พฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง ม. 2

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8

การหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมเสยี่ ง
และสถานการณเ์ สย่ี ง

ตัวชีว้ ัด อธิบายวิธีการหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมเส่ยี งและสถานการณเ์ สย่ี ง
(พ 5.1 ม.2/2)

ผงั สาระการเรียนรู้

ความจาเป็นในการหลกี เล่ยี ง พฤติกรรมเส่ียง
พฤติกรรมเส่ยี งและสถานการณเ์ ส่ยี ง และสถานการณเ์ ส่ยี ง

การหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมเส่ียง การม่วั สมุ
และสถานการณ์เสี่ยง การทะเลาะวิวาท

กระบวนการปอ้ งกนั และหลกี เล่ยี ง การเขา้ ไปในแหลง่ อบายมขุ
พฤติกรรมเส่ยี งและสถานการณเ์ ส่ียง การแขง่ ขนั รถจกั รยานยนต์
บนทอ้ งถนน
การปฏิเสธ
การเขา้ ไปในฝงู ชน

กระบวนการคิด

ทกั ษะชีวิต การคาดคะเน การตอ่ รอง

การหลีกเล่ยี งพฤติกรรมเส่ยี งและสถานการณเ์ สยี่ ง

ความจาเป็ นในการหลกี เลย่ี งพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง
พฤตกิ รรมเสี่ยงเป็นการกระทาของบุคคลท่มี ีโอกาสที่จะทาใหเ้ กิดอันตรายตอ่ ตนเอง

หรอื ผู้อืน่ เชน่ การขับรถเรว็ การเมาแลว้ ขับเปน็ พฤติกรรมเส่ยี งตอ่ การเกดิ อบุ ัติเหตุ การ
อย่กู ับเพศตรงข้ามในทล่ี ับตา การสัมผสั ร่างกาย เป็นพฤตกิ รรมเสย่ี งต่อการมเี พศสมั พันธ์

พฤติกรรมเส่ียงและสถานการณ์เส่ียง

1. การม่วั สมุ

1.1 การม่ัวสมุ เสพสารเสพตดิ
วิธีการหลกี เล่ยี งป้องกัน
1) ไม่หลงเชือ่ คาชกั ชวนของเพือ่ น เม่ือเพอ่ื นชวนไปทดลองสารเสพติด เชน่
บุหร่ี หรอื เครื่องด่มื ทม่ี ีแอลกอฮอล์ เพราะเปน็ บอ่ เกดิ ของการติด
สารเสพติดท่ีเป็นอนั ตรายเพม่ิ มากข้ึน
2) รจู้ ักหลีกเลี่ยงการคบหาคนทตี่ ิดสารเสพตดิ เพราะอาจชกั นาให้เราใช้
สารเสพตดิ ได้
3) ไมห่ ลงเชอ่ื คนแปลกหนา้ ที่เข้ามาพดู คุยกับเรา
4) ไม่ทดลองเสพสารเสพตดิ เพราะอาจทาใหเ้ กดิ การติดได้ เพราะส่วนใหญค่ น
ท่ไี ด้ทดลองใช้ครง้ั แรกมกั จะตดิ ใจและใช้สารเสพตดิ ต่อไปเรือ่ ย ๆ

1.2 การม่วั สุมเล่นเกมคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพวิ เตอร์ในเวลาเรียน
วธิ กี ารหลีกเลี่ยงป้องกนั เพ่ือค้นหาข้อมูลข่าวสารจะทาให้นักเรียน
1) หลกี เลี่ยงการเล่นเกมคอมพวิ เตอร์
ในรา้ นอินเทอร์เนต็ ที่มีกลุ่มวยั รุน่ มคี วามรู้เพม่ิ ขนึ้
ม่วั สุมกนั เพราะอาจเกดิ ปญั หา
อาชญากรรม และการตดิ สาร
เสพติดได้
2) ไม่ออกนอกโรงเรยี นเพอื่ ไปเลน่ เกม
ในชว่ งเวลาเรียน
3) หากจิ กรรมทาในชว่ งเวลาวา่ ง เช่น
เลน่ กีฬา หรือออกกาลงั กาย

1.3 การมั่วสุมในเรอื่ งเพศ 2) ไมอ่ ยู่ในทรี่ โหฐานตามลาพัง
วธิ กี ารหลีกเลี่ยงปอ้ งกนั 4) ไมเ่ สพของมึนเมาหรอื สารเสพติด

1) ไมส่ มั ผัสรา่ งกายกนั เพราะถอื ว่าไมส่ ภุ าพ
3) ไม่ดูส่อื ย่วั ยอุ ารมณท์ างเพศกับเพศตรงขา้ ม

1.4 การมัว่ สมุ เพ่ือยกพวกตกี นั
วธิ กี ารหลีกเล่ียงปอ้ งกัน ไม่เขา้ ไปรวมกลุ่มกับเพอ่ื นท่ีมีแนวโน้มรวมตวั เพอื่ ยกพวก

ตกี ันหรอื ทะเลาะวิวาทกบั กลมุ่ อนื่

1.5 การมว่ั สุมในทส่ี าธารณะ
วิธีการหลีกเลยี่ งปอ้ งกนั ไมเ่ ข้าไปรวมกลมุ่ กบั เพอ่ื นท่ีไมไ่ ด้รวมกลุ่มเพ่อื ทากจิ กรรมท่ี

สร้างสรรค์

1.6 การมั่วสมุ ในหอ้ งนา้ ของโรงเรียน
วิธกี ารหลกี เลยี่ งปอ้ งกัน ไมเ่ ขา้ ไปรวมกลุม่ กับเพ่ือนทม่ี ีพฤติกรรมทผี่ ดิ ๆ โดยใช้เวลา

วา่ งเข้าหอ้ งสมดุ หรอื เลน่ กฬี าแทน

1.7 การมว่ั สมุ ตามงานต่าง ๆ
วธิ กี ารหลีกเล่ยี งปอ้ งกนั ไมเ่ ข้าไปรวมกลุ่มกับ

เพ่อื นท่ีมีพฤตกิ รรมเสี่ยงต่อการทาผดิ กฎหมาย ถ้ามี
ความจาเป็นต้องไปรว่ มงานตา่ ง ๆ ควรไปกับพอ่ แม่
หรอื ผปู้ กครอง

2. การทะเลาะวิวาท ผลกระทบ
1) ทาใหเ้ กิดความบาดหมางและอาจ
2.1 การทะเลาะววิ าทในกล่มุ เพื่อน
สาเหตุ เลิกคบกนั ได้
1) ความคิดเห็นขดั แยง้ กนั 2) ทาใหเ้ กิดการทาร้ายร่างกายจนไดร้ ับ
2) เกิดการกระทบกระทงั่ กนั ท้งั โดย
บาดเจบ็ หรืออาจถึงข้นั เสียชีวติ
เจตนาและไม่เจตนา 3) ผปู้ กครองเดือดร้อนและตนเองก็
3) เล่นกีฬาท่ีใชค้ วามรุนแรงตอ่ กนั
4) เกิดการขดั ผลประโยชนบ์ างอยา่ ง เดือดร้อน
5) มีเร่ืองขดั ใจกนั 4) อาจมีการดึงคนภายนอกเขา้ มาร่วม
6) หยอกลอ้ และแกลง้ กนั
ทะเลาะวิวาทดว้ ย

วธิ ีการหลกี เลยี่ งป้องกนั
1) คบเพื่อนที่ดี ไม่ชวนกนั ไปทะเลาะววิ าทกบั ผอู้ ่ืน
2) ฝึกสมาธิใหเ้ ป็นคนใจเยน็ มีสติ อดทน อดกล้นั

2.2 การทะเลาะววิ าทในกล่มุ ของคนท่ีอยู่ ผลกระทบ
1) เกิดการบาดเจบ็ หรือเสียชีวติ
สถาบันเดยี วกนั 2) การทะเลาะววิ าทอาจขยายไปสู่คน

สาเหตุ อื่น ๆ
1) เกิดการเขม่นกนั เม่ือมองแลว้ ไม่ชอบ 3) เกิดความบาดหมางกนั
4) ผปู้ กครองเดือดร้อน
หนา้ กนั หมนั่ ไส้กนั 5) เกิดความวนุ่ วายในสถานศึกษา
2) เกิดความหึงหวงกนั ผกู้ ่อเหตุอาจเป็น

ชายหรือหญิงกไ็ ด้
3) แกแ้ คน้ แทนเพือ่ น
4) มีนิสัยชอบหาเรื่อง

วธิ ีการหลกี เลยี่ งป้องกนั
1) มีสติ อดทน อดกล้นั ตอ่ การยว่ั ยุ 2) มีปัญหาปรึกษาพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูอาจารย์
3) เขา้ ร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์

2.3 การทะเลาะววิ าทในกลุ่มของคนต่างสถาบัน
สาเหตุ
1) เกิดการเขม่นกบั นกั เรียนต่างโรงเรียน
2) แกแ้ คน้ แทนเพ่อื นสถาบนั เดียวกนั
3) แสดงความยงิ่ ใหญ่ หรือศกั ยภาพในทางที่ผิด
4) มองเห็นคนต่างสถาบนั เป็นศตั รูไปหมด
5) เป็นคนหรือกลุม่ คนที่ชอบหาเรื่องจดั วา่ เป็นกลุ่มอนั ธพาล
6) มีคนพาไปทาร้ายนกั เรียนต่างโรงเรียน
7) มีการแสดงดนตรีท่ีเร่งเร้าทาใหน้ กั เรียนคึกคะนองฮึกเหิม อนั นาไปสู่การ

ทะเลาะววิ าท
8) ความคึกคะนองของกลุ่มที่ทาใหไ้ ม่กลวั ใครและอยากมีเร่ือง

ผลกระทบ

1) ทาใหไ้ ดร้ ับบาดเจบ็ เน่ืองจากถูกทาร้าย

2) ทาใหพ้ กิ ารเน่ืองจากถูกทาร้ายดว้ ยอาวธุ หรือถูกรุมทาร้าย
3) ทาใหเ้ สียชีวติ เนื่องจากถูกยงิ แทง ฟัน ตีอยา่ งแรง

4) เจา้ หนา้ ท่ีตารวจตอ้ งทางานมากข้ึน
5) ประชาชนท่ีอยใู่ กลเ้ หตุการณ์อาจถูกลูกหลง โดยเฉพาะการ

ใชอ้ าวธุ ปื นยงิ กนั หรือใชร้ ะเบิด ผทู้ ี่ไม่เก่ียวขอ้ งอาจไดร้ ับ

บาดเจบ็ พิการ หรือเสียชีวติ ได้

วธิ ีการหลกี เลย่ี งป้องกนั
1) ไม่เขา้ ไปอยใู่ นสถานท่ีที่ก่อใหเ้ กิดอนั ตราย เช่น สถานท่ีท่ีคนกาลงั ทะเลาะววิ าทกนั
2) พยายามฝึกทกั ษะความอดทน โดยการบริหารจิตของตนเองใหเ้ กิดเป็นนิสยั
3) เม่ือเพือ่ นชกั ชวนหรือยวั่ ยใุ หเ้ ขา้ กลุ่มเพื่อแสดงความรุนแรง นกั เรียนควรหลีกเล่ียง

ทนั ที
4) ไม่พดู จายว่ั ยใุ หเ้ กิดความรุนแรงข้ึน เช่น พดู จาลอ้ เลียน หรือพดู จากา้ วร้าว
5) เมื่อเกิดความรุนแรงหรือเราอยใู่ นสถานการณ์เสี่ยง เราสามารถขอความช่วยเหลือ

จากผใู้ หญ่หรือผปู้ กครองใหเ้ กิดความเขา้ ใจดว้ ยความถูกตอ้ ง
6) ขอความช่วยเหลือทางโทรศพั ท์ โดยอาจใชห้ มายเลข 191 หรือแจง้ หน่วยงาน

ที่เก่ียวขอ้ งได้
7) ตดั สินใจแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ที่อาจก่อใหเ้ กิดความรุนแรงได้ เพ่อื นชกั ชวนไป

เราอาจปฏิเสธดว้ ยความนุ่มนวลได้

3. การเข้าไปในแหล่งอบายมุข

แหล่งอบายมขุ หมายถงึ สถานท่ที ่นี าไปสู่ความชว่ั ความทุกข์ หรอื ความเสอื่ ม ซง่ึ
ในทางพระพุทธศาสนาไดก้ าหนดอบายมุขไว้ 6 ประการ ดังนี้

3.1 การด่มื สุรา 3.4 การเลน่ การพนนั

3.2 การเทีย่ วกลางคืน 3.5 การคบคนช่ัวเปน็ มติ ร

3.3 การดกู ารละเลน่ 3.6 ความเกยี จคร้าน

การเทย่ี วกลางคืนเปน็ อบายมขุ ทท่ี ้าใหเ้ สียทง้ั ทรพั ยแ์ ละสุขภาพ

วธิ กี ารหลกี เลี่ยงปอ้ งกนั

1) ไมห่ ลงเช่ือคาชกั ชวนของเพื่อนท่ีชักชวนใหเ้ ขา้ ไป

ยุ่งเกย่ี วกบั อบายมขุ

2) รจู้ กั ปฏิเสธและตอ่ รองอย่างเหมาะสม

3) ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชนใ์ นการทากิจกรรมอ่นื ๆ

ที่สนใจ เชน่ เล่นดนตรี วาดรูป เลน่ กีฬา

4) เลอื กคบเพอ่ื นทีด่ ี ไมม่ ่ัวสุมกันในทางทผ่ี ิด

5) หากมีปัญหาความเครยี ดควรปรกึ ษาคนในครอบครวั

การคบเพื่อนดี กจ็ ะนาพาเราไปในทางที่ดี พอ่ แม่ ครูอาจารย์

4. การแข่งขนั รถจกั รยานยนตบ์ นทอ้ งถนน

จากข้อมูลสถติ อิ บุ ตั เิ หตทุ างถนนช่วงเดอื นมกราคม-สงิ หาคม ตัง้ แต่ พ.ศ.
2555-2556 ของศนู ยอ์ า้ นวยการความปลอดภยั ทางถนน โดยกรมปอ้ งกนั และบรรเทา
สาธารณภยั กระทรวงมหาดไทยพบว่าสาเหตสุ า้ คัญทีท่ า้ ให้เกิดอุบัติเหตทุ างถนนมาก
ทสี่ ุด พฤตกิ รรมเส่ียงส้าคญั ทีท่ ้าใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุทางถนน คือ การขับรถในขณะมนึ เมา
ซึง่ รถจักรยานยนต์เปน็ พาหนะทีป่ ระสบอบุ ตั ิเหตทุ างถนนมากที่สุดโดยเฉพาะการ
แข่งขนั รถจกั รยานยนต์สาเหตทุ ท่ี ้าให้วยั รุ่นต้องใช้ท้องถนนเปน็ สถานท่แี ข่งขนั
รถจักรยานยนต์ มีดงั นี้

สาเหตทุ ่ที าใหว้ ยั รุ่นต้องใชท้ อ้ งถนนเปน็ สถานที่แข่งขันรถจักรยานยนต์ มีดังน้ี
4.1 วัยรนุ่ ชอบความเรว็ และความแรงของรถ และตอ้ งการแสดงความสามารถ

ใหค้ นอน่ื เห็น
4.2 วัยรนุ่ มีความคกึ คะนอง ชอบความตืน่ เต้น ทา้ ทาย ขาดความสานึกในเรือ่ งความ

ปลอดภัยและตอ้ งการเอาชนะ
4.3 อทิ ธิพลของเพอ่ื นทไี่ ด้ชักชวนกันมา หรอื เป็นตวั อย่างใหเ้ หน็ และต้องการเปน็ แบบ

เพือ่ นจงึ เลียนแบบ
4.4 อทิ ธิพลของส่อื โฆษณาขายรถจักรยานยนต์ท่ใี ช้ความเร็วและความแรง ตลอดจน

ผโู้ ฆษณาสนิ คา้ เป็นบคุ คลทีว่ ัยร่นุ ชน่ื ชอบ
4.5 ต้องการหาจุดเดน่ ใหแ้ กต่ นเองจึงคิดวา่ การขบั ขีร่ ถจกั รยานยนตแ์ ขง่ ขันนัน้

เป็นจุดเด่น

วธิ กี ารหลีกเลย่ี งป้องกัน
1) ไมเ่ ขา้ ไปอย่ใู นสถานการณท์ ม่ี กี ารแข่งขนั รถจักรยานยนต์ เพราะเสี่ยงตอ่ การ

เข้ารว่ มการแข่งขัน และอาจนาไปส่กู ารเกีย่ วขอ้ งกบั สารเสพติดได้
2) คดิ พิจารณาใหล้ ะเอยี ดกอ่ นตดั สนิ ใจทาส่ิงใด ตามคาชกั ชวนของเพอื่ น รู้จักปฏเิ สธ

และต่อรอง
3) ใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ เช่น เลน่ ดนตรี เลน่ กฬี า อ่านหนงั สือ
4) หากมีปัญหาหรือความเครยี ดให้ปรกึ ษาพ่อแม่ ครูอาจารย์ เพอ่ื ร่วมกนั ช่วยเหลือ

หาทางออก

5. การเข้าไปในฝูงชน

การเข้าไปในฝูงชนมีหลายสถานการณเ์ ชน่ การชุมนมุ ประท้วง การเขา้ ชมกฬี า
ผู้เขา้ ชมมาก ซง่ึ สถานการณด์ งั กลา่ วอาจเกิด ความไม่ปลอดภัย เชน่ การปะทะกัน
ระหวา่ งเจา้ หน้าท่ีกับผ้ปู ระทว้ ง

วธิ กี ารหลกี เลย่ี งป้องกนั
ควรหลีกเลยี่ งการเขา้ ไปอยู่ในฝูงชน หรือถ้าหลกี เล่ียงไม่ได้ก็ควรอย่ภู ายนอก

ของกล่มุ ไม่ควรเข้าไปอยูส่ ่วนกลางของฝงู ชนเพราะถ้าเกดิ เหตกุ ารณ์ทไ่ี ม่น่าไว้ใจจะหนี
ออกไดล้ าบาก หรืออาจถกู เบียดเสียดหกล้มแลว้ ถกู เหยียบจนถงึ แก่ชีวติ ได้

กระบวนการป้องกนั และหลกี เลย่ี งพฤติกรรมเส่ียงและสถานการณ์เส่ียง

1. กระบวนการคิด

กระบวนการคดิ หมายถึง ระบบการคดิ สา้ หรบั การดา้ รงชีวิตในสังคมทส่ี า้ คญั
การใชเ้ หตผุ ลอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม และตัดสินใจอยา่ งมเี ป้าหมายท่ดี ใี นแตล่ ะ
สถานการณ์ของชวี ติ ซ่ึงกระบวนการคดิ สามารถดา้ เนินการตามล้าดับข้นั ดังน้ี

1.1 การวเิ คราะหห์ าสาเหตขุ องปญั หา
1.2 การรวบรวมขอ้ มูล แล้วหาทางเลือกในการแกไ้ ขปญั หา
1.3 การตดั สินใจ เลือกวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาที่พจิ ารณาแลว้ ว่าดีทีส่ ุด
1.4 ลงมือแก้ไขปัญหาตามวธิ ที ่เี ลอื กและตรวจสอบผลเป็นระยะ
1.5 การสรปุ และประเมนิ ผลการแก้ปัญหา เพือ่ น้าไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา

ครง้ั ต่อไป

2. ทักษะชีวิต
ทกั ษะชวี ติ หมายถึง ความสามารถทางสตปิ ัญญาทท่ี ุกคนจาเปน็ ตอ้ งใช้ในการเผชญิ

สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่เี กิดขนึ้ ในชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยสามารถพฒั นาข้นึ
ได้ด้วยการฝึกและกระทาซ้า ๆ จนเป็นลักษณะนสิ ยั
3. การคาดคะเน

การคาดคะเน หมายถึง การคาดการณล์ ว่ งหนา้ วา่ จะเกิดอะไรข้ึน ถ้าคาดคะเนแล้วว่า
จะเป็นการเส่ียงตอ่ อนั ตรายและไม่ปลอดภยั กค็ วรทจ่ี ะหลีกเลยี่ ง
4. การต่อรอง

การต่อรอง หมายถงึ การเจรจาเพอ่ื ใหส้ ถานการณ์ท่ีคับขนั ดีขนึ้ หรอื การเจรจาเพ่ือ
หลกี เล่ยี งสถานการณท์ เ่ี สี่ยง

5. การปฏิเสธ
การปฏเิ สธ เปน็ ทกั ษะสาคัญในการเอาตวั รอด หรือหลีกเลย่ี งต่อสถานการณ์เลวรา้ ยทจี่ ะ
เข้ามาในชีวติ ทกั ษะการปฏเิ สธนี้สามารถใชไ้ ด้กับทกุ เรอ่ื งท่พี บในชีวิตประจาวนั เชน่
การปฏิเสธการใชส้ ารเสพติด การปฏเิ สธทจ่ี ะเลน่ การพนนั

ผงั สรปุ สาระสา้ คญั