การ คาด คะเน เหตุการณ์ ภาษา ไทย ป. 4

      แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ต้นไม้ การคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

1      สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

       การอ่านจับใจความจะต้องคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องได้อย่างมีเหตุผล และมีมารยาทในการพูดนำเสนอการคาดคะเนเหตุการณ์

2      

        2.1   ตัวชี้วัด                   

1)  คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล

             2)  มีมารยาทในการพูดนำเสนอการคาดคะเนเหตุการณ์

3      เ

       3.1   สาระการเรียนรู้แกนกลาง

                1)  การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ

             2)  มารยาทในการพูด

       3.2   สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

            ·   การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น

                 -   วรรณกรรมเรื่อง ต้นไม้

4      

        4.1   ความสามารถในการสื่อสาร

        4.2   ความสามารถในการคิด

                1)  ทักษะการให้เหตุผล                            2)  ทักษะการสรุปอ้างอิง

        4.3   ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5      

       1.   มีวินัย                            2.   ใฝ่เรียนรู้                  3.   มีความรับผิดชอบ

       วิธีสอนแบบ  ค้นพบ (Discovery Method

ขั้นที่ 1   นำเข้าสู่บทเรียน

แหล่งการเรียนรู้   :   บริเวณต่างๆ ในโรงเรียน

คำถามกระตุ้นความคิด

     1.  นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

     2.  ครูสนทนากับนักเรียนเรื่อง ต้นไม้ แล้วให้นักเรียนบอกชื่อต้นไม้ที่เป็นสัญลักษณ์ของโรงเรียน และบอกลักษณะของต้นไม้

Ÿ    ต้นไม้แต่ละต้นมีการเจริญเติบโตได้อย่างไร

      (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน   ดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ขั้นที่ 2   สอน

สื่อการเรียนรู้   :   หนังสือเรียน วรรณคดีฯ ป.4

     1.  ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ดูภาพในเรื่อง ต้นไม้ จากหนังสือเรียน

     2.  ครูแนะนำแนวทางในการคาดคะเนเหตุการณ์ โดยครูยกตัวอย่างเหตุการณ์แล้วคาดคะเนให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่าง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการคาดคะเนเหตุการณ์

     3.  นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน แล้วร่วมกันสนทนาภายในกลุ่ม

     4.  นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอการคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง ต้นไม้ ครูคอยแนะนำเพิ่มเติม

ขั้นที่ 3   ฝึกทักษะ

สื่อการเรียนรู้   :   ใบงานที่ 4.1

     1.  นักเรียนทุกคนทำใบงานที่ 4.1 เรื่อง การคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

     2.  ครูจับสลากเลือกนักเรียนออกมาคาดคะเนเหตุการณ์        ในใบงานที่ 4.1 หน้าชั้นเรียน ครูคอยให้คำแนะนำเพิ่มเติม

ขั้นที่ 4   สรุป

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้   :   —

คำถามกระตุ้นความคิด

     1.  ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลักการคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน แล้วสรุปลงในสมุดส่งครู

     2.  นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

Ÿ    การคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านมีหลักการอย่างไร

      (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน   ดุลยพินิจของครูผู้สอน)

7      

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 4.1

ใบงานที่ 4.1

ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ประเมินการนำเสนอผลงาน

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความรับผิดชอบ

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8      สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

        8.1   สื่อการเรียนรู้

            1)  หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ป.4

             2)  ใบงานที่ 4.1 เรื่อง การคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

        8.2   แหล่งการเรียนรู้

                     -   บริเวณต่างๆ ในโรงเรียน

 ใบงานที่

4.1  การคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

คำชี้แจง     ให้นักเรียนอ่านเรื่องต่อไปนี้ แล้วเขียนคาดคะเนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

นิทานเรื่อง ชีวิตกับดอกทานตะวัน

ดอกทานตะวัน                              โตเป็นผู้ใหญ่

 

จากนิทานเรื่อง ชีวิตกับดอกทานตะวัน เขียนคาดคะเนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคือ

 ใบงานที่

4.1  การคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

คำชี้แจง     ให้นักเรียนอ่านเรื่องต่อไปนี้ แล้วเขียนคาดคะเนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

นิทานเรื่อง ชีวิตกับดอกทานตะวัน

ดอกทานตะวัน                              โตเป็นผู้ใหญ่

 

จากนิทานเรื่อง ชีวิตกับดอกทานตะวัน เขียนคาดคะเนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคือ                              (ตัวอย่าง)

         มนุษย์กับดอกทานตะวันเหมือนกันคือ เป็นเด็ก เมื่อเวลาผ่านไปก็จะโตเป็นผู้ใหญ่ และเมื่อเวลาผ่านไปก็จะแก่ชรา             

 หรือเหี่ยวเฉา แต่ท้ายที่สุดหลังความตายของดอกทานตะวันก็คือการเก็บเกี่ยวเมล็ดเป็นอาหาร ส่วนมนุษย์เมื่อตายไปก็จะอยู่   

 ในหลุมฝังศพ ดังนั้นหลังความตายของดอกทานตะวันคืออาหารให้จดจำ แล้วหลังความตายของมนุษย์จะจดจำจากสิ่งที่              

 ได้กระทำมาเมื่อตอนมีชีวิตอยู่                                                                                                                          

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

แบบประเมิน    การนำเสนอผลงาน

คำชี้แจง :  ให้ ผู้สอน ประเมินการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด  แล้วขีด üลงในช่อง

                  ที่ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับที่

รายการประเมิน

ระดับคะแนน

3

2

1

1

นำเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง

2

การลำดับขั้นตอนของเนื้อเรื่อง

3

การนำเสนอมีความน่าสนใจ

4

การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม

5

การตรงต่อเวลา

                                                                        รวม

                                                                        ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน

                                                                               ................/................/................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน

ระดับคุณภาพ

12 - 15

ดี

18 - 11

พอใช้

ต่ำกว่า 8

ปรับปรุง

เกณฑ์การให้คะแนน

          ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน                   ให้  3  คะแนน

          ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน         ให้  2  คะแนน

          ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่  ให้  1  คะแนน

แบบสังเกตพฤติกรรม    การทำงานรายบุคคล

คำชี้แจง :  ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน  แล้วขีด ü ลงในช่อง

                  ที่ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับ ที่

ชื่อ-สกุล

ของผู้รับการ

ประเมิน

ความมีวินัย

ความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อ เสียสละ

การรับฟังความ

คิดเห็น

การแสดงความ

คิดเห็น

การตรงต่อเวลา

รวม

15 คะแนน

3

2

1

3

2

1

3

2

1

3

2

1

3

2

1

                                                                        ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน

                                                                               ................/................/................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน

ระดับคุณภาพ

12 - 15

ดี

18 - 11

พอใช้

ต่ำกว่า 8

ปรับปรุง

เกณฑ์การให้คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ   ให้    3   คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง            ให้    2   คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง             ให้    1   คะแนน

แบบสังเกตพฤติกรรม    การทำงานกลุ่ม

คำชี้แจง :  ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน  แล้วขีด üลงในช่อง

                  ที่ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับ ที่

ชื่อ-สกุล

ของผู้รับการ

ประเมิน

การแสดงความคิดเห็น

การยอมรับ ฟังคนอื่น

การทำงาน ตามที่ได้รับ มอบหมาย

ความมีน้ำใจ

การมี
ส่วนร่วมใน การปรับปรุงผลงานกลุ่ม

รวม

15 คะแนน

3

2

1

3

2

1

3

2

1

3

2

1

3

2

1

                                                                        ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน

                                                                               ................/................/................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน

ระดับคุณภาพ

12 - 15

ดี

18 - 11

พอใช้

ต่ำกว่า 8

ปรับปรุง

เกณฑ์การให้คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ   ให้    3   คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง            ให้    2   คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง             ให้    1   คะแนน

แบบประเมิน   คุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน  แล้วขีด üลงในช่อง    ที่ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ

อันพึงประสงค์ด้าน

รายการประเมิน

ระดับคะแนน

3

2

1

1.    รักชาติ ศาสน์

       กษัตริย์

1.1   ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้พร้อมบอกความหมายของเพลงชาติได้

1.2   เข้าปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน

1.3   เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน

1.4   เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาตามโอกาส

1.5   เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น

2.    ซื่อสัตย์ สุจริต

2.1   ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง

2.2   ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทำความผิด ทำตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่หรือผู้ปกครอง และครู

2.3   ปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง

3.    มีวินัย รับผิดชอบ

3.1   ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว        และโรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
ในชีวิตประจำวัน

4.    ใฝ่เรียนรู้

4.1   ตั้งใจเรียนรู้

4.2   เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน

4.3   เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ

4.4   ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม

4.5   บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้

4.6   แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

คุณลักษณะ

อันพึงประสงค์ด้าน

รายการประเมิน

ระดับคะแนน

3

2

1

5.    อยู่อย่างพอเพียง

5.1   ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด

5.2   ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า

5.3   ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน

6.    มุ่งมั่นในการ

       ทำงาน

6.1   มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย

6.2   มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ

7.    รักความเป็นไทย

7.1   มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

7.2   เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย

8.    มีจิตสาธารณะ

8.1   รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน

8.2   อาสาทำงานให้ผู้อื่น

8.3   รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน

8.4   เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

                                                                        ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน

                                                                               ................/................/......

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน

ระดับคุณภาพ

59 - 78

ดี

39 - 58

พอใช้

ต่ำกว่า 39

ปรับปรุง

 

เกณฑ์การให้คะแนน

             ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ   ให้    3   คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง            ให้    2   คะแนน

          ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง             ให้    1   คะแนน

          Ÿ  ด้านความรู้

        Ÿ  ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

        Ÿ  ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์                                                              

        Ÿ  ด้านอื่นๆ  (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))               

       Ÿ  ปัญหา/อุปสรรค

        Ÿ  แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

          ข้อเสนอแนะ                                                                                                      

                                                                                      ลงชื่อ                                

                                                                                             (                              )

                                                                                 ตำแหน่ง