แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้

       5 แนวความคิดทางการตลาด ที่จะทำให้คุณ ประสบความสำเร็จ   

  

ในการดำเนินงานทางการตลาดต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุตามจุดมุ่งหมายทางการตลาด ต้องอาศัยแนวคิดหรือแนวทางในการดำเนินงาน ที่เรียกว่าแนวคิดทางการตลาด(Marketing Concept) หมายถึง ลักษณะการใดๆ ที่ทรัพยากรทั้งหมดของกิจการหนึ่งได้รับการจัดสรร เพื่อสร้างสรรค์ กระตุ้น และก่อให้เกิดความพอใจกับลูกค้าในระดับที่กิจการได้กำไร

แนวความคิดทางการตลาด แบ่งออกเป็น5 แนวความคิด ดังนี้

1.แนวความคิดมุ่งการผลิต

           

แนวความคิดมุ่งการผลิต (The Production Concept) เป็นแนวความคิดที่มุ่งเน้นการปรับปรุงและให้ความสำคัญกับการผลิตรวมถึงการหาวิธีที่จะจำหน่ายจ่ายแจกให้มีประสิทธิผลมากที่สุดแนวความคิดนี้มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์ทางธุรกิจ 2 ประการคือ

              1.1 เหมาะกับธุรกิจที่มีปริมาณความต้องการในตัวผลิตภัณฑ์มากกว่าสิ่งที่มีขายอยู่หรืออาจกล่าวว่าเหมาะกับธุรกิจที่มีอุปสงค์ (Demands) มากกว่าอุปทาน (Supplies) นั้นหมายถึงลูกค้าพร้อมที่จะซื้อสินค้าได้โดยไม่ต้องเลือก

              1.2 ธุรกิจที่มีต้นทุนในการผลิตสูงมากและองค์กรต้องการลดต้นทุนการผลิตให้ต่ำลงด้วยวิธีการผลิตในจำนวนมาก ๆ ในแต่ละครั้งการผลิต

2. แนวความคิดมุ่งผลิตภัณฑ์

            แนวความคิดมุ่งผลิตภัณฑ์ (The Product Concept) เป็นแนวความคิดที่ได้รับการพัฒนามาจากสถานการณ์สินค้าล้นตลาด ส่วนหนึ่งอาจมาจากการแข่งขันการผลิตมากจนเกินไปเนื่องจากยึดปรัชญามุ่งการผลิตมากเกินไปทำให้เกิดสินค้ามากมาย ประกอบกับสมมุติฐานที่ว่าผู้บริโภคจะมีความชอบพอในสินค้าต่างๆ ที่ให้ความคุ้มค่าสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับราคา ดังนั้นกิจการจึงทุ่มเทความสามารถในการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีมากที่สุด ดีกว่าคู่แข่งขันภายใต้แนวความคิดที่ว่า“ ของดีย่อมขายได้”

3. แนวความคิดมุ่งการขาย

             แนวความคิดมุ่งการขาย (The Selling Concept) แนวความคิดนี้เป็นไปตามข้อสมมติฐานที่ว่า โดยปกติวิสัยของผู้บริโภคจะไม่พยายามซื้อของที่ไม่จำเป็นจริงๆ  แต่ก็สามารถชักจูงใจได้ไม่ยาก ฉะนั้นกิจการจึงมุ่งใช้ความพยายามในการใช้เครื่องมือขาย เข้ามาช่วยกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความสนใจและต้องการในผลิตภัณฑ์ของตน ธุรกิจที่ยึดแนวความคิดนี้จะให้ความสำคัญมากที่สุดกับทีมงานขายของกิจการ แนวความคิดนี้มักถูกใช้ในทางปฏิบัติกับกลุ่มของสินค้าไม่แสวงซื้อ (Unsought Goods) เช่น สารานุกรม การประกันภัย รวมถึงสินค้าที่ผู้ซื้อไม่ได้วางแผนการซื้อมาก่อนผู้ขายจะต้องใช้ความพยายามหาทางเปลี่ยนมุมมองกลุ่มลูกค้าคาดหวัง และขายสินค้าดังกล่าวภายใต้ผลประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับในผลิตภัณฑ์นั้น

4. แนวความคิดมุ่งการตลาด

            แนวความคิดมุ่งการตลาด (The Marketing Concept) เป็นแนวความคิดมุ่งที่ถือว่าการบรรลุเป้าหมายกิจการขึ้นอยู่กับการกำหนดความจำเป็น และความต้องการของตลาดเป้าหมายการส่งมอบความพึงพอใจอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหนือคู่แข่งขัน ตัวอย่างของแนวคิดนี้เป็นต้นว่า คติพจน์ของสายการบินไทย“ รักคุณเท่าฟ้า” หรือรถยนต์โตโยต้า“ You Come First”

5. แนวความคิดการตลาดเพื่อสังคม

            แนวความคิดการตลาดเพื่อสังคม (The Social Marketing Concept)เป็นแนวความคิดสมัยใหม่ที่ธุรกิจในปัจจุบันนี้ให้ความสนใจ และใช้เป็นแนวทางในการดำเนินกิจการ ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็มีความคิดเห็นว่าธุรกิจควรให้บริการช่วยเหลือแก่สังคมในด้านต่างๆ โดยมิใช่มุ่งตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคเพื่อให้ธุรกิจบรรลุเป้าหมายเพียงเท่านั่นแต่ควรจะคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น การไม่ผลิตสินค้าด้อยคุณภาพ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมรวมถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ด้วย

การปฏิบัติตามหลัก 3 R คือ

Re-fill = การผลิตสินค้าชนิดเติม ทำให้ประหยัดวัสดุในการผลิตบรรจุภัณฑ์

Re-use = การผลิตสินค้าที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์ที่นำมาใช้ซ้ำหรือกลับมาใช้ประโยชน์อื่นได้

Recycle = การใช้บรรจุภัณฑ์ที่ทำจากกระดาษหรือพลาสติกที่ผลิตจากวัสดุที่ใช้แล้วนำมาผลิตใหม่

แนวความคิดทางการตลาดแบบมุ่งเน้นสังคมจะยึดหลักว่าการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันจะต้องควบคู่ไปกับการทำกิจกรรมต่างๆ ที่ทำให้ผู้บริโภคมองกิจการในแง่ดีว่าเป็นผู้ทำธุรกิจเพื่อสังคมห่วงใยสังคม และห่วงใยสิ่งแวดล้อม
 

แนวความคิดทางการตลาด  คือ “การที่องค์การใช้ความพยายามทั้งสิ้นเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า เพื่อมุ่งให้เกิดยอดขายและกำไรในที่สุด”

            วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งออกเป็น 5 แนวความคิด ดังนี้

1.แนวความคิดแบบมุ่งเน้นการผลิต (Production Concept)

          เป็นแนวความคิดที่เก่าแก่ที่สุดของฝ่ายขาย โดยคิดว่าผู้บริุโภคพอใจที่จะซื้อเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่ตนชอบ หาซึ้อง่าย และต้นทุนต่ำเท่านั้น ดังนั้นหน้าที่ด้านการตลาดคือปรับปรุงผลิตในปริมาณมากภายใต้ต้นทุนการผลิตที่ต่ำที่สุด สินค้าที่ผลิตออกมาสามารถขายได้เกือบทั้งหมด เนื่องจากอุปสงค์ (Demand) หรือปริมาณความต้องการในสินค้าที่จะใช้บริโภคมีมากกว่าอุปทาน (Supply) ซึ่งเป็นปริมาณของการเสนอขายสินค้าที่ผลิตสินค้าออกสู่ตลาด

แนวความคิดทางการตลาดแบบมุ่งเน้นการผลิตนี้ จะยึดหลักว่าผู้บริโภคจะพิจารณาซื้อด้วยความพึงพอใจในสินค้าที่มีราคาต่ำและหาซื้อได้ง่าย นักการตลาดจึงต้องปรับปรุงการผลิตให้ดีขึ้น เพื่อลดต้นทุนให้ต่ำและจัดจำหน่ายให้ทั่วถึง ซึ่งจะเป็นตลาดของผู้ขายหรือตลาดผูกขาด

               

แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้
 
แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้

2. แนวความคิดแบบมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ (Product Concept)

            เนื่องจากผลของการมุ่งเน้นการผลิตที่ใช้ต้นทุนต่ำ เพื่อให้ได้ผลผลิตจำนวนมาก โดยสินค้าที่ผลิตออกมาจำหน่ายไม่มีความแตกต่างกัน ทั้งในด้านคุณภาพและราคาทำให้เกิดภาวะสินค้าล้นตลาด ดังนั้นนักการตลาดจึงต้องพยายามคิดค้นหาวิธีที่จะทำให้สินค้าเกิดความแตกต่างจากคู่แข่งขัน โดยปรับปรุงสินค้าให้มีคุณภาพและรูปลักษณ์ที่ดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับราคา เพื่อสร้างความแตกต่างแนวความคิดทางการตลาดแบบนี้จะยึดหลักว่าผู้บริโภคจะมีความพึงพอใจในสินค้าที่มีคุณภาพและรูปลักษณ์ที่ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับราคาจึงต้องปรับปรุงคุณภาพและพัฒนาให้ดีกว่าคู่แข่งขัน

แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้

ลูกค้าจะตัดสินใจซื้อเพราะพอใจในคุณภาพและรูปลักษณ์ใหม่ของสินค้า

 3. แนวความคิดแบบมุ่งเน้นการขาย (Selling Concept)

เป็นแนวความคิดที่ให้ความสำคัญกับกิจกรรมทางด้านการขาย เนื่องจากคู่แข่งที่มีอยู่มากในตลาด ได้มีการพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพเท่าเทียมกันประกอบกับเป็นช่วงที่ผู้บริโภคคำนึงถึงความจำเป็นในการใช้สินค้า กล่าวคือผู้บริโภคจะซื้อเฉพาะสินค้าที่จำเป็นและตรงกับความต้องการเท่านั้น นักการตลาดจึงต้องจูงใจให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งวิธีการกระตุ้นความต้องการของผู้บริโภคคือการอาศัยพนักงานขายให้เป็นผู้นำเสนอขายสินค้า กิจการต่าง ๆ พยายามที่ปรับปรุงรูปแบบวิธีการขาย โดยมีการฝึกอบรมเกี่ยวกับเทคนิคการขายให้กับพนักงานขาย มีการส่งเสริมการตลาดในด้านต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมการขายด้วยของแจกของแถม การเผยแพร่ข่าวสาร การจัดกิจกรรมเพื่อทำให้ผู้บริโภคเกิดความสนใจ และตัดสินใจซื้อสินค้า

แนวความคิดทางการตลาดแบบมุ่งเน้นการขาย จะยึดหลักว่าผู้บริโภคจะซื้อสินค้าต่อเมื่อมีความจำเป็น นักการตลาดจึงต้องพยายามปรับปรุงหน่วยงานขายให้มีประสิทธิภาพ ด้วยการคัดสรรพนักงานที่มีความสามารถในด้านของเทคนิคการขาย โดยพยายามคิดค้นหาวิธีการขายรูปแบบใหม่ ๆ

แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้

มุ่งเน้นการขายโดยรูปแบบส่งเสริมการขาย (ซื้อ 1 แถม 1)

4.แนวความคิดแบบมุ่งเน้นการตลาด (Marketing Concept)

          เป็นแนวความคิดทีกิจการให้ความสำคัญต่อผู้บริโภคมากขึ้น โดยเริ่มมีการศึกษาวิเคราะห์ถึงความต้องการของผู้บริโภคเป็นอันดับแรกและสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค แล้วจึงนำข้อมูลที่ได้ไปผลิตเป็นสินค้าขึ้นมา เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแนวความคิดแบบเดิมที่มุ่งเน้นแต่ทางด้านการผลิต เมื่อมีสินค้าจำนวนมากแล้วก็นำออกขายแก่ผู้บริโภค ธุรกิจจึงต้องทำการหาข้อมูลทางการตลาดเกี่ยวกับผู้บริโภคให้มากที่สุดแล้วนำข้อมูลที่ได้รับมาดำเนินการผลิต

                   

แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้
แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้

           แนวความคิดทางการตลาดแบบมุ่งเน้นการตลาด จะยึดหลักว่าผู้บริโภคจะซื้อสินค้าด้วยความพึงพอใจนอกเหนือจากคุณภาพของสินค้า นักการตลาดจึงต้องทำการวิจัยตลาด วิจัยพฤติกรรมของผู้บริโภค แล้วนำข้อมูลมาผลิตเป็นสินค้าหรือปรับปรุงสินค้าให้มีประสิทธิภาพและตรงกับความต้องการ เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคซึ่งมีความแตกต่างกับแนวความคิดทางการขายด้านต่าง ๆ ดังนี้

5.แนวความคิดด้านการตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing Concept)

เป็นแนวความคิดสมัยใหม่ที่ธุรกิจในปัจจุบันนี้ให้ความสนใจ และใช้เป็นแนวทางในการดำเนินกิจการ ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็มีความคิดเห็นว่าธุรกิจควรให้บริการช่วยเหลือแก่สังคมในด้านต่าง ๆ โดยมิใช่มุ่งตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคเพื่อให้ธุรกิจบรรลุเป้าหมายเพียงเท่านั้น แต่ควรจะคำนึ่งถึงความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น การไม่ผลิตสินค้าด้อยคุณภาพ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม รวมถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ด้วยการปฏิบัติตามหลัก 3 R’s คือ

Re-fill  = การผลิตสินค้าชนิดเติม ทำให้ประหยัดวัสดุในการผลิตบรรจุภัณฑ์

Re-use          = การผลิตสินค้าที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์ที่นำมาใช้ซ้ำหรือกลับมาใช้ประโยชน์อื่นได้

Recycle =การใช้บรรจุภัณฑ์ที่ทำจากกระดาษหรือพลาสติก ที่ผลิตจากวัสดุที่ใช้แล้วนำมาผลิตใหม่

แนวความคิดทางการตลาดแบบมุ่งเน้นสังคม จะยึดหลักว่าการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันจะต้องควบคู่ไปกับการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้บริโภคมองกิจการในแง่ดีว่าเป็นผู้ทำธุรกิจเพื่อสังคม ห่วงใยสังคม และห่วงใยสิ่งแวดล้อม

แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้

เปรียบเทียบแนวความคิดทางการตลาดแบบเก่ากับแบบใหม่

แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาด ดังนี้

สรุปแนวความคิดทางการตลาด

แนวความคิดทางการขายแตกต่างจากแนวความคิดทางการตลาดอย่างไร

" การขาย " คือ กิจกรรมที่นำสินค้าที่ผลิตขึ้นมาโดยความคิด และความต้องการของผู้ผลิต แล้วนำสินค้านั้นออกไปกระตุ้นให้เกิดความต้องการ เพื่อผลักดันให้เป็นเงินสดขึ้นมา " การตลาด " คือ การมุ่งเสาะแสวงหากลุ่ม ลูกค้าเป้าหมาย สอบถามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และผลิตสินค้า สร้างสรรค์สินค้า บริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อ

การตลาดและการขายมีความแตกต่างกันอย่างไร

. คุณควรทำความเข้าใจสิ่งที่แตกต่างระหว่าง 'การตลาด' กับ 'การขาย' เพื่อเลือกใช้ศาสตร์ทั้งสองให้ตรงกับธุรกิจที่คุณทำให้มากที่สุด 1. การตลาดเน้นการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ข้อดีของสินค้า แต่การขายเน้นการนำเสนอที่ตอบโจทย์ลูกค้า

แนวความคิดการขายมีอะไรบ้าง

แนวความคิดแบบเน้นการผลิต (The Production Concept) แนวความคิดแบบเน้นผลิตภัณฑ์(The Product Concept) แนวความคิดแบบเน้นการขาย (The Selling Concept) แนวความคิดแบบเน้นการตลาด (The Marketing Concept) แนวความคิดแบบเน้นการตลาดและสังคม (The Social Marketing Concept)

แนวความคิดทางการตลาดมีกี่แนวความคิดอะไรบ้าง

แนวความคิดทางการตลาด แบ่งออกเป็น5 แนวความคิด ดังนี้ 1.แนวความคิดมุ่งการผลิต แนวความคิดมุ่งการผลิต (The Production Concept) เป็นแนวความคิดที่มุ่งเน้นการปรับปรุงและให้ความสำคัญกับการผลิตรวมถึงการหาวิธีที่จะจำหน่ายจ่ายแจกให้มีประสิทธิผลมากที่สุดแนวความคิดนี้มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์ทางธุรกิจ 2 ประการคือ