แผนพัฒนา โรงเรียน คุณภาพ ประ จํา ตํา บ ล doc

งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การเตรียมความพร้อมของโรงเรียนคุณภาพประจําตําบล ปีการศึกษา 2562 “เป็นที่ยอมรับของชุมชน มุ่งคนสู่การมีงานทำ เน้นย้ำการมีส่วนร่วม” สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2 ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน 1. ขึ้นป้ายเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณภาพประจําตําบล หน้าโรงเรียน

3 ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
ด้านที่ โครงสร้างพื้นฐาน 2. แหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา 3. ด้านอาคารเรียน ห้องเรียน ให้อยู่ในสภาพ ใช้การได้ดี สะอาด ปลอดภัย มีความพร้อม ในการจัดการเรียนการสอน

4 ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
ด้านที่ โครงสร้างพื้นฐาน 4. ด้านสถานที่รับประทานอาหาร และสถานที่ประกอบอาหารให้มี ความสะอาดปลอดภัย 5. ด้านไฟฟ้า น้ำประปา พร้อมใช้งานและ มีความปลอดภัย 6. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ภายในโรงเรียน

5 ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา
ด้านที่ การส่งเสริมการศึกษา ด้านผู้บริหารสถานศึกษา 1. สนับสนุนและอำนวยความสะดวกนักเรียนในทุกด้าน เช่น อาหารกลางวัน อาหารเสริมนม ยานพาหนะ และอื่นๆ ตามที่เห็นสมควรและส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียน 2. จัดหา สนับสนุน ครูครบชั้นเรียน ครบวิชา ตามการดำเนินการ/ที่มา (7วิธี) และแผนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 10 ขั้นตอน 3. ประชุมสร้างความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง นักเรียน

6 ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา
ด้านที่ การส่งเสริมการศึกษา ด้านครู 1. มีหลักสูตรสถานศึกษาและแผนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 10 ขั้นตอน 2. มีสื่อการเรียนการสอน อุปกรณ์การสอน ระบบ NEL DLTV DLIT และสื่อการเรียนอื่นๆ 3. มีเครื่องมือการวัดประเมินผลและมีจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แผนจัดการเรียนรู้ที่ระบุเป้าหมาย กิจกรรม สื่อ ชิ้นงาน/ภาระงานที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา มีการกำหนดช่วงเวลาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในตารางเรียนของทุกชั้น มีเครื่องมือการประเมินตามสภาพจริงในระดับคุณภาพของผู้เรียนตามเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษา 4. มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

7 ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา
ด้านที่ การส่งเสริมการศึกษา ด้านนักเรียน 1. มีความพร้อมด้านการเรียน เช่น เอกสาร หนังสือแบบเรียน อุปกรณ์การเรียน และอุปกรณ์อื่นๆ 2. มีความพร้อมด้านเครื่องแต่งกาย เช่น เสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า ชุดกีฬา และชุดเครื่องแบบอื่นๆ ตามบริบทและความเหมาะสม 3. มีความพร้อมด้านสุขภาวะของนักเรียนให้มีความพร้อมสำหรับการเรียน

8 ด้านที่ 3 การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม
ด้านที่ การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน ครู เอกชน วัด รัฐ ในการวางแผนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพประจําตําบลและแสวงหาความร่วมมือ

9 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
กำกับ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ประกอบด้วย ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านที่ 3 การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม

10 “เป็นที่ยอมรับของชุมชน มุ่งคนสู่การมีงานทำ เน้นย้ำการมีส่วนร่วม”
มุ่งคนสู่การมีงานทำ เน้นย้ำการมีส่วนร่วม” โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)

คาํ นํา

โรงเรียนบานเพียมาต(รัฐราษฎรพิทยาคาร) เปนโรงเรียนขนาดกลางจัดการเรียนการสอน ตั้งแตระดับชั้น
อนุบาล ๒ ถึงมัธยมศึกษาตอนตน เปนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ดําเนินงานตามนโยบายของสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตระหนักและใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนเปน
ปจจัยสําคัญ แตเปนท่ีทราบแลววาปจจุบันน้ี มีโรงเรียนท่ีมีแนวโนมจะเปนโรงเรียนขนาดเล็กเพ่ิมสูงขึ้นอยาง
ตอ เนื่อง ซงึ่ สว นหนง่ึ เปนผลมาจากอัตราการเกิดของประชาชนลดต่ําลง สง ผลตอคุณภาพนกั เรยี นและประสิทธิภาพ
ในการบริหารจดั การไมเ ปนไปตามมาตรฐานท่กี ําหนด

ปจจุบันสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดจัดทําโครงการ“โรงเรียนคุณภาพของชุมชน”
ขึน้ โดยคัดเลือกโรงเรียนหลักของชุมชน มีการบริหารจัดการงบประมาณ บุคลากร สิ่งอํานวยความสะดวกใหพรอม
มีหลักการทําโรงเรียนขนาดเล็กใหเ ปน โรงเรียนขนาดใหญ เพื่อเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาใหกบั นักเรียน ในโรงเรียน
ขนาดเล็ก จากที่กลาวมาโรงเรยี นบานเพียมาต(รฐั ราษฎรพ ิทยาคาร) ไดรบั คัดเลือกจากสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ใหเ ปนโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชนซงึ่ จะเปนศนู ยก ลางการเรยี นและเปน ที่ยอมรบั ของ
ชุมชน ทางโรงเรียนจึงไดจัดทําแผนกลยุทธเพื่อเปนแนวทางในการบริหารจัดการดานอาคารเรียน ดานบุคลากร
ดานวิชาการ ดานการรับนักเรียน และดานประชาสัมพันธ ท้ังน้ีเพื่อใหมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลตอ
นกั เรยี นใหมากที่สุด

โรงเรียนบานเพยี มาต(รฐั ราษฎรพิทยาคาร)

สารบัญ หนา
เรื่อง ๑
สวนท่ี ๑ บทนําความสําคัญและความเปนมา ๔
สวนที่ ๒ การศึกษาสถานภาพสถานศึกษา ๑๐
สวนที่ ๓ ทศิ ทางการจัดการศึกษา ๑๑
สวนท่ี ๔ แผนกลยทุ ธพ ัฒนาการศกึ ษา ๑๑
๑๕
กลยุทธที่ ๑ แผนพฒั นาดา นอาคารสถานท่ี ๑๕
กลยุทธท ่ี ๒ แผนพัฒนาบคุ ลากร ๑๗
กลยุทธท ่ี ๓ แผนพัฒนาดา นวชิ าการ ๒๐
กลยุทธที่ ๔ แผนพฒั นาดานการรับนกั เรียน/เครือขาย ๒๑
กลยุทธท่ี ๕ แผนดานการประชาสัมพนั ธ
สว นท่ี ๕ แนวทางการบริหารแผนพัฒนาโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๓
สกู ารปฏิบตั แิ ละการตดิ ตามประเมนิ ผล
ภาคผนวก

สว นท่ี ๑ 1
บทนํา

ความเปน มาและความสําคัญ
โรงเรียนเปนองคกรทางการศึกษาท่ีสําคัญที่สุดในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน แนวคิดในการพัฒนา

คณุ ภาพโรงเรยี น จึงเปน ความสําคญั สูงสุดในการปฏิบัตงิ าน โดยเฉพาะอยา งยิ่งโรงเรียนในทองถิ่นชนบทซึ่งหางไกล
ความเจรญิ และตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.๕๖๐ – ๒๕๗๙ กําหนดใหค นไทยทุกคนไดร ับการศึกษาและเรียนรู
ตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิต อยางเปนสุข สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ
เปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ ภายใตการเปล่ียนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเนื่องจากการ
ปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) การเปล่ียนแปลงสูอุตสาหกรรม ๔.๐ (The Fourth Industrial Revolution)
โดยมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา ๔ ประการ คือ ๑) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมี
คณุ ภาพและมีประสิทธภิ าพ ๒) เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปน พลเมืองดี มีคุณลกั ษณะทกั ษะและสมรรถนะทีส่ อดคลอง
กับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติและยุทธศาสตรชาติ
๓) เพอ่ื พัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู และคุณธรรม จริยธรรม รูรกั สามัคคี และรวมมือผนึกกําลังมงุ สู
การพัฒนาประเทศ อยางย่ังยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ๔) เพื่อนําประเทศไทยกาวขามกบั ดัก
ประเทศทีม่ ีรายไดป านกลาง และความเหลื่อมลา้ํ ภายในประเทศลดลง

ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดช้ีแจง
สถานการณปจจุบันของจํานวนเด็กนักเรียนท่ีลดลง จํานวนโรงเรียนขนาดเล็กเพ่ิมข้ึน นักเรียมีความเหล่ือมลํ้า
ทางการศึกษา ทําใหขาดโอกาสทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจงึ มีมติคดั เลือกโรงเรียน
หลักของชมุ ชน ควบรวมโรงเรยี นเครือขาย ๑ ตอ ๗ หรอื ๑ ตอ ๘ หรือในอัตราสว นที่มากที่สุดที่สาํ นักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษาสามารถดําเนินการได ทั้งนี้ยงั แจงใหโ รงเรียนสํารวจความตองการขอรับจัดสรรงบประมาณกลุมโรงเรียน
เรียนคุณภาพของชุมชน ซ่ึงหน่ึงในโรงเรียนท่ีไดรับการคัดเลือกเปนโรงเรียนคุณภาพของชุมชน คือโรงเรียน
บา นเพยี มาต(รัฐราษฎรพทิ ยาคาร) หมทู ่ี ๓ ตําบลหนองแค อําเภอราษีไศล จงั หวัดศรีสะเกษ
ประวัติโรงเรยี น

โรงเรียนบานเพียมาต ต้ังข้ึนเมื่อวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖โดยรองอํามาตยโทหลวงคง
คุณานุการ ซ่ึงเปนนายอําเภอสมัยนั้น โดยอาศัยศาลาวัดบานเพียมาต เปนสถานท่ีเลาเรียนมีช่ือวา โรงเรียน
ประชาบาลตาํ บลหนองแค ๒ (วดั บานเพียมาต) มีนายบัวลา สมหมาย เปนครูใหญ และ นายทองจันทร สุตพันธ
เปนครนู อย จดั การเรียนการสอนต้งั แต ชนั้ เตรยี มถึงช้นั ป. ๕

ป พ.ศ.๒๔๗๖ เปลย่ี นหลักสตู รใหมจัดการเรยี นการสอนจากชัน้ ป.๑ ถงึ ชน้ั ป.๖
ป พ.ศ.๒๔๘๐ กระทรวงศกึ ษาธิการเปลย่ี นแปลงแผนการศึกษาใหมเปด สอนจากชัน้ ป.๑ - ป.๔
ป พ.ศ.๒๔๘๕ นายสูรย มูลศิริ และนายบูรณะ จําปาพันธ ไดประชุมชี้แจงกับชาวบานขอท่ีดิน
เพื่อเปน ท่สี รางโรงเรียน ไดทด่ี นิ ทง้ั หมด จาํ นวน ๒๐ ไร ๙๕ ตารางวา
ป พ.ศ.๒๔๘๕ ไดรับงบประมาณจากทางราชการ ๑,๒๐๐ บาท (หน่ึงพันสองรอยบาท) สรางอาคาร
เรียนในที่ดินของโรงเรยี นซึ่งไดรับบรจิ าคมีขนาด ๙/๓๖ เมตร ๑ มขุ ๔ หองเรียน มุงหลังคา เมื่อสรางเสร็จไดยาย

2

จากศาลาวัดมาเรียนที่อาคารหลังใหมขออนุญาตเปลี่ยนนามโรงเรียนเปนโรงเรียนประชาบาล ตําบลหนองแค ๒

(โรงเรียนบา นเพียมาต)

ป พ.ศ.๒๔๙๐ ไดรับงบประมาณเปลย่ี นหลงั คาเปน มุงดว ยกระเบื้องคอนกรีต

ป พ.ศ. ๒๔๙๕ ไดรับมอบงบประมาณเปลี่ยนหลังคาจากกระเบ้ืองคอนกรีตเปนสังกะสี ก้ันฝา ตีฝา

เพดานกั้นหองเรียนเปน โรงเรียนเอกเทศถาวรเต็มรูปแบบ จัดการเฉลิมฉลองเปดปายอาคารเรียน พรอมตั้งช่ือ

โรงเรียนใหมเ ปน โรงเรยี นบา นเพยี มาต(รฐั ราษฎรพิทยาคาร)

ปจจุบันโรงเรียนบานเพียมาต(รัฐราษฎรพิทยาคาร)ตั้งอยูหมูที่ ๓ ตําบลหนองแค อําเภอราษีไศล

สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ รหัสไปรษณีย ๓๓๑๖๐ เปดสอนต้ังแตระดับ

การศกึ ษาปฐมวัย ถึงระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน

โรงเรยี นบานเพียมาต(รัฐราษฎรพ ิทยาคาร) มีผูดํารงตาํ แหนงครใู หญและอาจารยใหญ ดงั น้ี

นายบัวลา สมหมาย ครใู หญ พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๘๐

นายบุ(บูรณะ) จาํ ปาพันธ ครูใหญ พ.ศ. ๒๔๘๑ – ๒๔๘๕

นายสุพจน นรสาร ครใู หญ พ.ศ. ๒๔๘๖ – ๒๕๑๐

นายสรุ ัตน ชะบา ครูใหญ พ.ศ. ๒๕๑๑ – ๒๕๒๗

นายไพ กัณฑหา อาจารยใ หญ พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๗

นายเรอื ง วงศจ อม อาจารยใ หญ พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๔๓

นายสงั วาลย บัวศรี อาจารยใหญ พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๔๘

นายสงั วาลย บวั ศรี ผอู าํ นวยการ พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๑

นายดํารงค ผลออ ผอู ํานวยการ พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙

นายกานแกว พันอนิ ทร ผอู าํ นวยการ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปจจบุ นั

สภาพทวั่ ไปที่ตงั้

ตัง้ อยู ณ บา นเพยี มาต หมทู ี่ ๓ ตําบลหนองแค อาํ เภอราษไี ศล จงั หวดั ศรีสะเกษ

หางจากอําเภอราษีไศล จาํ นวน ๘ กิโลเมตร

หา งจากจังหวดั ศรีสะเกษ จาํ นวน ๕๒ กิโลเมตร

หางจากสํานักงานเขตพนื้ ที่ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ จาํ นวน ๓๖ กิโลเมตร

ปจ จุบนั โรงเรยี นบานเพียมาต(รฐั ราษฎรพ ทิ ยาคาร) เปนโรงเรยี นขยายโอกาส และเปน กลุมโรงเรยี นคุณภาพ

ของชุมชน มีโรงเรียนเขารวม จํานวน ๖ โรงเรียน มีนักเรียนท่ีจะมาเรียนรวม ๕๒๕ คน ขอมูล ณ ปการศึกษา

๒๕๖๓

จํานวนขอมลู ประชากรวยั เรยี น
แนวโนมขอ มลู ประชากร

ขอมูลนกั เรียน

ที่ ยอ นหลัง ๕ ปก ารศกึ ษา แนวโนมในอนาคต ๕ ปการศึกษา

๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙

๑ ๑๖๕ ๒๐๐ ๒๑๒ ๒๑๖ ๒๐๑ ๒๐๕ ๕๖๙ ๕๙๑ ๖๑๓ ๖๓๕ ๖๕๗

3

การบริหารจัดการศกึ ษา

โรงเรียนบานเพียมาต(รัฐราษฎรพิทยาคาร) แบงโครงสรางการบริหารเปน ๔ ฝาย ไดแก ฝายรับผิดชอบ
งานวิชาการ งานบุคลากร งานการงบประมาณ งานบริหารทวั่ ไป ผูบรหิ ารยดึ หลักการบริหาร เทคนิคการบรหิ าร
แบบ P D C A กระจายอํานาจในการบริหารงานใหบุคลากรใน ศึกษาไดรวมกันคิด ตัดสินใจปฏิบัติรวมกันเพื่อ
บรรลเุ ปาหมายในการดาํ เนนิ งาน โดยกาํ หนดปรัชญา วสิ ยั ทัศน พันธกจิ เปาหมายการพัฒนา และกลยุทธ ดังนี้

โครงสรา งการบริหารโรงเรยี นบานเพยี มาต(รัฐราษฎรพ ทิ ยาคาร)

ผูอํานวยการโรงเรยี นบา นเพยี มาต(รฐั ราษฎรพ ิทยาคาร) คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

บริหารวิชาการ บรหิ ารงบประมาณ บริหารบุคคล บรหิ ารท่ัวไป

หัวสายชนั้ ปฐมวยั หวั หนา สายประถมศกึ ษา หัวหนา สายมัธยมศกึ ษา

สาระการเรียนรู

ภาษาไทย คณิต วิทย สงั คม ประวัติ ศิลปะ พละ การงาน องั กฤษ

ผูเรียน

4

สว นท่ี ๒
การศกึ ษาสถานภาพสถานศกึ ษา

ปจจุบันโรงเรียนบานเพียมาต(รัฐราษฎรพิทยาคาร) เปนโรงเรียนขยายโอกาส และเปนกลุมโรงเรียน

คุณภาพของชุมชน มีโรงเรียนในเครือขายเขารวมจํานวน 4 โรงเรียน มีนักเรียนท่ีจะมาเรียนรวม เปาหมาย

ปก ารศึกษา ๒๕๖๕ จะมนี ักเรยี นเขารวมในการเรยี น จาํ นวน 469 คน
ขอ มูลปจ จุบนั ผลสรุปสถานภาพของสถานศกึ ษา

บคุ ลากร ขา ราชการครู จาํ นวน ๑๔ คน

พนกั งานราชการ จาํ นวน ๒ คน

ลูกจาง จาํ นวน ๓ คน

หมูบานในเขตบริการของโรงเรยี น บา นเพยี มาต หมทู ่ี ๓

๑0 หมูบาน ตาํ บลหนองแค บา นผึง้ หมทู ี่ ๔ ,๑๔

บา นเหลาโดน หมทู ี่ ๑๐

บานมะยาง หมทู ่ี ๕,๑๖

บา นปลาขาว หมูท่ี ๑๑,๒

บา นดอนงเู หลือม หมูท่ี ๑๗

บา นตงั หมูที่ ๖

บา นหนองแค หมูท ่ี ๗

บานสวนสวรรค หมทู ี่ ๑๒

อาคารเรยี น อาคาร ป.๑ ซ ๘.๕๐ ม. X ๔๕ ม. สรางป พ.ศ. ๒๕๑๓

อาคารเรยี น ศก ๐๑๗ ขนาด ๘.๕ ม x ๓๕ ม สรา งป พ.ศ. ๒๕๑๔

โรงฝก งาน แบบ ศก ๒๑ สรา ง ป พ.ศ. ๒๕๑๖

อาคารอเนกประสงค สปช ๒๐๕/๒๖ สรา งป พ.ศ. ๒๕๓๔

อาคารเรยี น สปช. ๑๐๕/๒๙ สรา งป พ.ศ. ๒๕๓๙

สภาพดานอาคารเรยี นที่ใชโ ดยทั่ว ๆ ไป สรางตง้ั แตป พ.ศ. ๒๕๑๔ และ ป ๒๕๑๖ ซ่ึงเกา และ
ทรุดโทรมมากตามสภาพของตวั อาคาร หลงั คาเร่ิมผุกรอ นไปตามกาลเวลา ขางฝาปรบั ปรงุ ซอ มแซม ปจจบุ ัน ใช
ไมฝ าเฌอรา ฝา เพดานยบุ ตวั ทางโรงเรยี นไดป รบั ปรงุ ซอ มแซม ตลอดระยะเวลาท่ผี านมา

ขอ มูลขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 5
หมายเหตุ
ท่ี ช่อื - สกลุ ตาํ แหนง วุฒกิ ารศึกษา วิชาเอก
ปริญญาโท บริหารการศึกษา
๑ นายกา นแกว พันอินทร ผอู ํานวยการ คศ.๓ ปรญิ ญาตรี เกษตรศาสตร
ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา
๒ นายสวุ รรณ ปองสีดา ครู คศ.๓ ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา
ปริญญาตรี ประถมศึกษา
๓ นายวินยั มณนี ิล ครู คศ.๓ ปริญญาโท บริหารการศึกษา

๔ นางเทียมจันทร มณวี งษ ครู คศ.๓

๕ นางอบุ ล สหี ะวงษ ครู คศ.๓

๖ นางลิสา ศรไี พล ครู คศ.๓

ท่ี ชือ่ - สกุล ตําแหนง วุฒกิ ารศกึ ษา วิชาเอก หมายเหตุ
หลักสตู รและการสอน
๗ นางชุลีพร มณนี ิล ครู คศ.๓ ปริญญาโท เกษตรศาสตร
หลักสูตรและการสอน
๘ นางสุนันทา สายหงษ ครู คศ.๓ ปริญญาตรี วทิ ยาศาสตรช ีวะ
เทคโนโลยี
๙ นางมณี ประดับศรี ครู คศ.๓ ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศกึ ษา
คณติ ศาสตร
๑๐ นายอํานวย อาจสาลี ครู คศ.๓ ปรญิ ญาโท ภาษาองั กฤษ
เกษตรศาสตร
๑๑ นางอมราวดี ดานลี ครู คศ.๓ ปริญญาโท คหกรรมศาสตร
คอมพวิ เตอรศ ึกษา
๑๒ นางศศธิ ร หวะสวุ รรณ ครู คศ.๓ ปรญิ ญาโท อุตสาหกรรม

๑๓ นางสาวพรทพิ ย จันหวั นา ครู คศ.๑ ปริญญาตรี

๑๔ นางสาวปรยี าพร กาญจนะชาติ ครผู ชู วย ปริญญาตรี

๑๕ นายสยาม ทบั ปญ ญา พนักงานราชการ ปริญญาตรี

๑๖ นางสาวอภญิ ญา ชะบา พนักงานราชการ ปริญญาตรี

๑๗ นายอนงค ชัยธรรม ธุรการโรงเรยี น ปรญิ ญาตรี

๑๘ นายสุพชิ ญ นรสาร ครูพ่ีเลี้ยง ปริญญาตรี

๑๙ นายสธุ ี มนยั นิล นกั การ ม.๖ สามญั

ตารางแสดงอัตราการเรยี นตอ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓

นร.จบ ป.๖ ปการศึกษา ๒๕๖๒ นร.จบ ม.๓ ปก ารศึกษา ๒๕๖๒ เรียนตอ ม.๔
หรือสายอาชีพ ปการศึกษา ๒๕๖๓
เรียนตอ ม.๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓
เรียนจบ ตอ ม.๔ และอน่ื ๆ รอยละ
เรียนจบ ตอ ม.๑ รอ ยละ ๒๗ ๒๗ ๑๐๐.๐๐

๒๘ ๒๘ ๑๐๐

6

ดานคณุ ภาพการศึกษา

โรงเรียนบานเพียมาต(รัฐราษฎรพิทยาคาร) มุงจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี

คนเกง และมีคณุ ธรรม โดยพัฒนาครู ปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอน โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญท้งั นี้ในปก ารศึกษา

๒๕๖๒ ไดดาํ เนินการวดั และประเมินผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน ปรากฏผลดังน้ี

๑.ตารางแสดงผลการทดสอบทางการเรยี นของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓

ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ (NT)

ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๓

วิชา คะแนนเฉลีย่ รอยละ

๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

ความสามารถดานเหตุผลดานภาษา ๕๑.๒๕ ๕๒.๒๐ ๖๙.๖๔ ๕๗.๙๕

ความสามารถดานเหตุผลดานคํานวณ ๓๒.๕๐ ๕๗.๙๒ ๗๔.๖๔ ๖๓.๕๐

ความสามารถดานเหตุผล ๕๕.๑๗ ๔๘.๐๕ ๕๖.๖๐ -

สรปุ ความสามารถ ๓ ดาน ๔๖.๓๑ ๕๒.๗๒ ๖๖.๙๖ ๖๐.๗๒

(อางองิ : ผลการทดสอบทางการเรียนของนกั เรยี นขอ มูลการทดสอบ NT )

๒.ตารางแสดงผลการทดสอบทางการเรยี นของนกั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

ปก ารศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ (O-NET)

ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖

วชิ า คะแนนเฉลยี่ รอ ยละ

๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๕๐.๓๗
ภ าษาไทย ๔๕.๗๕ ๓๙.๒๔ ๔๘.๑๘ ๒๙.๔๑
๓๔.๐๔
คณิตศาสตร ๒๒.๙๔ ๒๘.๒๕ ๒๙.๕๕
-
วทิ ยาศาสตร ๓๖.๐๐ ๓๓.๘๕ ๓๖.๙๕ ๓๐.๑๕
๓๕.๙๙
สังคมศึกษา ๓๘.๒๔ - -

ภาษาองั กฤษ ๒๘.๒๔ ๓๐.๗๕ ๓๓.๔๑

เฉลี่ย ๓๔.๒๓ ๓๓.๐๒ ๓๗.๐๒

(อา งอิง : ผลการทดสอบทางการเรียนของนกั เรียนขอมลู การทดสอบ O-NET )

๓.ตารางแสดงผลการทดสอบทางการเรียนของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๓ 7

ปการศกึ ษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ (O-NET) ๒๕๖๒
๕๓.๕๐
ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี ๓ ๑๘.๕๐
๒๘.๑๖
วิชา คะแนนเฉล่ยี รอ ยละ
-
๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๙.๗๕
๓๓.๔๗
ภาษาไทย ๔๑.๓๓ ๓๗.๐๐ ๔๓.๗๕

คณติ ศาสตร ๒๓.๔๗ ๑๓.๗๘ ๒๐.๕๐

วทิ ยาศาสตร ๓๑.๗๘ ๒๖.๘๙ ๓๒.๒๕

สังคมศึกษา ๔๖.๘๙ - -

ภาษาอังกฤษ ๒๕.๗๘ ๒๕.๑๑ ๒๔.๕๐

เฉลีย่ ๓๓.๘๕ ๒๙.๖๕ ๓๐.๒๕

วเิ คราะหสภาพแวดลอม โรงเรียนบา นเพยี มาต(รัฐราษฎรพ ทิ ยาคาร)

(SWOT Analysis)

การวิเคราะหสภาพแวดลอมเปนเครือ่ งมือในการวิเคราะหสถานการณ เพื่อใหผูบริหารรู จุดแข็ง จุดออน

สภาพภายในของโรงเรียน โอกาส และอุปสรรคของสภาพภายนอก ซ่ึงจะชวยใหทราบวาองคกรไดเดินทางมาถูก

ทศิ ทางและไมหลงทาง นอกจากน้ียังบอกไดวา องคกรมแี รงขับเคลื่อนไปยังเปาหมายไดดีหรือไม มั่นใจไดอยางไรวา

ระบบการทํางานในองคกรยงั มีประสิทธิภาพอยู มีจุดออนท่ีจะตองปรับปรงุ อยางไร ซ่ึงการวิเคราะหสภาพแวดลอม

(SWOT Analysis) โรงเรียนบานเพียมาต(รัฐราษฎรพ ิทยาคาร) มดี งั น้ี

วิเคราะหบ ริบทโรงเรยี นบานเพยี มาต(รัฐราษฎรพ ิทยาคาร)

(SWOT) สภาพภายนอก

โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค (Threats)

๑.โรงเรียนไดร บั การยอมรับและศรัทธาจากชุมชนและ ๑.บรเิ วณใกลเคยี งโรงเรยี นมแี หลง บรกิ ารทางเทคโนโลยี
สังคม ทชี่ ักจูงนกั เรยี นใหนาํ ไปใชใ นทางทไ่ี มเ หมาะสม

๒.ผปู กครองและคนในชุมชนใหความสนใจในดา นการ ๒.นักเรยี นไมไดอยูรว มกบั บิดา-มารดา ทําใหขาดการ
ปฏริ ปู การศึกษา ดูแลบุตร
๓.หนวยงานและองคก รทั้งภาครัฐและเอกชนใหการ
สนบั สนนุ กจิ กรรมของโรงเรยี น ๓.ผปู กครองสว นใหญม ีปญ หาดานครอบครวั แตกแยกสง
๔.นักเรียนมคี วามรกั ในวฒั นธรรม ประเพณี ในทองถ่นิ ผลกระทบตอ ผลการเรียนของนกั เรยี น

๔.มีสิ่งแวดลอ มที่มสี ่อื ยัว่ ยุเชน รานเกมส การใช
โทรศพั ทมือถอื ทําใหนกั เรยี นมคี วามเสย่ี งในการ
ดํารงชีวติ

8

โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค (Threats)

๕.สภาพธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ ม เออื้ อํานวยตอ ๕.ผปู กครองสวนใหญม ีฐานะยากจน ประกอบอาชพี

การเรยี นการสอน รับจาง ไมม ีเวลาดแู ลนักเรียน ขาดวสั ดุอุปกรณส งเสริม

การเรียน สงผลกระทบตอผลการเรียนของนักเรียน

๖.โรงเรยี นตัง้ อยใู นชมุ ชนทําใหการเดนิ ทางมาคอนขาง ๖.นักเรยี นบางสว นนาํ ส่อื เทคโนโลยไี ปใชในทางทไี่ ม

สะดวก เหมาะสม

๗.มีภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ และแหลง เรยี นรทู ห่ี ลากหลาย ๗.ชุมชนขาดการควบคุมการใหบรกิ ารดานเทคโนโลยี

เชน รา นอินเตอรเ นต็ เกมส

๘.ผปู กครองใหความไววางใจและมคี วามเชื่อมัน่ ใน ๘.ขาดแหลง บรกิ ารดา นเทคโนโลยีในชมุ ชนทีเ่ ออ้ื ตอการ

ครผู ูสอน เรียนรู

๙.มีแหลงสืบคน ขอมูล แหลง เรียนรนู วตั กรรมและ ๙.ชุมชนมรี ายไดน อ ยฐานะทางเศรษฐกจิ ไมเ ทาเทียม มี

เทคโนโลยหี ลากหลายทง้ั สถาบันการศกึ ษา และองคก ร ผลกระทบตอ การใหก ารสนบั สนนุ การศึกษา

เอกชนท่ีอยใู กลโรงเรียน

๑๐.การใหบรกิ ารสือ่ เทคโนโลยี และแหลงเรยี นรู เพอื่ ๑๐.พอ – แม ผูป กครองไปประกอบอาชพี ตางจงั หวดั

การสืบคน ขอ มูลแกค รู และนักเรยี นสะดวกสบาย เพอ่ื หารายไดท าํ ใหไมมีเวลาในการดแู ลบตุ รหลาน

๑๑.มีภมู ิปญ ญาทองถ่ิน ทเ่ี ปนแบบอยางในการดาํ รงชวี ิต ๑๑.นโยบายของรฐั ที่เปลีย่ นแปลงบอ ย ทาํ ใหการ

อยา งพอเพียง ดาํ เนินงานตอ งปรบั เปลีย่ นตามรฐั บาลจึงขาดความ

ตอเน่ืองในการพฒั นา

๑๒.ความกาวหนา ทางดา นเทคโนโลยี (คอมพวิ เตอร ๑๒.นโยบายการจดั สรรงบประมาณรายหัวของรฐั บาลยงั

อินเตอรเน็ต ) ทาํ ใหนักเรยี นมีความตองการบริโภค ไมเพยี งพอกบั การบรหิ ารจดั การภายในโรงเรียน

สง ผลทําใหน ักเรยี นเกดิ ความรอบรู และสามารถแสวงหา

ความรูไดดวยตนเอง

๑๓.นกั เรยี นมรี ายไดระหวางเรยี น โดยการรับจา งในภาค ๑๓.บริเวณใกลเคยี งโรงเรียนมีแหลงบริการทาง

เกษตรกรรม เทคโนโลยีที่ชักจูงนักเรยี นใหน ําไปใชในทางทไี่ ม

เหมาะสม

๑๔.โรงเรียนไดร บั การสนบั สนุนจากชุมชน รว มบรจิ าค ๑๔.นกั เรียนไมไ ดอ ยูรว มกับบดิ า-มารดา ทาํ ใหข าดการ

จัดทําผา ปา สรางอาคารเรียน ดูแลบุตร

๑๕.ผูป กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา องคก รเอกชน ๑๕.ผูป กครองสวนใหญม ปี ญ หาดานครอบครัวแตกแยก

ตาง ๆ รว มกบั ทางโรงเรยี นไดบ รจิ าค ทุนทรพั ยในดาน สงผลกระทบตอผลการเรียนของ

ตาง ๆ และวสั ดุ

๑๖.อปุ กรณสนับสนุนการศึกษา สงผลทําใหก ารศึกษา นกั เรียน

ของโรงเรยี นพัฒนามีประสิทธภิ าพเพม่ิ มากขึน้

๑๗.พระราชบัญญัติการศึกษาเอ้อื ตอ การเรยี นการสอน

วเิ คราะหบรบิ ทโรงเรยี นบานเพียมาต(รฐั ราษฎรพ ทิ ยาคาร) 9

(SWOT) สภาพภายใน

จดุ แขง็ (Strengths) จุดออน (Weaknesses)

๑.สถานศึกษามีโครงสรางการบรหิ ารงานชดั เจน ๑.ครูรบั ผิดชอบงานพิเศษมากเกินไป สงผลใหเวลาใน

การเตรียมการสอนนอ ย

๒.นโยบายรฐั เรอื่ งการศึกษาภาคบงั คบั ๒.นักเรยี นยงั ขาดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เชน ความ

โครงการเรยี นฟรี ๑๕ ป อยางมีคุณภาพ รับผิดชอบ การรักษาสมบัติของโรงเรยี น

๓.โรงเรยี นกําหนดวิสัยทศั นแ ละพันธกิจชัดเจน ทําให ๓.ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในบางวิชายงั ไมเ ปน ทีน่ า

การทาํ งานบรรลเุ ปาหมายอยางมีประสทิ ธภิ าพ พอใจ

๔.บุคลากรมีความรู ความสามารถหลากหลาย เปน ๔.โรงเรยี นมีวสั ดุ อุปกรณสาํ หรับจัดการศกึ ษาไม

ผลดีตอ การจดั การศกึ ษา เพยี งพอ

๕.โรงเรยี นมีการประสานงานกับหนว ยงานอ่ืนในการ ๕.นักเรียนไมเ อาใจใสต อการเรียน เพราะ สวนมาก

พัฒนาโรงเรยี น บิดา – มารดา ไปทํางานตางถิ่น

๖.โรงเรยี นมีการประสานงานกบั หนวยงานอื่นในการ ๖.ขาดบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถตามสาขา

พัฒนาโรงเรยี น วิชาเอก เชน คณติ ศาสตร ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร

ศลิ ปะดนตรี พลศกึ ษา เปนตน

๗.นโยบายการจดั การศกึ ษามีภาระงานท่ีมี ๗.งบประมาณทไ่ี ดร บั ไมเ พยี งพอตอ การพฒั นาโรงเรยี น

ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นการสอนของครูเปน ไป ดานอาคารสถานที่ ดานส่ือเทคโนโลยี

ตามระบบและเปาหมาย

๘.การจดั สภาพแวดลอมสะอาด สวยงาม รมรน่ื เอื้อแก ๘.โสตทศั นปู กรณย งั ไมเพียงพอ และขาดบุคลากรทีม่ ี

การเรยี นรู ความสามารถเฉพาะทาง เชน เครื่องเสียงดา นการ

ประชาสัมพนั ธ คอมพวิ เตอรใ นการจัดการเรียนการ

สอนไมท ันสมัย

๙.มีการจดั หลกั สูตรสถานศึกษาและจัดหาสาระ ๙.การดําเนนิ การดา นงบประมาณลา ชา ไมทันตอความ

เพ่มิ เติมอยางหลากหลายตามความตองการของผเู รยี น ตองการ ไมค ลอ งตวั ผบู ริหาร ครู ตอ งใชเ งินสว นตวั

สํารองจายในการดําเนินการ

๑๐.การจดั กจิ กรรมสงเสริม พัฒนาบคุ ลกิ ภาพ ๑๐.โสตทศั นปู กรณยังไมเ พียงพอ และขาดบุคลากรทีม่ ี

สขุ ภาพและอนามัยของนักเรียน ใหอ ยใู นสังคมไดอยาง ความสามารถเฉพาะทาง

มคี วามสขุ

๑๑.มีการจดั หลกั สูตรสถานศึกษาและจดั หาสาระ ๑๑.วสั ดุครุภัณฑข าดคุณภาพและไมตรงตามความ

เพม่ิ เติมอยางหลากหลายตามความตอ งการของผเู รียน ตองการ ทําให ไมสามารถจัดกระบวนการเรียนการ

สอนไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

๑๒.มกี ารจดั กจิ กรรมการสง เสรมิ จิตสาธารณะใน ๑๒.การซอ มแซมอุปกรณล าชา ไมท นั ตอ การใชง าน

โรงเรียน งบประมาณในการดําเนินงานไมเ พียงพอ

10

จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses)
๑๓.นักเรียนมีความเขาใจในหลกั การประชาธปิ ไตย
และ สามารถนาํ ไปใชใ นการปฏิบัตจิ รงิ ได

๑๔.นักเรียนดํารงชีวิตอยใู นสงั คม ไดอ ยา งมีความสุข

๑๕.สถานศึกษาผา นระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาใน
ระดบั ดี

สว นที่ ๓ 11
ทิศทางการจัดการศึกษา

วสิ ัยทัศน

ภายในป ๒๕๖๙ โรงเรียนเปน เลศิ ดานบรหิ ารจัดการแบบมสี ว นรวม ครมู ืออาชพี ผเู รยี นมคี วามโดดเดน
ดานทกั ษะ ดานกระบวนการเรียนรูคดิ วิเคราะหแ ละการสื่อสารเพอ่ื เพ่ิมพนู ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑

พนั ธกจิ
๑.จัดระบบบรหิ ารการศึกษาใหสอดคลองกบั พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แกไ ขเพม่ิ เตมิ

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒.พฒั นาครูใหม ีความรู ความสามารถตามเกณฑมาตรฐานวชิ าชพี
๓.พัฒนานกั เรียนใหม คี ณุ ภาพตามเกณฑม าตรฐานการศึกษา
๔.สงเสริมใหชุมชนมีบทบาทตอการจัดการศึกษาโดยเนน หลกั สตู รทองถิ่นและภมู ปิ ญ ญา
ชาวบานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๕.พัฒนาโรงเรยี นใหนาอยแู ละเอื้อตอการเรยี นรู

เอกลักษณ
กระบวนการเรยี นรกู าวไกล ใสใจ กีฬา ประเพณี วฒั นธรรม พัฒนาการส่ือสาร

อัตลักษณ
มีวนิ ยั ไฝเรียนรู

มาตรการสงเสรมิ
นกั เรียนอานออก เขยี นได ๑๐๐ %

คําขวญั
เรยี นดี กฬี าเดน เจนหตั ถะ จรยิ งาม

ปรชั ญาของโรงเรียน
ปญฺ า นรานํ รตนฺ ํ (ปญญาเปน แกวอนั ประเสริฐของนรชน)

สีประจาํ โรงเรยี น
สีนํา้ เงนิ – เหลือง

เปาหมายการพัฒนา
นักเรียนมีคณุ ภาพและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต ามเกณฑม าตรฐานการศึกษา

กลยทุ ธโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน
กลยุทธท ่ี ๑ แผนพฒั นาดานอาคารสถานที่
กลยทุ ธที่ ๒ แผนพฒั นาบุคลากร
กลยทุ ธท่ี ๓ แผนพัฒนาดานวชิ าการ
กลยทุ ธที่ ๔ แผนพฒั นาดา นการรบั นักเรียน/เครือขา ย
กลยทุ ธที่ ๕ แผนดานการประชาสมั พนั ธ

11

สวนท่ี ๔
แผนกลยุทธพ ฒั นาการศึกษา

โรงเรียนคุณภาพของชุมชนเกิดข้ึนตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒๐ เปนการใหโอกาส
ทางการศึกษาท่ีเทาเทียมกันอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เขมแข็งทั้งดานวิชาการ สมรรถนะสําคัญ
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน ดนตรี กีฬา ศิลปะ และจติ สาธารณะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพุทธศักราช
๒๕๕๑ มีความพรอมดานกายภาพ สะอาด รมร่ืน ปลอดภัยเปนโรงเรียน “ทํามาหากิน” ที่เนนการพัฒนาพ้ืนฐาน
ดานอาชพี และการมีรายไดระหวา งเรียน รวมถงึ การเปน “โรงเรียนคุณภาพของชุมชน” ทม่ี คี วามรวมมือกับทองถ่ิน
และบริการชุมชนอยา งเขมแข็งทําใหชุมชนมีสวนรวมเกิดความรสู ึกเปน เจาของ เชอ่ื ม่นั และศรัทธาในการปฏิบัติงาน
ของโรงเรียน

โรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชนสวนหนง่ึ ผานการประเมนิ ตามมาตรฐานแลว และจะตองมกี ารพฒั นางานเพือ่ ให
เกิดความตอเน่ือง และเปนการสงเสริมประสิทธิภาพการดําเนินงานของโรงเรียนกลุมดังกลาวใหมีแนวทางการ
พฒั นาคุณภาพงานอยา งย่ังยืน โรงเรียนบานเพยี มาต(รัฐราษฎรพิทยาคาร) จึงไดก ําหนดกลยุทธในการพฒั นาเพื่อให
โรงเรียนและผูเกี่ยวของซ่ึงดูแลการพัฒนานําไปใชเปนแนวทางการพัฒนา เปนเคร่ืองมือศึกษาขอมูล เก็บรวบรวม
ขอมลู และนําขอ มูลไปพัฒนางานอยา งเปนรปู ธรรม รวมทั้งเปน เครอื่ งมือประเมินความยั่งยืนของโรงเรยี น การพฒั นา
ความย่ังยืนดงั กลาวกําหนดเปนกลยุทธ ประเด็นกลยุทธ เปาประสงค และตวั ชวี้ ัดในการขบั เคลื่อนโรงเรียนคุณภาพ
ของชมุ ชน จึงกําหนดเปน ๕ กลยทุ ธ ไดแ ก

กลยุทธท ่ี ๑ แผนพฒั นาโครงสรา งพ้นื ฐานดานอาคารสถานท่ี
กลยทุ ธที่ ๒ แผนพัฒนาบคุ ลากร
กลยทุ ธท ี่ ๓ แผนพฒั นาดานวิชาการ
กลยุทธท ี่ ๔ แผนพัฒนาดานการรบั นกั เรียน/เครอื ขาย
กลยทุ ธท ่ี ๕ แผนดา นการประชาสมั พนั ธ
โรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน ปฏิบัติงานตามนโยบายในดานกลยทุ ธของสาํ นกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ดังนี้
กลยทุ ธท ่ี ๑ แผนพัฒนาดา นอาคารสถานท่ี

โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน จะไดร ับการพฒั นาเพอ่ื ใหสามารถจัดการศกึ ษาไดอ ยา งมีคุณภาพ และ
ใหบ รกิ ารโรงเรียนขนาดเล็กใกลเ คยี งในเร่อื งอาคารสถานท่ี ดังนี้

๑. ดา นอาคารเรียน
๑) อาคารเรียนท่ีทันสมัย เพียงพอ ตามเกณฑม าตรฐาน อาคารเรียนและส่งิ กอสราง
๒) อาคารเรยี นอนุบาล
๓) หอ งเรียนทกุ หองมีส่ิงอาํ นวยความสะดวก เชน โปรเจคเตอร แอคทฟี บอรด คอมพวิ เตอร ฯลฯ
๔) หองปฏบิ ตั กิ ารครอบคลุมทุกกลุม สาระการเรยี นรู

แผนดา นอาคารสถานท่ี ปงบประมาณ ๒๕๖๕ รปู แบบ 12
ที่ รายการ
หนว ย งบประมา(บาท)
๑ อาคารเรียน ๒๑๒ล./๕๗-ก อาคารค.ส.ล.๓ ชนั้ ขนาด๑๒ หองเรยี น ๑ ๑๗,๘๔๐,๐๐๐
๑ ๒,๐๗๙,๐๐๐
๒ อาคาร สปช ๑๐๓/๒๖ อาคารช้ัน ๓ หอง (พ้นื ยกสูง จะใชส ําหรบั อนบุ าล)
๑ ๑,๕๐๐,๐๐๐
เดียว ๑ ๓,๐๐๑,๔๐๐

๓ อาคารโดมเอนกประสงค (แบบกาํ หนดเอง) ๑ ๖,๙๑๒,๐๐๐

๔ อาคารหองสมุด อาคาร ค.ส.ล.โครงสรา งเหล็ก ๑ ช้ัน ๒ ๑,๐๕๑,๘๐๐

(พื้นทีใ่ ชส อย ๒๖๕.๐๐ ตร.ม.) ๑ ๖๖๕,๙๐๐

๕ โรงอาหารขนาดกลาง ๕๐๐ ท่นี ่ัง อาคาร ค.ส.ล.ชน้ั เดียว พื้นติดดิน(พนื้ ท่ีใช ๑ ๑,๓๐๗,๗๐๐

สอย ๗๒๓.ตร.ม.)

๖ หองนา้ํ สว มนักเรียนหญงิ ๖ท่ี/๔๙ อาคาร ค.ส.ล. ๑ ชั้น พืน้ เสมอดิน(พื้นท่ใี ช

สอย ๔๙.๔๐ ตร.ม.)

๗ หองนา้ํ สวมนักเรยี นชาย ๖ท่/ี ๔๙ อาคาร ค.ส.ล. ๑ ชน้ั พืน้ เสมอดิน(พน้ื ท่ีใช

สอย ๔๙.๔๐ ตร.ม.)

๘ สนามกีฬา อเนกประสงค พ้นื ค.ส.ล.ขดั เรียบ พรอ มทําระบบเคลอื บ

๙ ถนนคอนกรตี ถนนคอนกรตี เสริมเหล็กบนผวิ ถนนเดิน ๑ ๖๑๓,๖๓๒
กวาง ๔ เมตร ยาว ๒๕๐ เมตร ๓๔,๙๗๑,๔๓๒
รวม

13

รปู แบบโมเดลดา นการกอสรา งอาคารสถานท่ี

14

ดานสถานท่ี
การดําเนินงานพืน้ ทโ่ี รงเรียนท่ีเขารวมโครงการ

๑.โรงเรียนบานเพียมาต(รฐั ราษฎรพ ิทยาคาร) พ้นื ที่ ๒๐ ไร ๙๕ ตารางวา จัดต้ังเปน ศูนยการเรยี นการสอน
๒.โรงเรียนบา นมะยาง พืน้ ท่ี ๗๙.๑ ไร จัดต้งั เปน ศนู ยก ารเรียนรู “โคกหนองนาโมเดล”หา งจากโรงเรยี น

บา นเพียมาต (รฐั ราษฎรพทิ ยาคาร) ๔.๑ กิโลเมตร
๓.โรงเรยี นบา นปลาขาว พ้นื ที่ ๕.๓ ไร จดั ตง้ั เปน ศูนยก ารเรยี นรชู มุ ชน หา งจากโรงเรียนบานเพียมาต(รฐั ราษฎร

พิทยาคาร) ๒.๗ กโิ ลเมตร
๔.โรงเรยี นบานหนองแค สวนสวรรค พื้นที่ ๑๗.๑ ไร จดั ตั้งเปนบานพกั ครู หา งจากโรงเรยี นบานเพียมาต(รัฐราษฎร

พทิ ยาคาร) ๖.๓ กิโลเมตร
๕.โรงเรยี นบา นตัง พน้ื ที่ ๘.๑ ไร จัดต้ังเปนศนู ยก ารเรยี นรเู ศรษฐกิจพอเพยี ง หา งจากโรงเรยี นบา นเพียมาต

(รฐั ราษฎรพทิ ยาคาร) ๖.๕ กโิ ลเมตร

15

กลยุทธที่ ๒ แผนพฒั นาบุคลากร
ดานผูอ าํ นวยการและขาราชการครู
๑) ผอู ํานวยการโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน และผูอํานวยการโรงเรียนเครือขาย ดาํ เนินการจัดการ

ศกึ ษาโดยรวมกนั กาํ หนดบทบาทหนา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบสําหรับครผู สู อนและบุคลากรสนับสนุน การสอนทง้ั ใน
โรงเรยี นคณุ ภาพ และโรงเรยี นเครือขา ย ในการจัดการเรยี นการสอนและภาระงานอืน่

๒) ครูผูสอนโรงเรียนเครอื ขาย ท่ีประสงคจะขอยา ยไปยงั โรงเรยี นอ่นื ทม่ี ีครูตํ่ากวา เกณฑท่ี ก.ค.ศ.
กาํ หนด ใหไดรบั การพิจารณายา ยไดทนั ที เพือ่ ประโยชนของทางราชการดวยวิธกี ารยายหรอื การตดั โอนตาํ แหนง

๓) ครผู ูสอนโรงเรียนเครอื ขา ย มสี ิทธิขอยา ยไปโรงเรยี นอ่ืนทเี่ กินเกณฑไดในกรณีท่ีเปน สาขาทขี่ าด
แคลนตามมาตรฐานวิชาเอก และหากประสงคข อยา ยใหไ ดร ับการพิจารณาเปนกรณพี เิ ศษ เพ่อื ประโยชนของทาง
ราชการ

๔) ครผู ูสอนในโรงเรียนเครือขา ย อาจไปชว ยราชการในโรงเรียนหลักกอน จนกวาจะมกี าร
เปลย่ี นแปลง

๕) จัดและสาํ รวจครูทีป่ ระสงครวมอยใู นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชนสอนครบช้นั ครบวชิ าเอก
พรอมปฏบิ ตั หิ นาท่ีในปก ารศึกษา ๒๕๖๕

๖) จัดและสาํ รวจครพู ิเศษท่ีเชีย่ วชาญเฉพาะดาน เชน ดานภาษา ดนตรี ศิลปะ เปน ตน
๗) บุคลากรสายสนบั สนนุ เชน ครธู รุ การ พยาบาล นกั โภชนาการ นักจติ วทิ ยา เปนตน
๘) บุคลากร อ่นื ๆ เชน นักการภารโรง พนกั งานขบั รถ ยามรักษาความปลอดภัย แมบ า น แมครวั
เปน ตน
ดา นบคุ ลากรสนับสนนุ การสอน
บุคลากรสนบั สนุนการสอน เชน ลูกจาง พนกั งานราชการ พนกั งานธุรการ ครอู ัตราจา ง หรอื พนกั งาน
บริการอนื่ ๆ จากโรงเรยี นเครือขายมาปฏิบตั ิหนา ที่ ท่โี รงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชนจนกวาจะมีการเปลีย่ นแปลง
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ในระยะเริ่มแรกกอนมีการประกาศเลิกหรอื รวมโรงเรียน ใหค ณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานของแตละ
โรงเรยี นยังคงสถานะเปนคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรยี นน้ัน ๆ อยู ใหคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพน้ื ฐานทง้ั ของโรงเรียนคุณภาพของชุมชน และโรงเรียนเครือขาย รวมกนั ในการจัดการศึกษาท่ีโรงเรียนคุณภาพ
ของชุมชน จนกวาจะมีการประกาศเลิกโรงเรียนเครอื ขาย แลว ใหเสนอแตงตั้งคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะใหม ตามหลักเกณฑท ี่กําหนด ทง้ั นี้ ใหครอบคลมุ และเหมาะสมกับบริบทของโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน

16

กลยทุ ธท่ี ๓ แผนพฒั นาดานวิชาการ
๑. งานพฒั นาหลกั สตู ร
๑) แตงตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของโรงเรียนรวมกันระหวางโรงเรียน

คณุ ภาพกบั โรงเรยี นเครอื ขา ย
๒) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของโรงเรียนศึกษาวิเคราะหเอกสาร หลักสูตร

วิเคราะหสภาพแวดลอม บริบทของโรงเรียนคณุ ภาพและโรงเรียนเครอื ขาย เพื่อกําหนดวิสัยทัศน ภารกจิ เปาหมาย
โดยการมีสวนรวมของทุกฝา ยท่ีเก่ียวของ

๓) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของโรงเรียนปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาที่สอดคลองกับบริบท สภาพแวดลอมของโรงเรียนคุณภาพ และโรงเรียนเครือขาย ทั้งนี้ ใหดําเนินการ
ตามกระบวนการจัดทําหลักสูตรสถานศกึ ษา

๔) ครูนาํ หลักสูตรสถานศกึ ษามาวางแผนการจดั การเรียนรรู วมกัน
๒. งานพฒั นากระบวนการเรยี นรู

๑) ครูจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อปรับสภาพพ้ืนฐานความรูความสามารถของนักเรียนเพ่ือให
เกดิ การเรยี นรูรว มกนั อยา งมคี ณุ ภาพ

๒) พัฒนาครูใหตรงกับภาระงานที่ไดรบั มอบหมาย
๓) ผอู ํานวยการโรงเรียนหรือผูท่ีไดร ับมอบหมายนเิ ทศ ตดิ ตาม กํากบั การจัดกิจกรรม การเรยี นรูท่ีเนน
ผเู รยี นเปน สําคัญ
๓. งานวัดและประเมินผล
กําหนดระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลของโรงเรียนคุณภาพของชุมชนและโรงเรียนเครือขาย
รวมกันพิจารณาเพ่ือกําหนดใหเปนระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลเดียวกัน และใหใชระเบียบวัดและ
ประเมนิ ผลรวมกนั
๔. งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรียนคุณภาพของชุมชน และโรงเรียนเครอื ขาย รวมกันจัดทําระบบประกันคณุ ภาพภายในรวมกัน
เพอ่ื รองรบั การประเมินภายนอก
๕. การมอบหมายภาระงาน
๑) สํารวจความรูความสามารถของครู เพ่ือวํางแผนในการมอบหมายภาระงานใหดําเนินการ เชน
การประจําชนั้ การประจาํ กลมุ สาระการเรียนรกู ารดาํ เนินการตามโครงการตาง ๆ
๒) มอบหมายภาระงานใหสอดคลองกับความรูความสามารถของครูแตละคน
๖. งานธรุ การประจําชัน้ เรยี น
๑) โรงเรียนคุณภาพของชุมชน และ โรงเรียนเครอื ขาย ใชเอกสารธุรการประจาํ ชั้นเรียนของโรงเรียน
เดิมกอน สวนผูจัดทําเอกสารธุรการประจําช้ันเรียน ใหเปนหนาที่ของครูประจําชั้น/ครูประจาํ กลุมสาระการเรียนรู
ของโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน หรือครูทไี่ ดรบั มอบหมาย
๒) การเก็บรักษาเอกสาร/หลักฐานท่ีเก่ียวของหลังจากรวมโรงเรียนใหดําเนินการตามระเบียบ
กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ ง

17

๗. งานนเิ ทศภายในโรงเรยี น
โรงเรียนคุณภาพของชุมชนและ โรงเรียนเครือขาย รวมกันพิจารณาแตงต้ังคณะกรรมการ /

ผูร บั ผดิ ชอบการนิเทศภายในและทําการนิเทศภายในอยางเปนระบบตอเนื่อง โดยผูอํานวยการโรงเรยี นคุณภาพของ
ชุมชนเปนผลู งนามแตงตัง้

๘. งานวิจยั
๑) โรงเรียนคุณภาพของชุมชน และ โรงเรียนเครือขาย สงเสริมใหครูทําวิจัย ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนา

คุณภาพดานการเรียนรูของนกั เรยี น และนาํ ผลการวจิ ยั มาแลกเปล่ยี นเรยี นรรู วมกัน
๒) โรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน และ โรงเรียนเครือขาย รวมกันศึกษาวเิ คราะหและจัดทําวิจัยเพ่ือการ

บริหาร และการพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี นในภาพรวมของโรงเรียน
๙. งานแกปญหาการเรยี นรู
๑) จดั ทําขอมลู นักเรียนรายบุคคล เพ่อื คัดกรองแยกกลุม และปรับพ้นื ฐานความรขู องนักเรยี น

ใหใ กลเ คยี งกนั
๒) จดั ระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรยี น เพ่ือปอ งกนั แกไ ข สงเสริมการพัฒนาผูเรยี นใหม ศี กั ยภาพ

ตามมาตรฐานการเรียนรู และดําเนินการจัดกิจกรรมท่ีสรางสัมพันธภาพท่ีดีในการอยูรวมกันอยางมีความสุข เชน
การจัดกิจกรรมบายศรีสูขวญั รับเพื่อนใหม กจิ กรรมคา ยสรางสรรค หรือกิจกรรมอื่น ๆ ตามความเหมาะสม

๑๐. งานสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา
๑) โรงเรียนคุณภาพของชุมชน และ โรงเรียนเครือขาย นาํ สอ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา

มาใชจัดการเรียนการสอนรวมกันอยางมีประสิทธภิ าพและคมุ คา โดยโรงเรียนหลกั จัดเก็บ บํารุงรักษา ซอมแซมให
พรอ มใชง าน โดยจัดทําทะเบยี นควบคุมไวอยา งเปน ระบบ

๒) พัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการผลิต จัดหาและใชสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทาง
การศึกษาเพ่อื การจดั การเรียนการสอนอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

๑๑. งานหอ งสมดุ / แหลง เรียนรู
๑) จัดและพัฒนาหองสมุดในโรงเรียนคุณภาพ และนําเอกสาร วารสารหนังสือหองสมุด ในโรงเรียน

เครือขายมาจัดไวท่โี รงเรยี นคณุ ภาพ เพื่อพฒั นาใหเปน แหลง เรียนรูท่ีเหมาะสมเพียงพอกับจํานวน นักเรยี นที่เพม่ิ ขึน้
๒) การดูแล เก็บรักษา ซอมบํารุงครุภัณฑใหอยูในสภาพท่ีดีใหผูบริหารโรงเรียนคุณภาพ เปน

ผรู ับผิดชอบ
๓) สํารวจและพัฒนาแหลงเรียนรทู งั้ ในและนอกโรงเรยี นรวมท้งั นาํ ภมู ปิ ญญาทองถิ่นมารวมกัน จัดการ

เรียนรูเพอ่ื นาํ ไปสูก ารสรา งเครอื ขา ยความรวมมอื ทางวชิ าการ
กลยุทธท ่ี ๔ แผนพัฒนาดา นการรับนักเรียน/เครือขา ย

๑) ประชมุ คณะครูบคุ ลากรทางการศึกษา และผปู กครองใหร ับทราบนโยบาย
๒) สง บคุ ลากรแนะแนวเชงิ รุกทีบ่ านและโรงเรยี น
๓) พบผูปกครองเพ่ือแนะแนวทางการศกึ ษาทง้ั ดานสามัญและดานอาชพี
๔) สรางความรูและความเขา ใจกบั ผูปกครอง
๕ ) จัดทําแผนการรบั นกั เรยี นในแตละป ศกึ ษาขอมูลและปฏิบัติตามนโยบายในของ สพฐ. สพป.

18

๖) รณรงคนักเรียนท่ีจบ ป. ๖ ศกึ ษาตอ ทีโ่ รงเรียนบา นเพียมาต(รัฐราษฎรพ ทิ ยาคาร)
๗) ระดมทรพั ยากรดานทุนการศึกษาสําหรับนักเรียนเขา ใหมในระดบั ช้นั อนบุ าล ๒ และมยั มศกึ ษาปท ่ี ๑
๘) นักเรียนโรงเรียนเรยี นรวมจะมโี อกาสเขา ถงึ การจัดการศึกษาทม่ี คี ุณภาพ
๙) นักเรยี นมีสือ่ การเรียนการสอนทีท่ ันสมยั และเพียงพอ
๑๐) โอกาสในการมีงานทาํ ในอนาคต
๑๑) ไดเ รียนรูกับครูครบชน้ั ตรงสาขาวชิ าเอก
๑๒) มีรถ รบั -สง ในการเดินทางไปโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน
๑๓) มีประกันชีวิตและมาตรการรักษาความปลอดภยั

แผนการรับนกั เรยี น ปก ารศึกษา ๒๕๖๕ ปการศึกษา ๒๕๖๕
ชน้ั

โรงเรยี น นักเรียนเกิด ป พ.ศ รวม
โรงเรียน บานหนองแค

สวนสวรร ค
โรงเรียน บานปลาขาว
โรงเรียน บานมะยาง

โรงเรียน บาน ัตง
โรงเรียน บานเพียมาต
(รัฐราษฎรพิทยาคาร)
โรงเรียน บานหนอง บอ

อนุบาล ๒ ๒๕๖๐ ๘ ๒ ๖ ๙ ๒๗ ๒ ๕๔

อนุบาล ๓ ๒๕๕๙ ๑๐ ๕ ๘ ๘ ๑๙ ๗ ๗๓

ประถมศกึ ษาปที่ ๑ ๒๕๕๘ ๑๑ ๘ ๖ ๘ ๒๑ ๙ ๖๓

ประถมศกึ ษาปท ่ี ๒ ๒๕๕๗ ๑๐ ๙ ๑๔ ๖ ๒๓ ๙ ๗๑

ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๒๕๕๖ ๑๖ ๘ ๗ ๕ ๒๗ ๔ ๖๗

ประถมศึกษาปท ่ี ๔ ๒๕๕๕ ๑๓ ๖ ๗ ๑๒ ๓๔ ๔ ๗๗

ประถมศึกษาปท่ี ๕ ๒๕๕๔ ๑๕ ๑๐ ๙ ๕ ๓๓ ๙ ๘๑

ประถมศึกษาปท ่ี ๖ ๒๕๕๓ ๑๙ ๘ ๑๐ ๑๒ ๒๗ ๑๐ ๘๖

มัธยมศึกษาปท่ี ๑ ๒๕๕๒ ๑๗ ๕ ๕ ๑๒ ๓๑ ๕ ๘๕

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ ๒๕๕๑ - - - - ๑๕ - ๑๕

มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ ๒๕๕๐ - - - - ๓๒ - ๓๒

รวมนกั เรยี น ๗๐๔

19

กลยุทธท ่ี ๕ แผนดานการประชาสัมพนั ธ
๑.เผยแพรประชาสัมพันธผลการดําเนินงานโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ตลอดจนเปดรั้วโรงเรียน

คุณภาพของชุมชน ดําเนินการจัด OPEN HOUSE (เปดบานเยี่ยมชม) เพ่ือเปนตนแบบใหกับโรงเรียนในสงั กัดและ
หนว ยงานอืน่ ที่สนใจเพื่อสรางความเขา ใจและประชาสมั พนั ธผ ลการดาํ เนนิ งานอยางภาคภมู ิใจ

๒.เผยแพรประชาสัมพันธสงเสรมิ เอกชน บาน วัด/ศาสนสถานอนื่ ๆ รฐั และโรงเรียน เขา มามีสวนรวม
และสนบั สนนุ ในการพฒั นาโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ดว ย แผนพบั ประกาศ VTR YOUTUBE FACEBOOK

20

สวนที่ ๕
แนวทางการบรหิ ารแผนพฒั นาโรงเรียนคุณภาพของชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๕

สูการปฏิบตั ิและการติดตามประเมินผล

การนําแผนสูการปฏิบตั แิ ละการติดตามประเมนิ ผล
๑. การนําแผนสกู ารปฏิบัติ
การนําแผนพัฒนาโรงเรียนไปสูการปฏิบัตินับเปนข้ันตอนที่สําคัญมาก เพราะเปนความสามารถที่จะ

ผลกั ดนั การทํางานของกลไกทีส่ ําคญั ทัง้ หมด ใหส ามารถบรรลุผลลพั ธตามที่ต้ังเปาหมายไว การดําเนนิ งานจะเกดิ ผล
อยางมีประสิทธิภาพจําเปนอยางยิ่งที่จะตองผลักดันใหมีการปรับเปล่ียนแนวคิด คานิยม เปามาย รวมถึงวิธีและ
กระบวนการทาํ งาน การนําแผนไปสูการปฏิบัติจะตองทําใหห นว ยงานยอมรับแนวทาง แผนงาน โครงงานนั้น และพรอม
ที่นําแนวทางนั้นไปดําเนินการไดอยางเหมาะสมกับสภาพแวดลอม และวิธีการปฏิบัติงานของตน ดังน้ัน
จึงจําเปนตองมีการระดมกําลัง แสวงหาการสนับสนุน เพ่ือใหเกิดการปฏิบัติและสรางความเปนปกแผนใหเกิดข้ึน
เพ่ือใหผูเก่ียวของมีความรูสึกเปนเจาของและมีสวนรวม ดังนั้น เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค และเปาหมายของการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาจงึ กําหนดแนวทางการนําแผนไปสูก ารปฏบิ ัติ โดยสังเขป ดังนี้

๑) ผบู รหิ ารโรงเรยี นผลกั ดนั ใหมีการดาํ เนินงานตามแผนอยางมีประสทิ ธิภาพ และสมา่ํ เสมอ โดยวิธีการ ประชุม
ศึกษาขอมลู รบั ทราบนโยบาย จัดทาํ แผน/โครงการของงานแตละกลยทุ ธ์ิ

๒) โรงเรียนจัดทําแผนระยะกลางและจัดทําแผนปฏิบัติการ และดําเนินการตามแผน มีการกํากับติดตาม
ประเมินคุณภาพ ประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใหประสบผลสําเร็จตามท่ีมุงหวังไว โดยวิธีการ ประชุม
ศกึ ษาขอ มลู รบั ทราบนโยบาย จัดทาํ แผน/โครงการของงานแตล ะกลยทุ ธิ์

๓) เรง รัดใหห นวยงานดําเนินงาน เพ่ือเผยแพรและเสรมิ สรางความรคู วามเขาใจเกี่ยวกับสาระสําคัญของ
แผนใหครูและบุคลากรที่เกี่ยวของไดทราบ มีสวนรวมและใหการสนับสนุนอยางกวางขวาง เพ่ือใหการนําแผนสูการ
ปฏบิ ตั ิ เปนไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพเกิดความเปน ปกแผน ตอ เนื่อง

๔) มีการกําหนดภารกิจความรับผิดชอบใหชัดเจนเพ่ือความสอดคลองกับแผนงาน และแผนอัตรากําลัง
และขจัดความซา้ํ ซอ นของงาน

๕) วางแนวปฏิบัติ เพือ่ ใหเกิดความคลองตัวและชดั เจนแกผปู ฏิบัตแิ ละผเู ก่ียวขอ ง รวมท้งั ลดข้ันตอนใน
การปฏบิ ัตงิ านเพ่อื ใหม ีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน

๖) พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศทางการศกึ ษาใหมีความแมนยาํ และเปน ปจจบุ ัน และสามารถใหบ รกิ าร
ไดตรงกบั ความตอ งการและทนั ตอการเปลี่ยนแปลง

๗) พฒั นาระบบการกาํ กบั ตดิ ตาม และการประเมนิ ผล ทีม่ ุงเนน ประเมินเพ่อื การพฒั นาและปรบั ปรุงการ
ดําเนินงานจ โดยมีการพัฒนาตัวช้ีวัดผลสําเร็จการดําเนินงานทั้งในดานปริมาณ คุณภาพระยะเวลาในการประเมิน
ผูประเมนิ และแนวทางในการเกบ็ รวบรวมขอมลู

21

๒. การติดตามและประเมนิ ผล

หลังจากที่โรงเรียนไดปฏิบัติดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรน้ีแลว จําเปนตองมีการกํากับติดตาม และ

ประเมนิ ผล เพ่ือใหท ราบผลและความกา วหนาในการปฏิบัตงิ าน วาจะสามารถบรรลวุ ัตถปุ ระสงคทก่ี ําหนดในเวลาท่ี

กําหนดไวห รอื ไม โดยการตดิ ตามประเมนิ ผล จะวดั จากจดุ มงุ หมายหลัก โดยสรุปไดดงั นี้

๑) มุงหวังใหผูเรยี นมีบุคลิกภาพทีเ่ ปนผนู ํา มคี ุณธรรม สังคมยกยองและใหการยอมรับ มีทักษะในการ

เรยี นรูด า นวชิ าการ รับผดิ ชอบตอสงั คม มีสํานึกในความเปนไทย รูจักดาํ รงชีวติ อยา งมคี ุณคา มีสุขภาพทีด่ ี

๒) มุงพัฒนาระบบและบุคลากรฝายบริหารใหเปนมืออาชีพ เพ่ือสนองความตองการของสังคมทาง

วิชาการ โดยเนนคณุ ภาพระดับสากล และสามารถปลกู ฝงคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคแกผเู รยี นและใหบ ุคลากรทกุ คน

ไดรบั การพฒั นาความสามารถอยา งตอเนือ่ ง โดยสามารถดาํ รงไวซ ่ึงจรรยาบรรณแหง วิชาชพี

๓) มุงเนนการจัดการศึกษาที่มีอิสระ และคลองตัวในการบริหารจัดการ เพื่อใหสามารถสรา งมาตรฐาน

การบริการใหเปน ที่พงึ พอใจของผูใชบรกิ าร โดยการประเมินผลมกี ระบวนการอยางคราวๆ ดงั น้ี

(๑) โรงเรยี นสรางกระบวนการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลอยา งตอ เน่ือง และสรา ง

เครือขา ยเชอื่ มโยงเปนระบบเดยี วกัน เพอื่ สามารถเอื้อประโยชนร วมกนั ไดใน

ทกุ หนว ยงาน โดยจัดทําเกณฑช ี้วดั ความสําเรจ็ ของแผนตามวัตถปุ ระสงคทก่ี ําหนดไวใหเปน รปู ธรรม

(๒) ประชาสัมพันธเ ผยแพรผลงานใหบุคลากรทราบอยา งตอ เน่ือง

(๓) มกี ารปรบั ปรุงแผนเพอ่ื ใหส อดคลองกับสภาพการณท่เี ปล่ยี นแปลงไป

(๔) สรางมาตรการเรงรัด หากมีโครงการท่ีดําเนินการชากวาที่กําหนด และตรวจสอบคุณภาพอยาง

ใกลชดิ และสม่าํ เสมอ

(๕) โรงเรียนคุณภาพของชุมชนแตงตั้งคณะกรรมการกํากับ ติดตามและประเมินผล และรายงานผล

การดําเนนิ งานประกอบดว ย

๑. ผูอาํ นวยการโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน ประธานคณะกรรมการ

๒. ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนคุณภาพ กรรมการ

๓. ผูอาํ นวยการโรงเรยี นเครือขายทกุ โรง กรรมการ

๔. ครูรบั ผิดชอบงานการเงนิ /บัญชี/พสั ดุ กรรมการ

๕. ผูแ ทนชุมชนและผปู กครอง กรรมการ

๖. ผแู ทนองคกรปกครองสวนทองถิน่ กรรมการ

๗. ครูผูร บั ผดิ ชอบโครงการ กรรมการและเลขานุการ

มีหนาที่กํากับ ติดตามการดําเนินงานโครงการ จัดเตรียมขอมูลสงเสริม สนับสนุน และอํานวยความ

สะดวกในการรับ ตรวจ ติดตาม ประเมินผล เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวและรายงานผล

การดําเนินงานตามระยะเวลาท่ีกาํ หนด โดยใหร ายงานผลตอ สํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา

22

ภาคผนวก

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33