเจน เช่ือมโยง เรียบเรียงความคิดเเละมุมมองต่าง ๆ แล้วสื่อสารโดยการใช้คาพูด หรือการเขียน เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจได้ หลากหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ นอกจากน้ียังรวมไปถึงการฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือให้เข้าใจ ความหมายของผูส้ ง่ สาร สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ช คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ความร่วมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทางานร่วมกับคนกลุ่มต่าง ๆ ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกียรติ มีความยืดหยุ่นและยินดีท่ีจะประนีประนอม เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายการทางาน พรอ้ มท้ังยอมรับและแสดงความรับผดิ ชอบต่องานท่ีทาร่วมกัน และเห็นคุณคา่ ของผลงาน ทพี่ ัฒนาขน้ึ จากสมาชิกแต่ละคนในทมี การสร้างสรรค์ (Creativity) หมายถึง การใช้เทคนิคท่ีหลากหลายในการสร้างสรรค์แนวคิด เช่น การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาต่อยอดแนวคิดเดิม หรือได้แนวคิดใหม่ และ ความสามารถในการกลนั่ กรอง ทบทวน วิเคราะห์ และประเมินแนวคิด เพื่อปรับปรงุ ให้ได้แนวคิดท่ีจะส่งผลให้ ความพยายามอยา่ งสร้างสรรค์นเี้ ป็นไปไดม้ ากที่สดุ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง ความสามารถในการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อเป็นเครื่องมือสืบค้น จัดกระทา ประเมินและส่ือสารข้อมูลความรู้ตลอดจนรู้เท่าทันสื่อโดยการใช้ส่ือต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มปี ระสทิ ธภิ าพ  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ซ ผังมโนทัศน์ (concept map) รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เลม่ 1 เนอ้ื หาการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 เลม่ 1 ประกอบดว้ ย หนว่ ยท่ี 1 อาหาร หน่วยท่ี 2 การแยก หนว่ ยท่ี 3 หนิ และ และการยอ่ ยอาหาร สารเนอ้ื ผสม ซากดึกดาบรรพ์ ไดแ้ ก่ ได้แก่ ไดแ้ ก่ สารอาหาร การแยกสาร เนอ้ื ผสมอย่าง กระบวนการเกดิ หิน ระบบย่อยอาหาร ง่าย วัฏจกั รหิน และการนา หินและแร่ไปใช้ ประโยชน์ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ และการนาไปใช้ ประโยชน์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ฌ คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ตวั ชี้วดั ชน้ั ปี สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ว 1.2 ป.6/1 ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของ  สารอาหารท่ีอยู่ในอาหารมี 6 ประเภท ได้แก่ สารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารท่ี คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมัน เกลอื แร่ วิตามินและนา้ ตนเองรับประทาน  อาหารแต่ละชนิดประกอบด้วยสารอาหารท่ีแตกต่าง ว 1.2 ป.6/2 กัน อาหารบางอย่างประกอบด้วยสารอาหาร บอกแนวทางในการเลือกรบั ประทานอาหาร ประเภทเดียว อาหารบางอย่างประกอบด้ วย ให้ ได้ ส ารอ าห ารค รบ ถ้ว น ใน สัด ส่ว น สารอาหารมากกวา่ หนง่ึ ประเภท ท่ี เห ม าะ ส ม กั บ เพ ศ แ ล ะ วั ย ร ว ม ทั้ ง  สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชน์ต่อร่างกาย ความปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ แตกต่างกัน โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ว 1.2 ป.6/3 ตระหนักถึงความสาคัญของสารอาหาร โดย เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ส่วนเกลือแร่ การเลือกรับประทานอาหารท่ีมีสารอาหาร วิตามินและน้า เป็นสารอาหารท่ีไม่ให้พลังงาน ครบถ้วนในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและ แกร่ า่ งกาย แตช่ ่วยให้ร่างกายทางานไดเ้ ป็นปกติ วัย รวมทัง้ ปลอดภัยต่อสุขภาพ  การรับประทานอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญเติบโต มีการเปล่ียนแปลงของร่างกายตามเพศและวัย และ มีสุขภาพดี จาเป็นต้องรับประทานให้ได้พลังงาน เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และให้ได้ สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศ และวัย รวมท้งั ตอ้ งคานึงถึงชนิดและปริมาณของวัตถุ เจอื ปนในอาหารเพือ่ ความปลอดภยั ต่อสขุ ภาพ ว 1.2 ป.6/4  ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ สร้างแบบจาลองระบบย่อยอาหาร และ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก บรรยายหน้าท่ีของอวัยวะในระบบย่อย ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ และตับอ่อน ซ่ึงทาหน้าที่ อาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหารและ รว่ มกนั ในการยอ่ ยและดูดซึมสารอาหาร การดูดซึมสารอาหาร - ปาก มีฟันช่วยบดเค้ียวอาหารให้มีขนาดเล็กลง ว 1.2 ป.6/5 และมีล้ิน ช่วยคลุกเคล้าอาห ารกับ น้า ลาย ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ร ะ บ บ ย่ อ ย ในนา้ ลายมีเอนไซม์ยอ่ ยแป้งให้เปน็ นา้ ตาล อาหาร โดยการบอกแนวทางในการดูแล - หลอดอาหาร ทาหน้าทีล่ าเลียงอาหารจากปากไป รักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ทางาน ยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะอาหารมีการ เป็นปกติ ย่อยโปรตีนโดยกรดและเอนไซม์ที่สร้างจาก  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ญ ตวั ชี้วัดชั้นปี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง กระเพาะอาหาร - ลาไส้เล็กมีเอนไซม์ท่ีสร้างจากผนังลาไส้เล็กเอง และจากตับอ่อนท่ชี ่วยย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน โดยโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั ท่ี ผ่านการย่อยจนเป็นสารอาหารขนาดเล็กพอท่ีจะ ดูดซึมได้ รวมถึงน้า เกลือแร่ และวิตามิน จะถูก ดูดซึม ท่ีผนังลาไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือด เพ่ือ ลาเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซ่ึงโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน จะถูกนาไปใช้เป็น แหล่งพลังงานสาหรับใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ส่วน น้า เกลือแร่ และวิตามิน จะช่วยให้ร่างกาย ทางานไดเ้ ป็นปกติ - ตับสร้างน้าดีแล้วส่งมายังลาไส้เล็กช่วยให้ไขมัน แตกตัว - ลาไส้ใหญท่ าหนา้ ทด่ี ูดนา้ และเกลอื แร่ เป็นบริเวณ ที่ มี อ า ห า ร ท่ี ย่ อ ย ไม่ ได้ ห รื อ ย่ อ ย ไม่ ห ม ด เป็ น กากอาหาร ซึ่งจะถูกกาจดั ออกทางทวารหนัก  อวัยวะต่างๆ ในระบบย่อยอาหาร มีความสาคัญ จงึ ควรปฏบิ ตั ิตน ดแู ลรกั ษาอวัยวะให้ทางานเปน็ ปกติ ว 2.1 ป.6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม  สารผสมประกอบดว้ ยสารตั้งแต่ 2 ชนดิ ขึ้นไปผสมกัน โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็ก เช่น น้ามันผสมน้า ข้าวสารปนกรวดทราย วิธีการท่ี ดึงดูด การรินออก การกรอง และการ เหมาะสมในการแยกสารผสมข้ึนอยู่กับลักษณะและ ตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สมบัติของสารที่ผสมกัน ถ้าองค์ประกอบของสาร รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ผสมเป็นของแข็งกับของแข็งท่ีมีขนาดแตกต่างกัน เกย่ี วกบั การแยกสาร อย่างชัดเจน อาจใช้วิธีการหยิบออกหรือการร่อน ผ่านวัสดุท่ีมีรู ถ้ามีสารใดสารหน่ึงเป็นสารแม่เหล็ก อาจใช้วิธีการใช้แม่เหล็กดึงดูด ถ้าองค์ประกอบเป็น ของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลว อาจใช้วิธีการ รินออก การกรอง หรือการตกตะกอน ซึ่งวิธีการ แยกสารสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ได้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ฎ ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ตัวชีว้ ัดชน้ั ปี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ว 3.2 ป.6/1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี  หินเป็นวัสดุแข็งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ประกอบ หินตะกอน และหินแปร และอธิบาย ด้วยแร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดข้ึนไป สามารถจาแนกหินตาม วัฏจักรหนิ จากแบบจาลอง กระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร  หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวของแมกมา เนื้อหินมี ลักษณะเป็นผลึก ท้ังผลึกขนาดใหญ่และขนาดเล็ก บางชนิดอาจเปน็ เนื้อแกว้ หรอื มรี พู รนุ  หินตะกอน เกิดจากการทับถมของตะกอนเมื่อถูกแรง กดทับและมีสารเช่ือมประสานจึงเกิดเป็นหนิ เนื้อหิน กลุ่มน้ีส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดตะกอน มีทั้ง เนื้อหยาบและเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเนื้อผลึกท่ี ยดึ เกาะกันเกิดจากการตกผลึกหรือตกตะกอนจากน้า โดยเฉพาะน้าทะเล บางชนิดมีลักษณะเป็นชั้น ๆ จงึ เรยี กอีกชื่อวา่ หนิ ชน้ั  หินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิมซ่ึงอาจ เปน็ หินอคั นี หินตะกอน หรอื หินแปร โดยการกระทา ของความร้อน ความดัน และปฏิกิริยาเคมี เน้ือหิน ของหินแปรบางชนิดผลึกของแร่เรียงตัวขนานกัน เป็นแถบ บางชนิดแซะออกเป็นแผ่นได้ บางชนิดเป็น เนอ้ื ผลกึ ที่มีความแขง็ มาก  หินในธรรมชาติทั้ง 3 ประเภท มีการเปลี่ยนแปลง จากประเภทหน่ึงไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง หรือ ประเภทเดิมได้ โดยมีแบบรูปการเปลี่ยนแปลงคงที่ และต่อเนื่องเปน็ วฏั จกั ร ว 3.2 ป.6/2 บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์  หินและแร่แต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติแตกต่าง ของหินและแร่ในชีวิตประจาวันจากข้อมูลท่ี กัน มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแร่ในชีวิตประจาวันใน รวบรวมได้ ลักษณะต่าง ๆ เช่น นาแร่มาทาเครื่องสาอาง ยาสีฟัน เครื่องประดับ อุปกรณ์ทางการแพทย์ และนาหินมา ใช้ในงานก่อสรา้ งต่าง ๆ เป็นตน้  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ฏ ตัวช้ีวัดชนั้ ปี สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ว 3.2 ป.6/3 ส ร้ า ง แ บ บ จ า ล อ ง ที่ อ ธิ บ า ย ก า ร เกิ ด  ซากดึกดาบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือการประทับ ซ า ก ดึ ก ด า บ ร ร พ์ แ ล ะ ค า ด ค ะ เ น รอยของส่ิงมีชีวิตในอดีต จนเกิดเป็นโครงสร้างของ สภาพแวดลอ้ มในอดตี ของซากดกึ ดาบรรพ์ ซากหรือร่องรอยของส่ิงมีชีวิตที่ปรากฏอยู่ในหิน ในประเทศไทยพบซากดกึ ดาบรรพ์ท่หี ลากหลาย เช่น พืช ปะการัง หอย ปลา เต่า ไดโนเสาร์ และรอยตีน สตั ว์  ซากดึกดาบรรพ์สามารถใช้เป็นหลักฐานหน่ึงที่ช่วย อธิบายสภาพแวดล้อมของพ้ืนที่ในอดีตขณะเกิด สิ่งมีชีวิตน้ัน เช่น หากพบซากดึกดาบรรพ์ของหอย น้าจืด สภาพแวดล้อมบริเวณนั้นอาจเคยเป็นแหล่ง น้าจืดมาก่อน และหากพบซากดึกดาบรรพ์ของพืช สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นป่ามาก่อน นอกจากน้ีซากดึกดาบรรพ์ยังสามารถใช้ระบุอายุของ หิน และเป็นข้อมูลในการศึกษาวิวัฒนาการของ สิง่ มีชีวติ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ฐ คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ข้อแนะนาการใชค้ ่มู ือครู คูม่ ือครูเล่มน้ีจัดทาข้นึ เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมสาหรับครู ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรยี น จะได้ฝกึ ทักษะจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ทงั้ การสังเกต การสารวจ การทดลอง การสืบค้นข้อมลู การอภิปราย การทางานร่วมกัน ซึ่งเป็นการฝึกใหน้ ักเรยี นช่างสงั เกต รู้จักตั้งคาถาม รจู้ ักคิดหาเหตุผล เพอ่ื ตอบปัญหาตา่ ง ๆ ได้ด้วยตนเอง ทงั้ นี้โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้นักเรียนได้เรยี นรู้และค้นพบด้วยตนเองมากทีส่ ุด ดังน้ันในการจดั การ เรียนรู้ ครูจึงเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนนักเรียนให้รู้จักสืบเสาะหาความรู้จากส่ือและแหล่ง การเรียนรู้ต่าง ๆ และเพ่ิมเติมข้อมูลท่ีถูกต้องแก่นักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรู้ ดว้ ยตนเอง เพ่ือให้เกิดประโยชน์จากคู่มือครูเล่มนี้มากท่ีสุด ครูควรทาความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละหัวข้อ และขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม ดงั น้ี 1. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้แกนกลางเป็ นสาระการเรี ยนรู้เฉพาะกลุ่ มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีท่ีปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดไว้เฉพาะส่วนที่จาเป็น สาหรับเป็นพื้นฐานเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน และเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน โดย สอดคล้องกับสาระและความสามารถ ความถนัดและความสนใจของนักเรียน ในทุกกิจกรรมจะมี สาระสาคัญ ซ่ึงเป็นเน้ือหาสาระที่ปรากฏอยู่ตามสาระการเรียนรู้โดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติม ไดต้ ามความเหมาะสม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เพ่ิมสาระเทคโนโลยี ซ่ึง ประกอบด้วยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ ทั้งนี้เพื่อเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 2. ภาพรวมการจดั การเรียนรปู้ ระจาหนว่ ย ภาพรวมการจัดการเรียนรู้ประจาหน่วยมีไว้เพ่ือเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละ ตัวชี้วัดท่ีจะได้เรียนในแต่ละกิจกรรมของหน่วยน้ัน ๆ และเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนาไปปรับปรุงและ เพ่ิมเติมตามความเหมาะสม 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียนจะได้ทากิจกรรมอย่างหลากหลาย ในแต่ละส่วนของหนังสือเรียนทั้ง ส่วนนาบท นาเร่ือง และกิจกรรมมีจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดช้ันปีเพื่อให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตและ  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ฑ ในสถานการณ์ใหม่ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี มีเจตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม สามารถอยใู่ นสังคมไทยไดอ้ ยา่ งมีความสุข 4. บทน้มี อี ะไร ส่วนท่ีบอกรายละเอียดในบทน้ัน ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อเร่อื ง คาสาคญั และชอื่ กจิ กรรม เพ่ือครูจะ ได้ทราบองค์ประกอบโดยรวมของแตล่ ะบท 5. สอื่ การเรยี นรู้และแหล่งเรยี นรู้ ส่วนท่ีบอกรายละเอียดส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ท่ีต้องใช้สาหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมน้ัน ๆ โดยส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ประกอบด้วยหน้าหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต์ เว็บไซต์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศนูปกรณ์หรือตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการ ทางวทิ ยาศาสตร์เพื่อเสรมิ สร้างความมน่ั ใจในการสอนปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตรส์ าหรับครู 6. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทักษะท่ีนักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น ทักษะท่ีนักวิทยาศาสตร์นามาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู้ ส่วนทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพอ่ื ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ฒ คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 วีดิทัศน์ตัวอยา่ งปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์สาหรบั ครูเพ่ือฝึกฝนทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ่าง ๆ มีดงั นี้ รายการ ทกั ษะกระบวนการทาง Short link QR code วิทยาศาสตร์ วีดทิ ศั น์ การสังเกตและการลง การสงั เกตและการลง http://ipst.me/8115 ความเหน็ จากขอ้ มูล ความเห็นจากข้อมลู ทาไดอ้ ยา่ งไร วีดทิ ศั น์ การวัดทาได้อย่างไร การวัด http://ipst.me/8116 วีดิทศั น์ การใชต้ ัวเลข การใชจ้ านวน http://ipst.me/8117 ทาได้อย่างไร วดี ิทัศน์ การจาแนกประเภท การจาแนกประเภท http://ipst.me/8118 ทาได้อย่างไร วดี ิทัศน์ การหาความสัมพนั ธ์ การหาความสัมพันธ์ http://ipst.me/8119 ระหว่างสเปซกบั สเปซ ระหวา่ งสเปซกับสเปซ http://ipst.me/8120 ทาได้อยา่ งไร http://ipst.me/8121 http://ipst.me/8122 วีดิทศั น์ การหาความสมั พันธ์ การหาความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับเวลา ระหวา่ งสเปซกบั เวลา ทาได้อยา่ งไร วีดิทศั น์ การจัดกระทาและสอื่ การจัดกระทาและส่อื ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมลู ทาได้อยา่ งไร วีดิทศั น์ การพยากรณ์ การพยากรณ์ ทาได้อย่างไร  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ณ รายการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code วิทยาศาสตร์ http://ipst.me/8123 วีดิทัศน์ ทาการทดลองได้ อยา่ งไร การทดลอง วีดิทัศน์ การตั้งสมมตฐิ านทาได้ การตง้ั สมมตฐิ าน http://ipst.me/8124 อยา่ งไร วีดิทัศน์ การกาหนดและ การกาหนดและควบคุม http://ipst.me/8125 ควบคมุ ตัวแปรและ ตัวแปรและการกาหนด การกาหนดนิยามเชงิ นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ปฏบิ ตั ิการทาได้ อย่างไร การตีความหมายข้อมลู และ http://ipst.me/8126 ลงขอ้ สรุป วีดทิ ัศน์ การตคี วามหมาย ข้อมลู และลงข้อสรุป ทาได้อยา่ งไร วีดทิ ัศน์ การสร้างแบบจาลอง การสร้างแบบจาลอง http://ipst.me/8127 ทาได้อย่างไร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ด คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 7. แนวคดิ คลาดเคลื่อน ความเชื่อ ความรู้ หรือความเข้าใจที่ผิดหรือคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดขึ้นกับนักเรียน เน่ืองจาก ประสบการณ์ในการเรียนรทู้ ี่รับมาผิดหรือนาความร้ทู ี่ได้รับมาสรุปตามความเข้าใจของตนเองผิด แล้ว ไม่สามารถอธิบายความเข้าใจนั้นได้ ดังนั้นเม่ือเรียนจบบทน้ีแล้วครูควรแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนของ นกั เรยี นใหเ้ ปน็ แนวคดิ ที่ถกู ตอ้ ง 8. บทนีเ้ รมิ่ ต้นอยา่ งไร แนวทางสาหรับครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนน้ัน ๆ โดยและให้นักเรียน ตอบคาถามสารวจความรู้ก่อนเรียน จากน้ันครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนและยังไม่เฉลย คาตอบทถ่ี กู ต้อง เพือ่ ใหน้ ักเรียนไปหาคาตอบจากเรอ่ื งและกจิ กรรมต่าง ๆ ในบทนน้ั 9. เวลาทใ่ี ช้ การเสนอแนะเวลาท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนว่าควรใช้ประมาณกี่ช่ัวโมง เพ่ือช่วยให้ ครผู ูส้ อนได้จัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยนเวลาไดต้ าม สถานการณ์และความสามารถของนักเรยี น 10. วัสดอุ ุปกรณ์ รายการวัสดอุ ุปกรณ์ทงั้ หมดสาหรับการจัดกจิ กรรม โดยอาจมีทง้ั วสั ดุส้ินเปลือง อปุ กรณ์สาเรจ็ รูป อุปกรณ์พื้นฐาน หรอื อนื่ ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว่ งหนา้ สาหรบั ครู เพ่ือจดั การเรียนรใู้ นคร้ังถัดไป การเตรียมตัวล่วงหน้าสาหรับการจัดการเรียนรู้ในครั้งถัดไป เพื่อครูจะได้เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในกิจกรรมให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดีและมีจานวนเพียงพอกับนักเรียน โดย อาจมบี างกจิ กรรมตอ้ งทาล่วงหนา้ หลายวนั เช่น การเตรียมถงุ ปริศนาและขา้ วโพดคว่ั หรอื สิง่ ท่ีกนิ ได้ ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม นักเรยี นในระดับชน้ั ประถมศึกษา มกี ระบวนการคิดที่เป็นรูปธรรม ครูจึงควรจดั การเรียนการ สอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติหรือทาการทดลองด้วยตนเอง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่นักเรียนจะได้มี ประสบการณต์ รง ดงั นัน้ ครผู สู้ อนจงึ ต้องเตรียมตัวเองในเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี 11.1 บทบาทของครู ครูจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นาหรือผู้ถ่ายทอดความรู้เป็น ผู้ช่วยเหลือ โดยส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่ง การเรียนรู้ต่าง ๆ และใหข้ ้อมลู ที่ถูกต้องแก่นักเรียน เพ่ือใหน้ ักเรียนได้นาข้อมลู เหลา่ นั้นไป ใชส้ ร้างสรรค์ความรขู้ องตนเอง 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนให้มีความพร้อมในการทา กิจกรรมต่าง ๆ แต่บางครั้งนักเรียนไม่เข้าใจและอาจจะทากิจกรรมไม่ถูกต้อง ดังนั้นครูจึง ต้องเตรยี มตวั เอง โดยทาความเข้าใจในเรอ่ื งต่อไปน้ี  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ต การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามจากผู้รู้ในท้องถิ่น ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อ่านหนังสือหรือเอกสารเท่าท่ีหาได้ นั่นคือการให้นักเรียนเป็นผู้หา ความรูแ้ ละพบความรู้หรอื ข้อมลู ด้วยตนเอง ซง่ึ เป็นการเรยี นรู้ด้วยวธิ เี สาะหาความรู้ การนาเสนอมีหลายวิธี เช่น ให้นักเรียนหรือตัวแทนกลุ่มออกมาเล่าเร่ืองท่ีได้รับ มอบหมายใหไ้ ปสารวจ สงั เกต หรือทดลอง หรอื อาจให้เขียนเป็นคาหรือเป็นประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจให้วาดรูป หรือตัด ข้อความจากหนงั สือพิมพ์ แล้วนามาติดไว้ในหอ้ ง เปน็ ตน้ การสารวจ ทดลอง สืบค้นข้อมูล สร้างแบบจาลองหรืออ่ืน ๆ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ เป็นส่ิงสาคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนสามารถให้นักเรียนทากิจกรรม ได้ท้ังในห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือที่บ้าน โดยไม่จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ราคาแพง อาจใช้อุปกรณ์ที่ดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช้ หรือใช้วัสดุธรรมชาติ ข้อสาคัญ คือ ครูผู้สอนต้องให้นักเรียนทราบว่า ทาไมจึงต้องทากิจกรรมน้ัน และจะต้องทาอะไร อย่างไร ผลจากการทากิจกรรมจะสรุปผลอย่างไร ซึ่งจะทาให้นักเรียนได้ความรู้ ความคิด และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พร้อมกับเกิดค่านิยม คุณธรรม เจตคติทาง วทิ ยาศาสตร์ด้วย 12. แนวการจดั การเรยี นรู้ แนวทางสาหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วย ตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผลและสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการนาเอาวิธีการต่าง ๆ ของกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ไปใช้ วิธีการจัดการเรียนรู้ที่ สสวท. เห็นว่าเหมาะสมที่จะนานักเรียนไปสู่เป้าหมายท่ีกาหนด ไว้ก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ คือ การมองเห็นปัญหา การสารวจ ตรวจสอบ และอภิปรายซกั ถามระหว่างครูกับนักเรียนเพ่ือนาไปสู่ข้อสรปุ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม นอกจากครูจะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามคู่มือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความ เหมาะสมเพ่ือใหบ้ รรลุจุดมุ่งหมาย โดยจะคานึงถงึ เรอ่ื งตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ 12.1 นกั เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรใหน้ ักเรียนทุกคนมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการ เรียนรู้ตลอดเวลาด้วยการกระตุ้นให้นักเรียนลงมือทากิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การใช้คาถาม การเสริมแรงมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพ่ือให้การเรียน การสอนนา่ สนใจและมีชีวติ ชีวา 12.2 การใช้คาถาม เพ่ือนานักเรียนเข้าสู่บทเรียนและลงข้อสรุป โดยไม่ใช้เวลานานเกินไป ท้ังนี้ ครูต้องวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใช้คาถามที่มีความยากง่าย พอเหมาะกบั ความสามารถของนักเรียน 12.3 การสารวจตรวจสอบซ้า เป็นส่ิงจาเป็นเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู้ ครคู วรเนน้ ย้าให้นกั เรยี นไดส้ ารวจตรวจสอบซา้ เพื่อนาไปสู่ข้อสรปุ ทถี่ ูกตอ้ งและเช่ือถือได้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ถ คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 13. ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ ข้อเสนอแนะสาหรับครูท่ีอาจเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ เช่น ตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ ที่เหมาะสมหรือใช้แทน ข้อควรระวัง วิธีการใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทากิจกรรม เพือ่ ลดข้อผดิ พลาด ตวั อยา่ งตาราง และเสนอแหลง่ เรียนร้เู พอ่ื การค้นคว้าเพ่ิมเติม 14. ความรเู้ พิ่มเตมิ สาหรบั ครู ความรู้เพ่ิมเติมในเนื้อหาที่สอนซ่ึงจะมีรายละเอียดท่ีลึกข้ึน เพ่ือเพิ่มความรู้และความม่ันใจ ในเรื่องที่จะสอนและแนะนานักเรียนท่ีมีความสามารถสูง แต่ครูต้องไม่นาไปสอนนักเรียนในช้ันเรียน เพราะไมเ่ หมาะสมกบั วยั และระดับชนั้ 15. อยา่ ลมื นะ ส่วนท่ีเตือนไม่ให้ครูเฉลยคาตอบที่ถกู ต้อง ก่อนที่จะได้รับฟังความคิดและเหตุผลของนกั เรียน เพ่ือให้นักเรียนได้คิดด้วยตนเองและครูจะได้ทราบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องน้ัน อย่างไรบ้าง โดยครูควรให้คาแนะนาเพื่อให้นักเรียนหาคาตอบได้ด้วยตนเอง นอกจากนั้นครูควรให้ ความสนใจต่อคาถามของนกั เรียนทกุ คนดว้ ย 16. แนวการประเมนิ การเรยี นรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีได้จากการอภิปรายในชั้นเรียน คาตอบของนักเรียนระหว่าง การจัดการเรียนรู้และในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ท่ีได้จากการทากิจกรรมของนกั เรยี น 17. กิจกรรมท้ายบท สว่ นทใี่ หน้ กั เรยี นไดส้ รุปความรู้ ความเขา้ ใจ ในบทเรยี น และไดต้ รวจสอบความร้ใู นเนอ้ื หาที่ เรยี นมาทั้งบท หรอื อาจต่อยอดความรใู้ นเรอื่ งนน้ั ๆ ข้อแนะนาเพมิ่ เตมิ 1. การสอนอ่าน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคาว่า “อ่าน” หมายถึง ว่าตาม ตวั หนังสือ ถา้ ออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ หรืออีกความหมาย ของคาว่า “อ่าน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพ่ือให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ตีความ เชน่ อ่านรหสั อ่านลายแทง ปีพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ได้กล่าวถึงความสาคัญของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นทักษะท่ีสาคัญ จาเป็นต้องเน้นและฝึกฝนให้แก่นักเรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการอ่านเป็นกระบวนการสาคัญท่ีทาให้ผู้อ่าน สร้างความหมายหรือพัฒนาการวิเคราะห์ ตีความในระหว่างอ่าน ผู้อ่านจะต้องร้หู ัวเร่ือง รู้จุดประสงค์การอ่าน มี ค ว าม รู้ท างภ าษ าใก ล้ เคี ย งกั บ ภ า ษ าที่ ใช้ ใน ห นั งสื อ ที่ อ่ าน แล ะจ าเป็ น ต้ องใช้ ป ระส บ ก ารณ์ เดิ มที่ เป็ น ประสบการณ์พ้ืนฐานของผู้อ่าน ทาความเข้าใจเร่ืองที่อ่าน ท้ังนี้นักเรียนแต่ละคนอาจมีทักษะในการอ่าน  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ท ท่ีแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของนักเรียน ความสามารถด้านภาษา หรือความสนใจเรอื่ งทอี่ ่าน ครูควรสังเกตนกั เรียนว่านักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการอ่านอยใู่ นระดับใด ซง่ึ ครูจะต้องพิจารณาทง้ั หลักการอ่าน และความเข้าใจในการอา่ นของนกั เรยี น การรู้เรื่องการอ่าน (Reading literacy) หมายถึง การเข้าใจข้อมูล เน้ือหาสาระของสิ่งท่ีอ่าน การใช้ ประเมินและสะท้อนมุมมองของตนเองเกี่ยวกับสิ่งท่ีอ่านอย่างตั้งใจเพื่อบรรลุเป้าหมายส่วนตัวของตนเองหรือ เพ่ือพัฒนาความรู้และศักยภาพของตนเองและนาความรู้และศักยภาพน้ันมาใช้ในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ใน สังคม (PISA, 2018) กรอบการประเมินผลนักเรยี นเพ่ือให้มีสมรรถนะการอ่านในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ สรปุ ได้ดงั แผนภาพด้านล่าง จากกรอบการประเมินดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การรู้เรื่องการอ่านเป็นสมรรถนะท่ีสาคัญท่ีครูควรส่งเสริมให้ นักเรียนมีความสามารถให้ครอบคลุม ต้ังแต่การค้นหาข้อมูลในส่ิงท่ีอ่าน เข้าใจเนื้อหาสาระที่อ่านไปจนถึง ประเมินค่าเนื้อหาสาระที่อ่านได้ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยการอ่านเพ่ือหาข้อมูล ทาความเข้าใจเนื้อหาสาระของส่ิงท่ีอ่าน รวมท้ังประเมินส่ิงท่ีอ่านและนาเสนอมุมมองของตนเองเกี่ยวกับ สิ่งทีอ่ า่ น ผเู้ รยี นควรได้รบั สง่ เสริมการอ่านดังต่อไปนี้ 1. นักเรยี นควรได้รับการฝึกการอ่านข้อความแบบตอ่ เนื่อง จาแนกขอ้ ความแบบต่างๆ กัน เช่น การบอก การพรรณนา การโต้แย้ง รวมไปถึงการอ่านข้อเขียนท่ีไม่ใช่ข้อความต่อเน่ือง ได้แก่ การอ่านรายการ ตาราง แบบฟอร์ม กราฟ และแผนผัง เป็นต้น ซึ่งข้อความเหล่าน้ีเป็นส่ิงท่ีนักเรียนได้พบเห็นใน โรงเรียน และจะต้องใชใ้ นชีวิตจรงิ เมอื่ โตเปน็ ผู้ใหญ่ ซึ่งในคมู่ อื ครูเล่มน้ีต่อไปจะใชค้ าแทนข้อความทง้ั ท่ี เป็นข้อความแบบต่อเนอื่ งและขอ้ ความท่ีไมใ่ ช่ข้อความต่อเนื่องวา่ สิง่ ทอ่ี า่ น (Text) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ธ คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 2. นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถในการประเมินส่ิงท่ีอ่านว่ามีความเหมาะสมสอดคล้อง กับลักษณะของข้อเขียนมากน้อยเพียงใด เช่น ใช้นวนิยาย จดหมาย หรือชีวประวัติเพื่อประโยชน์ ส่วนตัว ใช้เอกสารราชการหรือประกาศแจ้งความเพื่อสาธารณประโยชน์ ใช้รายงานหรือคู่มือต่างๆ เพือ่ การทางานอาชพี ใชต้ าราหรือหนงั สอื เรียน เพอื่ การศึกษา เป็นตน้ 3. นักเรยี นควรได้รบั การฝกึ ฝนให้มสี มรรถนะการอ่านเพ่ือเรียนรู้ ในดา้ นต่าง ๆ ตอ่ ไปน้ี 3.1 ความสามารถทีจ่ ะค้นหาเนอ้ื หาสาระของส่งิ ที่อ่าน (Retrieving information) 3.2 ความสามารถท่ีจะเข้าใจเน้ือหาสาระของส่ิงท่ีอา่ น (Forming a broad understanding) 3.3 ความสามารถในการแปลความของสิ่งทอี่ ่าน (Interpretation) 3.4 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคดิ เห็นหรือโตแ้ ยง้ จากมมุ มองของตน เกยี่ วกบั เนอ่ื หาสาระของส่ิงท่ีอ่าน (Reflection and Evaluation the content of a text) 3.5 ความสามารถในการประเมนิ และสามารถสะท้อนความคิดเหน็ หรอื โต้แยง้ จากมุมมองของตน เก่ยี วกบั รปู แบบของสิ่งทีอ่ ่าน (Reflection and Evaluation the form of a text) ท้งั น้ี สสวท. ขอเสนอแนะวธิ ีการสอนแบบต่าง ๆ เพอ่ื เปน็ การฝกึ ทกั ษะการอา่ นของนกั เรียน ดงั นี้  เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ฝึกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากการอ่าน ด้วยตนเอง โดยให้นักเรียนคาดคะเนเน้ือหาหรือคาตอบล่วงหน้าจากประสบการณ์เดิมของนักเรียน โดยมี ขน้ั ตอนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. ครจู ัดแบง่ เนอ้ื เร่อื งทีจ่ ะอา่ นออกเป็นสว่ นยอ่ ย และวางแผนการสอนอา่ นของเน้ือเรือ่ งท้ังหมด 2. นาเข้าสู่บทเรียนโดยชักชวนใหน้ ักเรียนคิดวา่ นักเรียนรู้อะไรเกย่ี วกับเรือ่ งที่จะอา่ นบ้าง 3. ครูใหน้ กั เรียนสงั เกตรูปภาพ หวั ข้อ หรอื อน่ื ๆ ท่เี ก่ียวกบั เนอ้ื หาท่จี ะเรยี น 4. ครูต้ังคาถามให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเร่ืองท่ีกาลังจะอ่าน ซึ่งอาจให้นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน เกี่ยวกบั อะไร โดยครพู ยายามกระตุ้นให้นกั เรยี นได้แสดงความคิดเหน็ หรือคาดคะเนเนื้อหา 5. ครูอาจให้นักเรียนเขียนสิ่งท่ีตนเองคาดคะเนไว้ โดยจะทาเป็นรายคนหรือเป็นคู่ก็ได้ หรือครูนา อภิปรายแลว้ เขียนแนวคิดของนักเรยี นแต่ละคนไวบ้ นกระดาน 6. นักเรียนอ่านเน้ือเรื่อง จากน้ันประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายว่าการคาดคะเนของตนเอง ตรงกับเนื้อเรื่องท่ีอ่านหรือไม่ ถ้านักเรียนประเมินว่าเรื่องท่ีอ่านมีเน้ือหาตรงกับท่ีคาดคะเนไว้ให้ นักเรยี นแสดงขอ้ ความท่ีสนบั สนุนการคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเร่ือง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยครูวิเคราะห์ว่านักเรียนแต่ละคนสามารถใช้การคาดคะเนด้วย ตนเองอยา่ งไรบ้าง 8. ทาซ้าข้ันตอนเดิมในการอ่านเน้ือเร่ืองส่วนอ่ืน ๆ เม่ือจบท้ังเรื่องแล้ว ครูปิดเร่ืองโดยการทบทวน เน้ือหาและอภิปรายถงึ วิธีการคาดคะเนของนักเรยี นที่ควรใชส้ าหรับการอ่านเรื่องอื่น ๆ  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 น  เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learn) การสอนอ่านท่ีมุ่งเน้นให้นักเรียนได้เช่ือมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่อย่างเป็นรูปธรรม และเป็นระบบ โดยผ่านตาราง 3 ชอ่ ง คือ K-W-L (นกั เรยี นรู้อะไรบ้างเกยี่ วกับเร่ืองที่จะอา่ น นักเรียนตอ้ งการรู้ อะไรเก่ียวกับเรอื่ งท่ีจะอา่ น นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากเรื่องที่อ่าน) โดยมีข้นั ตอนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการใช้คาถาม การนาด้วยรูปภาพหรือ วีดิทัศนท์ ่ีเกี่ยวกับเนือ้ เร่ือง เพอื่ เชอ่ื มโยงเข้าส่เู รอ่ื งทจี่ ะอา่ น 2. ครูทาตารางแสดง K-W-L และอธิบายข้ันตอนการทากิจกรรมโดยใช้เทคนิค K-W-L ว่ามีขั้นตอน ดังนี้ ขั้นท่ี 1 กิจกรรมก่อนการอ่าน เรียกว่า ขั้น K มาจาก know (What we know) เป็นข้ันตอนท่ีให้ นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะอ่าน แล้วบันทึกส่ิงท่ีตนเองรู้ลงใน ตารางช่อง K ข้ันตอนนี้ช่วยให้นักเรียนรู้ว่าตนเองรู้อะไรแล้วต้องอ่านอะไร โดยครูพยายาม ตัง้ คาถามกระตุ้นใหน้ กั เรียนไดแ้ สดงความคดิ เหน็ ขัน้ ท่ี 2 กิจกรรมระหว่างการอ่าน เรียกว่า ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เป็น ข้ันตอนที่ให้นักเรียนต้ังคาถามเก่ียวกับส่ิงท่ีต้องการรู้เกี่ยวกับเรื่องที่กาลังจะอ่าน โดยครูและ นักเรยี นรว่ มกันกาหนดคาถาม แลว้ บนั ทกึ สิ่งที่ตอ้ งการรู้ลงในตารางช่อง W ข้นั ท่ี 3 กิจกรรมหลังการอ่าน เรียกว่า ขั้น L มาจาก learn (What we have learned) เป็น ขั้นตอนท่ีสารวจว่าตนเองได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการอ่าน โดยหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง นักเรียน หาข้อความมาตอบคาถามที่กาหนดไว้ในตารางช่อง W จากน้ันนาข้อมูลที่ได้จากการอ่านมา จัดลาดับความสาคญั ของข้อมลู และสรุปเน้ือหาสาคัญลงในตารางช่อง L 3. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปเนอ้ื หา โดยการอภิปรายหรือตรวจสอบคาตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนักเรียนอาจรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกบั การใช้ตาราง K-W-L มาช่วยในการเรยี นการสอนการอ่าน  เทคนคิ การสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความเข้าใจในการจัดหมวดหมู่ของคาถามและตั้งคาถาม เพ่ือให้ได้มา ซึ่งแนวทางในการหาคาตอบ ซ่ึงนักเรียนจะได้พิจารณาจากข้อมูลในเน้ือเร่ืองท่ีจะเรียนและประสบการณ์เดิม ของนักเรยี น โดยมีขน้ั ตอนการจดั การเรียนการสอน ดงั นี้ 1. ครูจัดทาชุดคาถามตามแบบ QAR จากเร่ืองที่นักเรียนควรรู้หรือเร่ืองใกล้ตัวนักเรียน เพื่อช่วยให้ นักเรยี นเข้าใจถึงการจัดหมวดหมู่ของคาถามตามแบบ QAR และควรเชอ่ื มโยงกับเรื่องทีจ่ ะอา่ นต่อไป 2. ครูแนะนาและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนเกี่ยวกับการอ่านและการต้ังคาถาม ตามหมวดหมู่ ได้แก่ คาถามท่ีตอบโดยใช้เนื้อหาจากเรื่องท่ีอ่าน คาถามที่ต้องคิดและค้นคว้า คาถามที่ ไม่มคี าตอบโดยตรง ซึง่ จะต้องใชค้ วามรู้เดิมและสิ่งท่ีผูเ้ ขียนเขยี นไว้ 3. นกั เรยี นอา่ นเนอ้ื เรื่อง ตั้งคาถามและตอบคาถามตามหมวดหมู่ และรว่ มกนั อภิปรายเพ่ือสรปุ คาตอบ 4. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเกย่ี วกบั การใชเ้ ทคนิคน้ดี ้วยตนเองไดอ้ ยา่ งไร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

บ คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 2. การใช้งานส่อื QR CODE QR CODE เป็นรหัสหรือภาษาที่ต้องใช้โปรแกรมอ่านหรือสแกนข้อมูลออกมา ซึ่งต้องใช้งานผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนท่ีหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีติดตั้งกล้องไว้ แล้วอ่าน QR Code ผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น LINE (สาหรับโทรศัพท์เคล่ือนที่) Code Two QR Code Reader (สาหรับคอมพิวเตอร์) Camera (สาหรับ ผลิตภัณฑ์ของ Apple Inc.) ขัน้ ตอนการใช้งาน 1. เปดิ โปรแกรมสาหรบั อ่าน QR Code 2. เล่อื นอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ แท็บเล็ต เพอ่ื ส่องรปู QR Code ได้ทง้ั รูป 3. เปิดไฟล์หรือลงิ ก์ท่ีขึน้ มาหลังจากโปรแกรมได้อ่าน QR CODE **หมายเหตุ อปุ กรณท์ ่ใี ช้อา่ น QR CODE ต้องเปดิ Internet ไวเ้ พอ่ื ดึงข้อมูล 3. การใช้งานโปรแกรมประยุกต์ความจริงเสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มติ ิ) เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพ่ือเป็นส่ือเสริมช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหา สาระของบทเรียนอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยใช้งานผ่านโปรแกรมประยกุ ต์ “AR วิทย์ ประถม” ซึ่งสามารถ ดาวนโ์ หลดไดท้ าง Play Store หรอื App Store **หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ เพื่อการใช้งานที่ดีควรมีพ้ืนที่ว่างในเครื่องไม่ต่ากว่า 2 GB หากพื้นท่จี ดั เกบ็ ไม่เพยี งพออาจตอ้ งลบข้อมูลบางอยา่ งออกก่อนติดต้งั โปรแกรม ขนั้ ตอนการตดิ ตั้งโปรแกรม 1. เข้าไปท่ี Play Store ( ) หรอื App Store ( ) 2. ค้นหาคาว่า “AR สสวท. วิทย์ประถม” 3. กดเข้าไปทีโ่ ปรแกรมประยุกตท์ ี่ สสวท. พัฒนา 4. กด “ตดิ ตง้ั ” และรอจนติดตงั้ เรยี บร้อย 5. เข้าสู่โปรแกรมจะปรากฏหน้าแรก จากน้ันกด “วิธีการใช้งาน” เพ่ือศึกษาการใช้งานโปรแกรม เบ้ืองต้นด้วยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวิธกี ารใชง้ านดว้ ยตนเองแลว้ กด “สแกน AR” 7. กดดาวนโ์ หลดท่ีระดับช้นั ป. 6 7. เปิดหน้าหนังสือเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ีมีสัญลักษณ์ AR แล้วส่องรูปที่อยู่บริเวณสัญลักษณ์ AR โดยมีระยะห่างประมาณ 10 เซนตเิ มตร และเลอื กดูภาพในมมุ มองต่าง ๆ ตามความสนใจ  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ป การจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศกึ ษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแล้วมีความอยากรู้อยากเห็น เก่ยี วกับสง่ิ ต่างๆ รอบตวั และเรียนรู้ไดด้ ที ส่ี ุดดว้ ยการค้นพบ จากการลงมือปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสท้ังห้า ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนต้น จึงควรให้โอกาสนักเรียนมีส่วนร่วม ในการลงมือปฏิบัติ การสารวจตรวจสอบ การคน้ พบ การตัง้ คาถามเพื่อนาไปสูก่ ารอภิปราย การแลกเปล่ียนผล การทดลองด้วยคาพูด หรอื ภาพวาด การอภปิ รายเพ่ือสรปุ ผลร่วมกนั สาหรบั นักเรียนในระดับชนั้ ประถมศกึ ษา ตอนปลาย (ป.4-ป.6) มีพัฒนาการทางสติปัญญาจากขั้นการคิดแบบรูปธรรมไปสู่ข้ันการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในส่ิงต่าง ๆ รอบตัว และสนใจว่าสิ่งต่าง ๆ ถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างไร และทางานอย่างไร นักเรียนในช่วงวัยนี้ต้องการโอกาสท่ีจะมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมกลุ่มโดยการทางานแบบร่วมมือ ดังนั้นจึง ควรส่งเสริมให้นักเรียนทาโครงงานวิทยาศาสตร์ร่วมกันซึ่งจะเป็นการสร้างความสามัคคี และประสานสัมพันธ์ ระหว่างนกั เรียนในระดบั นีด้ ้วย การจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ การสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ หมายถึงวิธีการท่ีนกั วิทยาศาสตร์ใช้เพื่อศึกษาสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอย่าง เป็นระบบ และเสนอคาอธิบายเกี่ยวกับสิ่งท่ีศึกษาด้วยข้อมูลที่ได้จากการทางานทางวิทยาศาสตร์ มีวิธีการอยู่ หลากหลาย เชน่ การสารวจ การสืบค้น การทดลอง การสร้างแบบจาลอง นักเรียนทุกระดับชั้นควรได้รับโอกาสในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาความสามารถ ในการคิดและแสดงออกด้วยวิธีการที่เช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรู้ซ่ึงรวมท้ังการตั้งคาถาม การวางแผนและ ดาเนินการสืบเสาะหาความรู้ การใช้เคร่ืองมือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการรวบรวมข้อมูล การคิดอย่างมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพยานหลักฐานและการอธิบาย การสร้างและวิเคราะห์ คาอธิบายทหี่ ลากหลาย และการสอ่ื สารขอ้ โตแ้ ย้งทางวทิ ยาศาสตร์ การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการสืบเสาะหาความรู้ ควรมีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบมีความต่อเนื่องกัน จากทเี่ น้นครเู ปน็ สาคัญไปจนถึงเนน้ นกั เรยี นเปน็ สาคัญ โดยแบง่ ไดด้ งั น้ี  การสืบเสาะหาความรู้แบบครูเป็นผู้กาหนดแนวทาง (Structured Inquiry) ครูเป็นผู้ต้ังคาถามและบอก วิธีการใหน้ ักเรียนค้นหาคาตอบ ครูชี้แนะนักเรยี นทกุ ขนั้ ตอนโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้แบบท้ังครูและนักเรียนเป็นผู้กาหนดแนวทาง (Guided Inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคาถาม และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจตรวจสอบให้กับนักเรียน นักเรียนจะเป็นผู้ออกแบบการทดลอง ดว้ ยตวั เอง  การสืบเสาะหาความรู้แบบนักเรียนเป็นผู้กาหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทากิจกรรมตามท่ีครู กาหนด นักเรยี นพัฒนาวิธี ดาเนินการสารวจ ตรวจสอบจากคาถามที่ครูต้ังข้ึน นักเรียนต้ังคาถามในหัวข้อท่ี ครูเลอื ก พรอ้ มท้ังออกแบบการสารวจตรวจสอบดว้ ยตนเอง สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ผ คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในหอ้ งเรียน เราสามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนโดยจัดโอกาสให้ นักเรียนได้สืบเสาะหาความรู้ ทางวทิ ยาศาสตร์ตามท่ีหลักสูตรกาหนด ดว้ ยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวทิ ยาศาสตร์สืบเสาะ แต่อาจมี รปู แบบท่ีหลากหลายตามบรบิ ทและความพร้อมของครูและนักเรียน เช่น การสืบเสาะหาความร้แู บบปลายเปิด (Opened Inquiry) ท่ีนักเรียนเป็นผู้ควบคุมการสืบเสาะหาความรู้ของตนเองตั้งแต่การสร้างประเด็นคาถาม การสารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายสิ่งที่ศึกษาโดยใช้ข้อมูล (Data) หรือหลักฐาน (Evidence) ที่ได้จากการสารวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรู้ท่ีเกี่ยวข้องหรือคาอธิบายอ่ืนเพ่ือปรับปรุง คาอธิบายของตนและนาเสนอต่อผู้อ่ืน นอกจากน้ี ครูอาจใช้การสืบเสาะหาความรู้ท่ีตนเองเป็นผู้กาหนดแนว ในการทากิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครูสามารถแนะนานกั เรยี นได้ตามความเหมาะสม การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ครูสามารถออกแบบการสอนให้มีลักษณะ สาคัญของการสบื เสาะ ดงั น้ี ภาพ วัฏจกั รการสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ฝ การจัดการเรียนการสอนท่สี อดคลอ้ งกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์ที่มีความแตกต่างจากศาสตร์อื่น ๆ เป็นค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด หรือคาอธิบายท่ีบอกว่า วิทยาศาสตร์คืออะไร มีการทางานอย่างไร นักวิทยาศาสตร์คือใคร ทางานอย่างไร และงานด้านวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างไรกับสังคม ค่านิยม ขอ้ สรุป แนวคิด หรือคาอธิบายเหลา่ น้ีจะผสมกลมกลืนอยู่ในตัววิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ และการ พัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขึ้นอยู่กับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนัก เรียนและ ประสบการณ์ที่ครูจัดให้แกน่ ักเรยี น ความสามารถในการสังเกตและการส่ือความหมายของนกั เรียนในระดับน้ี ค่อย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และแนวคิด ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนในระดับนี้เริ่มที่จะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร วิทยาศาสตร์ทางาน อย่างไร และนักวิทยาศาสตร์ทางานกันอย่างไรโดยผ่านการทากิจกรรมในห้องเรียน จากเรื่องราวเกี่ยวกับ นักวิทยาศาสตร์ และจากการอภิปรายในหอ้ งเรยี น นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกาลังพัฒนาฐานความรู้โดยใช้การสังเกตมากขน้ึ สามารถ นาความรู้มาใช้เพื่อกอ่ ให้เกดิ ความคาดหวังเกีย่ วกับส่ิงต่าง ๆ รอบตัว โอกาสการเรยี นร้สู าหรบั นกั เรยี นในระดบั นี้ ควรเน้นไปท่ีทักษะการตั้งคาถามเชิงวิทยาศาสตร์ การสร้างคาอธิบายท่ีมีเหตุผลโดยอาศัยพยานหลักฐานที่ ปรากฏ และการส่ือความหมายเก่ียวกับความคิดและการสารวจตรวจสอบของตนเองและของนักเรียนคนอื่นๆ นอกจากนี้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์สามารถเพ่ิมความตระหนักถึงความหลากหลายของคนในชุมชน วิทยาศาสตร์ นักเรียนในระดับน้ีควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมท่ีช่วยให้เขาคิดอย่างมีวิจารณญาณเก่ียวกับ พยานหลกั ฐานและความสัมพันธร์ ะหว่างพยานหลักฐานกับการอธิบาย การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ของนกั เรียนแต่ละระดบั ช้นั มีพฒั นาการเปน็ ลาดบั ดังน้ี ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สามารถ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 สามารถ  ต้งั คาถาม บรรยายคาถาม เขียนเกี่ยวกับ  ออกแบบและดาเนินการสารวจตรวจสอบ คาถาม เพ่ือตอบคาถามท่ีได้ต้ังไว้  บนั ทึกข้อมูลจากประสบการณ์ สารวจ  สือ่ ความหมายความคิดของเขาจากส่ิงท่ี ตรวจสอบชัน้ เรยี น สงั เกต  อภปิ รายแลกเปลยี่ นหลกั ฐานและความคดิ  อ่านและการอภปิ รายเรือ่ งราวต่าง ๆ  เรยี นรวู้ ่าทุกคนสามาเรียนรวู้ ิทยาศาสตรไ์ ด้ เกย่ี วกับวิทยาศาสตร์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

พ คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สามารถ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 สามารถ  ทาการทดลองอย่างง่าย ๆ  ตง้ั คาถามทสี่ ามารถตอบไดโ้ ดยการใช้  ให้เหตุผลเกยี่ วกับการสงั เกต การสอื่ ฐานความรทู้ างวิทยาศาสตร์และการสงั เกต ความหมาย  ทางานในกล่มุ แบบรว่ มมือเพื่อสารวจ  ลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารทดลองและการอภปิ ราย ตรวจสอบ  คน้ หาแหล่งข้อมูลท่เี ช่ือถือได้และบรู ณาการ  ค้นหาข้อมูลและการสอื่ ความหมายคาตอบ ข้อมลู เหลา่ น้ันกับการสงั เกตของตนเอง  ศึกษาประวตั ิการทางานของ  สรา้ งคาบรรยายและคาอธิบายจากสิง่ ท่ี สังเกต นกั วิทยาศาสตร์  นาเสนอประวัติการทางานของ นกั วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 สามารถ  สารวจตรอบสอบ  สารวจตรอบสอบท่เี นน้ การใช้ทกั ษะทาง วิทยาศาสตร์  ตงั้ คาถามทางวิทยาศาสตร์  รวบรวมขอ้ มลู ท่เี ก่ยี วข้อง การมองหา  ตคี วามหมายข้อมูลและคดิ อย่างมี แบบแผนของข้อมลู การสื่อความหมาย วิจารณญาณโดยมีหลักฐานสนับสนุน และการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ คาอธิบาย  เข้าใจความแตกต่างระหว่างวิทยาศาสตร์  เขา้ ใจธรรมชาติวิทยาศาสตรจ์ ากประวัตกิ าร และเทคโนโลยี ทางานของนกั วิทยาศาสตรท์ ี่มีความมานะ อตุ สาหะ  เขา้ ใจการทางานทางวิทยาศาสตร์ผา่ น ประวัติศาสตรข์ องนักวทิ ยาศาสตรท์ ุกเพศ ที่มหี ลายเช้ือชาติ วัฒนธรรม สามารถอ่านขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ เก่ียวกับการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ และการจัดการเรยี นรู้ทสี่ อดคล้องกับธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากคู่มอื การใช้หลกั สูตร http://ipst.me/8922  สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ฟ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ แนวคดิ สาคัญของการปฏริ ูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 และ ท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเปิด โอกาสให้นักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน ห้องเรียน เพราะสามารถทาให้ครปู ระเมนิ ระดับพัฒนาการการเรยี นรขู้ องนักเรยี นได้ กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสารวจภาคสนาม กิจกรรมการสารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาค้นคว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ ตามในการทากิจกรรมเหล่านี้ต้องคานึงว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน นักเรียนจึงอาจทางาน ช้นิ เดยี วกันได้สาเรจ็ ในเวลาที่แตกต่างกัน และผลงานท่ีได้กอ็ าจแตกต่างกันด้วย เมอื่ นักเรยี นทากิจกรรมเหล่าน้ี แล้วก็ต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่าง ๆ เจตคติทาง วทิ ยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่นักเรียนได้ทาและผลงานเหล่านี้ต้องใช้ วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพ่ือช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สึก นกึ คิดทแ่ี ท้จริงของนกั เรียนได้ การวัดผลและประเมนิ ผลจะมปี ระสทิ ธภิ าพก็ต่อเมอื่ มีการประเมินหลาย ๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับชีวติ จริง และต้องประเมินอย่างตอ่ เนื่อง เพือ่ จะได้ข้อมูลที่ มากพอท่ีจะสะท้อนความสามารถท่แี ทจ้ รงิ ของนกั เรยี นได้ จุดมุง่ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมนิ ผล 1. เพื่อค้นหาและวินิจฉัยว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาวิทยาศาสตร์ มีทักษะความชานาญใน การสารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างไรและในระดับใด เพ่ือเป็น แนวทางให้ครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งเหมาะสมเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้ อยา่ งเตม็ ศักยภาพ 2. เพือ่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลยอ้ นกลบั สาหรับนักเรยี นว่ามกี ารเรียนร้อู ยา่ งไร 3. เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียน แต่ละคน การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือค้นหาและวินิจฉัย การประเมิน เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน และการประเมินเพ่อื ตดั สินผลการเรียนการสอน การประเมนิ เพ่ือค้นหาและวินิจฉัย เป็นการประเมินเพ่ือบ่งช้กี ่อนการเรียนการสอนว่า นักเรียนมีพ้ืน ฐานความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคล่ือนอะไรบ้าง การประเมินแบบน้ีสามารถบ่งช้ี ได้ว่านักเรียนคนใดต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษในเรื่องที่ขาดหายไป หรือเป็นการประเมินเพื่อพัฒนา ทักษะท่ีจาเป็นก่อนท่ีจะเรียนเร่ืองต่อไป การประเมินแบบน้ียังช่วยบ่งชี้ทักษะหรือแนวคิดท่ีมีอยู่แล้วของ นกั เรียนอกี ดว้ ย การประเมินเพอื่ ปรับปรงุ การเรียนการสอน เปน็ การประเมินในระหว่างชว่ งท่ีมีการเรยี นการสอน การ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ภ คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ประเมินแบบนี้จะช่วยบ่งชี้ระดับท่ีนักเรียนกาลังเรียนอยู่ในเรื่องท่ีได้สอนไปแล้ว หรือบ่งชี้ความรู้ของนักเรียนตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีได้วางแผนไว้ เป็นการประเมินท่ีให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนและกับครูว่าเป็นไปตาม แผนการที่วางไวห้ รอื ไม่ ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการประเมินแบบนไ้ี มใ่ ชเ่ พ่อื เป้าประสงค์ในการให้ระดับคะแนน แตเ่ พอ่ื ช่วยครู ในการปรบั ปรุงการสอน และเพือ่ วางแผนประสบการณ์ตา่ งๆ ทจ่ี ะใหก้ ับนกั เรยี นต่อไป การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน เกิดข้ึนเมื่อส้ินสุดการเรียนการสอนแล้ว ส่วนมากเป็น “การสอบ” เพื่อให้ระดับคะแนนแก่นักเรียน หรือเพ่ือให้ตาแหน่งความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเป็นการบ่งช้ี ความก้าวหน้าในการเรียน การประเมินแบบนี้ถือว่ามีความสาคัญในความคิดของผู้ปกครองนักเรียน ครู ผู้บริหาร อาจารย์แนะแนว ฯลฯ แต่ก็ไม่ใช่เป็นการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรียน ครูต้องระมัดระวัง เม่ือประเมินผลรวมเพื่อตัดสินผลการเรียนของนักเรียน ท้ังนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล ความยุติธรรม และเกิดความ เทยี่ งตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอ้างอิง ส่วนมากการประเมินมักจะ อ้างอิงกลุ่ม (norm reference) คือเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่มหรือ คะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ การประเมินแบบกลุ่มน้ีจะมี “ผู้ชนะ” และ “ผู้แพ้” อย่างไรก็ตามการประเมินแบบ อิงกลุ่มน้ีจะมีนักเรียนครึ่งหน่ึงที่อยู่ต่ากว่าระดับคะแนนเฉล่ียของกลุ่ม นอกจากน้ียังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ์ (criterion reference) ซ่ึงเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑ์ท่ีต้ังเอาไว้โดยไม่คานึงถึง คะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ ฉะน้ันจุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนจะต้องชัดเจนและมีเกณฑ์ที่บอกให้ทราบว่า ความสามารถระดับใดจึงจะเรียกว่าบรรลุถึงระดับ “รอบรู้” โดยท่ีนักเรียนแต่ละคน หรือช้ันเรียนแต่ละชั้น หรือ โรงเรียนแต่ละโรงจะได้รับการตัดสินว่าประสบผลสาเร็จก็ต่อเม่ือ นักเรียนแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละชั้น หรือ โรงเรียนแต่ละโรงได้สาธิตผลสาเร็จ หรือสาธิตความรอบรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตามเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ ข้อมูล ท่ีใช้สาหรับการประเมินเพื่อวินิจฉัย หรือเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน สามารถใช้การประเมินแบบอิงกลุ่มหรืออิงเกณฑ์ เท่าท่ีผ่านมาการประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอนจะใช้ การประเมินแบบอิงกลมุ่ แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้ การเรียนรจู้ ะบรรลุตามเป้าหมายของการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่วี างไว้ ควรมแี นวทางดังตอ่ ไปนี้ 1. วัดและประเมินผลท้ังความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มดา้ นวทิ ยาศาสตร์ รวมทงั้ โอกาสในการเรยี นรู้ของนกั เรียน 2. วธิ กี ารวัดและประเมินผลต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ีกาหนดไว้ 3. เกบ็ ขอ้ มูลจากการวดั และประเมินผลอย่างตรงไปตรงมา และต้องประเมินผลภายใต้ข้อมลู ทม่ี ีอยู่ 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนต้องนาไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุปท่ี สมเหตสุ มผล 5. การวัดและประเมนิ ผลต้องมคี วามเทย่ี งตรงและเปน็ ธรรม ทัง้ ในด้านของวธิ ีการวดั และโอกาสของการประเมิน  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ม วิธีการและแหล่งข้อมลู ทีใ่ ชใ้ นการวดั ผลและประเมินผล เพ่อื ให้การวดั ผลและประเมนิ ผลได้สะท้อนความสามารถท่ีแท้จรงิ ของนักเรียน ผลการประเมนิ อาจ ไดม้ าจากแหล่งข้อมูลและวิธกี ารต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. สังเกตการแสดงออกเป็นรายบคุ คลหรอื รายกลุ่ม 2. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน 3. การสมั ภาษณ์ท้ังแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ 4. บันทึกของนักเรียน 5. การประชุมปรกึ ษาหารือรว่ มกนั ระหวา่ งนักเรียนและครู 6. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏบิ ัติ 7. การวดั และประเมนิ ผลด้านความสามารถ 8. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้โดยใช้แฟม้ ผลงาน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ย คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ตารางแสดงความสอดคลอ้ งระหว่างเนือ้ หาและกจิ กรรม ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เลม่ 1 กบั ตวั ชี้วดั กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนว่ ยการ ช่อื กจิ กรรม เวลา ตัวชว้ี ัด เรยี นรู้ (ชว่ั โมง) บทที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร หนว่ ยที่ 1 เร่อื งท่ี 1 สารอาหาร 1 ว 1.2 ป.6/1 อาหารและ การยอ่ ย กจิ กรรมท่ี 1 ในแต่ละวันเรา 1 ระบุ สารอาห ารและบ อ ก อาหาร รบั ประทานอาหารเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร 5 ประโยชน์ของสารอาหารแต่ เรอ่ื งท่ี 2 ระบบย่อยอาหาร กิจกรรมท่ี 2 อวัยวะในระบบยอ่ ย ละป ระเภ ท จาก อ าห ารท่ี อาหารมลี ักษณะและหน้าที่อย่างไร กจิ กรรมท้ายบทที่ 1 สารอาหารและระบบย่อย ตนเองรับประทาน อาหาร 1 ว 1.2 ป.6/2 3 บอกแนวทางในการเลือก รับ ป ระท าน อ าห ารให้ ได้ 1 สารอาหารครบถ้วนในสัดสว่ น ท่ี เห ม า ะ ส ม กั บ เพ ศ แ ล ะ วั ย ร ว ม ทั้ ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ต่ อ สุขภาพ ว 1.2 ป.6/3 ตระหนักถึงความสาคัญของ สารอาหาร โดยการเลือก รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ท่ี มี สารอาหารครบถ้วนในสัดสว่ น ท่ี เห ม า ะ ส ม กั บ เพ ศ แ ล ะ วั ย รวมทง้ั ปลอดภยั ต่อสุขภาพ ว 1.2 ป.6/4 สร้างแบบจาลองระบบย่อย อาหาร และบรรยายหน้าท่ี ของอ วัยวะใน ระบ บ ย่อ ย อาหาร รวมท้ังอธิบายการ ย่ อ ย อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ดู ด ซึ ม สารอาหาร  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ร หนว่ ยการ ชอื่ กจิ กรรม เวลา ตวั ช้ีวดั เรยี นรู้ (ชวั่ โมง) หน่วยท่ี 2 ว 1.2 ป.6/5 การแยกสาร เนอ้ื ผสม ตระหนักถึงความสาคัญของ หนว่ ยที่ 3 ระบบย่อยอาหาร โดยการ หนิ และซาก ดกึ ดาบรรพ์ บ อกแน วท างใน การดู แล รั ก ษ า อ วั ย ว ะ ใ น ร ะ บ บ ย่ อ ย อาหารให้ทางานเปน็ ปกติ บทท่ี 1 การแยกสารเน้อื ผสมอย่างงา่ ย 1 ว 2.1 ป.6/1 เรอ่ื งที่ 1 วธิ กี ารแยกสารเนื้อผสมอา่ งง่าย 1 อธิบายและเปรียบเทียบการ กจิ กรรมที่ 1.1 แยกของแขง็ ในสารเนอื้ 2 แยกสารผสมโดยการหยิบออก ผสมออกจากกันได้อยา่ งไร การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด กิจกรรมท่ี 1.2 แยกของแข็งกับ 2 การรินออก การกรอง และการ ของเหลวในสารเนื้อผสมออกจากกนั ได้ ตกตะกอน โดยใช้หลักฐาน อยา่ งไร เชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธี กจิ กรรมท่ี 1.3 แยกสารแมเ่ หลก็ ใน 2 แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน สารเนอ้ื ผสมได้อยา่ งไร เก่ียวกับการแยกสาร กจิ กรรมที่ 1.4 ใชป้ ระโยชนจ์ ากการ 1 แยกสารเนือ้ ผสมอยา่ งง่ายได้อย่างไร กจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 การแยกสารเนื้อผสมอยา่ งง่าย 2 บทที่ 1 หิน วัฏจักรหิน และซากดึกดาบรรพ์ 1 ว 3.2 ป.6/1 เร่อื งท่ี 1 กระบวนการเกิดหิน วฏั จกั รหิน และ 1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิด การนาหินและแรไ่ ปใช้ประโยชน์ หินอัคนี หินตะกอน และ กิจกรรมท่ี 1.1 องคป์ ระกอบของหนิ 2 หินแปรและ อธิบายวัฏจักร มีอะไรบา้ ง หนิ จากแบบจาลอง กจิ กรรมที่ 1.2 กระบวนการเกิดหนิ 4 ว 3.2 ป.6/2 และวฏั จักรหนิ เปน็ อยา่ งไร บรรยายและยกตัวอย่างการ กิจกรรมท่ี 1.3 หินและแรม่ ปี ระโยชน์ 2 ใช้ประโยชน์ของหินและแร่ใน อย่างไรบ้าง ชีวิตประจาวันจากข้อมูลที่ เรื่องที่ 2 การเกิดซากดึกดาบรรพ์ และ 1 รวบรวมได้ การนาไปใช้ประโยชน์ ว 3.2 ป.6/3 กิจกรรมท่ี 2.1 ซากดึกดาบรรพ์เกดิ ขึ้น 2 สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการ ได้อยา่ งไร เกิดซ ากดึ กดาบ รรพ์ แล ะ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ล คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 หนว่ ยการ ชือ่ กิจกรรม เวลา ตวั ช้วี ดั เรียนรู้ (ชั่วโมง) กิจกรรมที่ 2.2 ซากดกึ ดาบรรพ์ คาดคะเนสภาพแวดล้อมใน มปี ระโยชน์อย่างไร 1 อดีตของซากดึกดาบรรพ์ กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 หิน วฏั จักรหนิ และ ซากดกึ ดาบรรพ์ 1 แบบทดสอบท้ายเล่ม รวมจานวนชั่วโมง 2- 40 หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาทีใ่ ช้ และสิง่ ทีต่ ้องเตรียมลว่ งหน้านน้ั ครสู ามารถปรบั เปลี่ยนเพ่ิมเตมิ ไดต้ ามความ เหมาะสมของสภาพท้องถิ่น  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ว รายการวัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 ลาดับที่ รายการ จานวน/กลมุ่ จานวน/หอ้ ง จานวน/คน 1 คัน หน่วยท่ี 1 อาหารและการย่อยอาหาร 1 ตารางชนดิ ของอาหาร ปริมาณพลังงานและสัดส่วนของ 1 ชุด อาหารตามธงโภชนาการ 2 ข้าวสกุ 1 จาน 3 กระจก 1 บาน 4 สีไม้ 1 กล่อง 5 ชอ้ น 6 การ์ตูนเรือ่ งลีมอนผจญภยั 1 ฉบับ หนว่ ยที่ 2 การแยกสารเนือ้ ผสม 1 ข้าวเปลือก 5 กรมั 2 ครกและสาก 1 ชุด 3 ถาด 1 ใบ 4 กระด้ง 1 ใบ 5 ตะแกรง 1 อัน 6 น้าปูน 300 cm3 7 ผ้าขาวบาง 1 ผนื 8 กระดาษกรอง 1 แผ่น 9 แทง่ แกว้ คน 1 อัน 10 กรวยกรอง 1 อนั 11 แกว้ พลาสตกิ ใส 6 ใบ 12 ชอ้ นพลาสตกิ 1 คัน 13 ชดุ ขาตัง้ 1 ชุด 14 ไม้หนีบ 1 อนั 15 เมลด็ ข้าวเปลือกท่ีมผี งเหล็กปน 10 กรมั 16 จาน หรอื แก้วกระดาษ หรือแกว้ พลาสติก 1 ใบ 17 ผ้าขาวบาง 1 ผืน 18 แท่งแม่เหล็ก 1 แท่ง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ศ คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ลาดับท่ี รายการ จานวน/กล่มุ จานวน/ห้อง จานวน/คน สีละ 1 ขวด 19 ไม้จิ้มฟัน 1 อัน 1 เครอื่ ง หนว่ ยท่ี 3 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ 1 ชดุ ตัวอย่างหิน 3 ประเภท ไดแ้ ก่ หินอัคนี หินตะกอน 1 ชุด หนิ แปร 2 แวน่ ขยาย 2-3 อนั 3 ชดุ เกม Rocks & Minerals 1 ชดุ 4 ชดุ เกม Rocks Dominoes 1 ชุด 5 กรรไกร 1-2 เลม่ 6 ทรายละเอียด 50 กรมั 7 ปนู ปลาสเตอร์ 250 กรัม 8 ดินน้ามันหรอื ดินเหนยี ว 2-3 ก้อนใหญ่ 9 สีผสมอาหารแบบน้า จานวน 2 สี 10 ชอ้ นพลาสติกหรือไมส้ าหรับคนสารผสม 1 คนั 11 หลอดหยด 1 อัน 12 พกู่ ันหรือแปรงขนาดเลก็ 1 ดา้ ม 13 ภาชนะสาหรบั ผสม 1 ใบ 14 บีกเกอรข์ นาด 150 cm3 1 ใบ 15 เปลอื กหอย 2-3 อัน 16 ไดโนเสาร์พลาสตกิ 1 ตวั 17 ไมไ้ อศกรมี 1 อัน 18 กลอ่ งนมขนาด 300 cm3 1 ใบ 19 นา้ 190 cm3 20 เคร่ืองชัง่  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 1 อาหารและการย่อยอาหาร1 ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 อาหารและการยอ่ ยอาหาร ภาพรวมการจดั การเรยี นร้ปู ระจาหนว่ ยท่ี 1 อาหารและการย่อยอาหาร บท เรือ่ ง กจิ กรรม ลาดับแนวคดิ ต่อเน่ือง ตัวชว้ี ดั บทที่ 1 สารอาหาร เรื่องที่ 1 สารอาหาร กิจกรรมท่ี 1 ในแต่ละ  อ า ห า ร ที่ เ ร า รั บ ป ร ะ ท า น มี ว 1.2 ป. 6/1 และระบบย่อย อาหาร วันเรารับประทาน ส า ร อ า ห า ร ซ่ึ ง เ ป็ น ส า ร ท่ี มี ระบุสารอาหารและ บอก อ า ห า ร เ ห ม า ะ ส ม ประโยชน์ต่อร่างกาย แบ่งได้เป็น ประโยชน์ของสารอาหาร หรือไม่ อยา่ งไร 6 ป ร ะ เ ภ ท ไ ด้ แ ก่ โ ป ร ตี น แต่ละประเภทจากอาหาร คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน ทต่ี นเองรับประทาน เกลือแร่ และน้า  อาหารแต่ละอย่างมีประเภทและ ว 1.2 ป. 6/2 ปริมาณของสารอาหารแตกต่าง บอกแนวทางในการเลือก กัน อาหารบางอย่างมีสารอาหาร รับประทานอาหารให้ได้ หลายประเภท อาหารบางอย่างมี สารอาหารครบถ้วนใน สารอาหารเพยี งประเภทเดียว สัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศ  สารอาหารแต่ละประเภ ท มี และวัย รวมทังปลอดภัย ประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกัน ต่อสุขภาพ โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและ ไขมันเปน็ สารอาหารท่ีให้พลังงาน ว 1.2 ป. 6/3 แก่ร่างกาย ส่วนเกลือแร่ วิตามิน ตระหนักถึงความส้าคัญ และน้า เป็นสารอาหารท่ีไม่ให้ ของอาหาร โดยการเลือก พลังงานแก่ร่างกาย แต่ช่วยให้ รับประทานอาหารที่มี ร่างกายท้างานได้เปน็ ปกติ ส า ร อ า ห า ร ค ร บ ถ้ ว น ใ น  ในแต่ละวันเราควรรับประทาน สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ อาหารให้ได้รับสารอาหารครบทัง และวัย รวมทังปลอดภัย 6 ประเภท และรับประทานให้ได้ ต่อสุขภาพ ปริมาณพลังงานท่ีเพียงพอต่อความ ต้องการของร่างกายในแต่ละวัน ร ว ม ทั ง ต้ อ ง ไ ด้ สั ด ส่ ว น ต า ม ธ ง โภชนาการ และต้องค้านึงถึงความ ปลอดภัยต่อสขุ ภาพ  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 อาหารและการย่อยอาหาร 2 บท เรอื่ ง กจิ กรรม ลาดบั แนวคดิ ต่อเนอื่ ง ตวั ช้ีวัด เร่ืองท่ี 2 ระบบย่อย กิจกรรมที่ 2 อวัยวะ  ระบบย่อยอาหารเป็นระ บ บ ว 1.2 ป. 6/4 อาหาร ในระบบย่อยอาหารมี อวัยวะของร่างกาย มีหน้าท่ีย่อย สร้างแบบจ้าลองระบบ ลักษณะและหน้าที่ สารอาหารท่ีมีขนาดใหญ่ให้มี ย่อยอาหาร และบรรยาย อยา่ งไร ขนาดเล็กลงจนร่างกายสามารถ หน้าที่ของอวัยวะในระบบ ดูดซมึ และนา้ ไปใชไ้ ด้ ย่อยอาหารและการดูดซึม  อ วั ย ว ะ ใ น ร ะ บ บ ย่ อ ย อ า ห า ร ประกอบด้วย ปาก หลอดอาหาร สารอาหาร กระเพาะอาหาร ล้าไส้เล็ก ตับ ว 1.2 ป. 6/5 ตบั อ่อน ล้าไสใ้ หญ่ และทวารหนัก ตระหนักถึงความส้าคัญ ซ่ึง แต่ละอวัยวะมีลักษณะและ ของระบบย่อยอาหาร โดย หน้าที่แตกต่างกัน แต่ท้างาน บอกแนวทางในการดูแล ร่วมกันในการย่อยและดูดซึม รักษาอวัยวะในระบบย่อย สารอาหาร อาหารให้ท้างานปกติ  ระบบย่อยอาหารมีความส้าคัญ เพราะเป็นระบบที่ท้าให้ร่างกาย ได้รับสารอาหารท่ีเป็นประโยชน์ ทังที่ให้พลังงานและท้าให้ร่างกาย ท้างานและเจริญเติบโตได้อย่าง ปกติ ดังนันเราจึงควรมีพฤติกรรม การรับประทานอาหารท่ีถูกต้อง เพ่ือให้อวัยวะในระบบย่อยอาหาร ได้ท้างานเป็นปกติ ไม่เป็นโรคที่ เกยี่ วข้องกับระบบย่อยอาหาร ร่วมคิด ร่วมท้า สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

3 คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 อาหารและการย่อยอาหาร บทท่ี 1 สารอาหารและระบบยอ่ ยอาหาร จุดประสงค์การเรยี นรู้ประจาบท เมื่อเรยี นจบบทนี นักเรียนสามารถ 1. ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหาร แต่ละประเภท 2. บอกแนวทางและเลือกรับประทานอาหารให้ เหมาะสมกบั เพศและวยั 3. สร้างแบบจ้าลองเพ่ือบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะ ต่าง ๆ ในระบบย่อยอาหาร 4. บอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบ ย่อยอาหารให้ทา้ งานเป็นปกติ เวลา 12 ชว่ั โมง แนวคิดสาคัญ อาหารเป็นสิ่งท่ีเรารับประทานแล้วมีประโยชน์ต่อ บทนม้ี ีอะไร สารอาหาร ร่างกาย โดยอาหารที่เรารับประทานจะผ่านการย่อยใน ในแต่ละวันเรารับประทาน ระบบย่อยอาหาร เพ่ือให้ได้สารอาหารท่ีจ้าเป็นต่อการ เรื่องที่ 1 อ า ห า ร เ ห ม า ะ ส ม ห รื อ ไ ม่ ด้ารงชีวิต ในแต่ละวันเราตอ้ งเลือกรับประทานอาหารทีม่ ี กจิ กรรมท่ี 1 อย่างไร ประโยชน์ ในปริมาณท่ีเหมาะสมกับความต้องการของ ระบบยอ่ ยอาหาร รา่ งกายแตล่ ะเพศและวัย รวมทงั ปลอดภัยตอ่ สุขภาพ เรอ่ื งที่ 2 อวัยวะในระบบย่อยอาหาร กจิ กรรมท่ี 2 มลี กั ษณะและหนา้ ที่อยา่ งไร สอ่ื การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน ป. 6 เลม่ 1 หน้า 1-35 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป. 6 เลม่ 1 หนา้ 1-33  สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 อาหารและการย่อยอาหาร 4 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 กจิ กรรมท่ี 12 รหัส ทักษะ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต  S2 การวดั  S3 การใช้จ้านวน S4 การจา้ แนกประเภท  S5 การหาความสมั พันธร์ ะหว่าง   สเปซกับสเปซ   สเปซกับเวลา  S6 การจัดกระท้าและส่ือความหมายข้อมูล  S7 การพยากรณ์  S8 การลงความเห็นจากข้อมลู S9 การตังสมมติฐาน S10 การก้าหนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ S11 การกา้ หนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ S14 การสร้างแบบจา้ ลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสร้างสรรค์ C2 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การส่ือสาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร หมายเหตุ : รหัสทักษะท่ีปรากฏนี ใชเ้ ฉพาะหนังสอื คมู่ อื ครูเล่มนี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

5 คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 อาหารและการย่อยอาหาร แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคิดคลาดเคลื่อนท่ีอาจพบและแนวคิดที่ถกู ต้องในบทท่ี 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร มีดังต่อไปนี แนวคดิ คลาดเคลื่อน แนวคดิ ทถ่ี ูกต้อง แคลอรี คือ สารท่ีอยู่ในอาหาร ซ่ึงเป็นสาเหตุท่ีท้าให้ แคลอรี เป็นหน่วยวัดปริมาณคือหน่วยวัดปริมาณความร้อน 1 น้าหนักเพ่มิ ขนึ (Wodarski, 1976) แคลอรี คือปริมาณความร้อนที่ท้าให้น้าบริสุทธ์ิ 1 กรัม ร้อนขึน 1 องศาเซลเซยี ส 1,000 แคลอรี เรยี กวา่ 1 กิโลแคลอรี ในทางโภชนาการ แคลอรีเป็นหน่วยวัดพลังงานที่ร่างกายได้รับจาก การเผาผลาญอาหาร (ส้านักงานราชบณั ฑิตยสภา, 2560) คาร์โบไฮเดรตเป็นสิ่งที่ท้าให้น้าหนักเกิน ถ้าต้องการ คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ซ่ึงภาวะ ลดน้าหนักจึงควรลดการรับประทานอาหารที่มี น้าหนักเกินเกิดได้จากทังทางพันธุกรรม และมีลักษณะการบริโภค คาร์โบไฮเดรต (Abangma, 2015) อาหาร กิจวัตรประจ้าวัน การออกก้าลังกายและการพักผ่อน ซึ่งการ ได้รับปริมาณพลังงานมากเกินความต้องการของร่างกายใน 1 วัน มีผลอย่างมากต่อนา้ หนกั ตัว (โรงพยาบาลเกษมราษฎร์, 2014) การรับประทานเฉพาะผลไม้ในมือเย็น ช่วยให้ลด ผลไมบ้ างชนดิ ใหพ้ ลงั งานสูง เนอื่ งจากมคี าร์โบไฮเดรต หรือโปรตีนใน นา้ หนักได้ (pawinee, 2014) ปริมาณสูง การรับประทานเฉพาะผลไม้ในมือเย็นอาจท้าให้ร่างกาย ได้รับพลังงานปริมาณสูงได้ ซึ่งไม่ได้ช่วยในการลดนา้ หนัก นอกจากนี การรับประทานแค่ผลไม้อาจท้าให้ได้รับสารอาหารบางประเภทใน ปริมาณไมเ่ พยี งพอ และไมไ่ ดส้ ดั ส่วนตามธงโภชนาการ อาจท้าใหเ้ ป็น โรคได้ (Nitijessadawong, 2017) อาหาร 5 หมู่ ประกอบด้วย * อาหาร 5 หมู่ โดยการจัดของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข หมู่ท่ี 1 โปรตีน ประกอบด้วย หมู่ท่ี 2 คารโ์ บไฮเดรต หมู่นม ไข่ เนอื สตั ว์ตา่ งๆ ถว่ั เมล็ดแห้งและงา หมทู่ ี่ 3 เกลือแร่ หมขู่ ้าว แปง้ น้าตาล เผือก มัน หม่ทู ่ี 4 วิตามิน หม่ผู ลไม้ต่าง ๆ หมู่ที่ 5 ไขมนั หมพู่ ชื ผกั ตา่ ง ๆ หมูน่ า้ มนั และไขมนั จากพืช ซ่ึงหมู่อาหารเหล่านีไม่จ้าเปน็ ต้องเรียงล้าดับ ส่วนสารอาหารเป็นสาร ที่มีอยู่ในอาหารและมีประโยชน์ต่อร่างกาย มี 6 ประเภท ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ วติ ามนิ ไขมัน และนา้ (กรมอนามัย, 2546)  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 อาหารและการยอ่ ยอาหาร 6 แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น แนวคดิ ที่ถูกต้อง อาหารแต่ละอย่างมีสารอาหารเพียง 1 ประเภท เช่น อาหารบางอย่างมีสารอาหารมากกว่า 1 ประเภท เช่น ข้าวบางชนิด ขา้ ว มสี ารอาหารประเภทเดยี ว คือ คารโ์ บไฮเดรต* มีสารอาหารครบทัง 6 ประเภท อาหารบางอย่างมีสารอาหารเพียง ประเภทเดยี ว เช่น นา้ มนั ถั่วเหลอื ง มเี พยี งไขมนั (สนุ ทร, 2553) ถ้าครพู บวา่ มีแนวคดิ คลาดเคลอื่ นใดทยี่ ังไม่ได้แกไ้ ขจากการท้ากจิ กรรมการเรียนรู้ ครูควรจัดการเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ เพอ่ื แก้ไข ตอ่ ไปได้ * ขอ้ มูลที่ได้จากการสงั เกตชันเรียนในการทดลองใช้หนงั สอื เรียนของ สสวท. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

7 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 อาหารและการยอ่ ยอาหาร บทนเี้ รม่ิ ต้นอยา่ งไร (1 ช่ัวโมง) ในการทบทวนความรู้พืนฐาน ครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง 1. ครูทบทวนความรู้พืนฐานเก่ียวกับสิ่งท่ีจ้าเป็นต่อการเจริญเติบโตและ เหมาะสม รอคอยอย่างอดทน การด้ารงชีวิตของมนุษย์ท่ีเรียนมาแล้วในชันประถมศึกษาปีที่ 3 โดย นักเรียนต้องตอบค้าถามเหล่านีได้ ใชค้ ้าถาม ดังนี ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครู 1.1 ส่ิงที่จ้าเป็นต่อการเจริญเติบโตและการด้ารงชีวิตของมนุษย์ ตอ้ งให้ความรทู้ ีถ่ ูกต้องทันที มอี ะไรบ้าง (อาหาร น้า อากาศ) 1.2 ส่ิงต่าง ๆ เหล่านันมีประโยชน์อย่างไร (อาหารช่วยให้ร่างกาย ในการตรวจสอบความรู้เดิม แข็งแรงและเจริญเติบโต น้าช่วยให้ร่างกายท้างานได้อย่างปกติ ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น ส่วนอากาศใช้ในการหายใจ) ส้าคัญ ครูยังไม่เฉลยค้าตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้หาค้าตอบที่ถูกต้อง 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับอาหารและการย่อย จากกิจกรรมตา่ ง ๆ ในบทเรยี นนี อาหาร โดยใชค้ า้ ถาม ดงั นี 2.1 เม่ือเช้านีนักเรียนได้รับประทานอาหารอะไรบ้าง (นักเรียนตอบ สิ่งทีต่ นเองรบั ประทาน) ครูเลอื กอาหารทีน่ ักเรียนตอบมา 1 อย่าง เช่น ข้าวเหนียวหมทู อด 2.2 นักเรียนคิดว่าข้าวเหนียวหมูทอดมีประโยชน์ต่อร่างกายของเรา อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ข้าวเหนียวมีคาร์โบไฮเดรต ในหมูทอดมีโปรตีน ไขมัน ซึ่งท้าให้ รา่ งกายแข็งแรง) 2.3 คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน จัดเป็นสิ่งใด (นักเรียนตอบตาม ความเขา้ ใจของตนเอง เช่น เป็นสารอาหาร) 2.4 คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน มีประโยชน์อย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเขา้ ใจของตนเอง เช่น ใหพ้ ลังงานแกร่ ่างกาย) 2.5 เม่ือรับประทานข้าวเหนียวหมูทอดแล้ว ร่างกายของนักเรียนจะ น้าคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ไปผ่านกระบวนการใดเพื่อให้ ร่างกายสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้ (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง เช่น ร่างกายมกี ระบวนการย่อยอาหาร ท่ี สามารถย่อยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เพ่ือให้ร่างกาย น้าไปใชป้ ระโยชน์ได)้ 3. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องอาหารและการย่อยอาหาร โดยให้อ่าน ชื่อหน่วย และอ่านคาถามสาคัญประจาหน่วยที่ 1 ว่า ร่างกายใช้ ประโยชนจ์ ากอาหารไดอ้ ย่างไร  สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี