สมรรถภาพทางกายเพื่อทักษะหมายถึง

หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเนื้อ ในการหดตัวซ้ำ ๆ เพื่อต้านแรงหรือความสามารถในการคงสภาพการหดตัวครั้งเดียวได้เป็นระยะเวลายาวนาน

๕.  ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ  (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรงที่กล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเนื้อสามารถออกแรงต้านทานได ในช่วง      การหดตัว ๑ ครั้ง


สมรรถภาพกลไก  (Motor Fitness) หรือ สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ

(Skill – Related Physical Fitness)


ความสามารถของร่างกายที่ช่วยใหบุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเล่นกีฬาไดดีมีองคประกอบ ๖ ด้าน  ดังนี้


๑.  ความคล่อง  (Agility)     หมายถึง   ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการ

เคลื่อนที่ไดอย่างรวดเร็วและสามารถควบคุมได

๒.  การทรงตัว (Balance)  หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของร่างกายเอาไวไดทั้งในขณะอยูกับที่และเคลื่อนที่

๓.  การประสานสัมพันธ  (Co-ordination)  หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวไดอย่างราบรื่น กลมกลืน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนการทำงานประสาน     สอดคลองกันระหว่างตา - มือ - เท้า

๔.  พลังกล้ามเนื้อ  (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนหนึ่งส่วนใดหรือหลาย ๆ ส่วนของร่างกายในการหดตัวเพื่อทำงานดวยความเร็วสูง แรงหรืองานที่ไดเป็นผลรวมของความแข็งแรงและความเร็วที่ใชในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ เชน การยืนอยูกับที่ กระโดดไกล การทุ่มน้ำหนัก เป็นต้น

๕.  เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction time) หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใชในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ เช่น แสง เสียง สัมผัส

๖.   ความเร็ว  (Speed)  หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งไดอย่างรวดเร็ว


สมรรถภาพเฉพาะด้านที่สำคัญและต้องการสำหรับนักกีฬาแต่ละประเภท

ประกอบด้วย

1.   พลังระเบิด   (Explosive Power)

2.   กำลังความเร็ว (Power Speed)

3.       การปรับเร่งความเร็ว ( Acceleration  Speed)

4.       ความเร็วสูงสุด ( Maximum  Speed)

5.       ความเร็วอดทน  ( Speed  Endurance)

6.       ความแข็งแรง  ( Strength)

7.       ความอดทน  ( Endurance)

8.       ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว ( Movement   Time)

9.       การประสานงาน ฯ (  Co-ordination)

10.   ความอ่อนตัว   ( Flexibility)

11.   ความคล่องแคล่วว่องไว ( Agility)

12.   ความแม่นยำ ( Accuracy)

13.   การทรงตัว ( Balance)




วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อการฝึกซ้อมและแข่งขัน


องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสำคัญ คือ

1. กายวิภาคศาสตร์ 

โครงสร้างของร่างกาย ตำแหน่งอวัยวะ กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อต่อ  เอ็น ผังพืด ฯลฯ

2. สรีรวิทยา: หน้าที่การทำงานของระบบ อวัยวะต่างๆ ระบบพลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
ร่างกาย ผลของการฝึกที่มีต่อร่างกาย อัตราการเต้นของชีพจร ฯลฯ

3. ชีวกลศาสตร์  : แรงที่เกี่ยวข้องและมีผลต่อการเคลื่อนไหวอย่างมีประสิทธิภาพ

4. หลักการฝึกซ้อม : รูปแบบวิธีการฝึก ความหนัก ความนาน ความบ่อย เวลาพักระหว่างช่วงการฝึก ขั้นตอนการฝึก ระยะเวลาในการฝึกแต่ละช่วง

5. จิตวิทยาการกีฬา :  การถ่ายทอดและสื่อความหมาย  การสร้างแรงจูงใจ  การฝึกสมาธิ  ฝึกควบคุมอาการตื่นเต้น  ฝึกจิตนาภาพ หรือ การสร้างภาพในใจ ฯลฯ

6. โภชนาการ : ประเภทของอาหารที่ควรรับประทานในแต่ละช่วงเวลาของการฝึกซ้อม พลังงานที่ได้จากอาหารแต่ละประเภท อาหารเสริมและคุณค่าที่มีต่อร่างกาย

สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับทักษะหมายถึงอะไร

สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับทักษะ (skill-related physical fitness) เป็นสมรรถภาพ ทางกาย ที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนให้เกิดระดับความสามารถและทักษะในการแสดงออกของ การเคลื่อนไหว และการเล่นกีฬามีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะประกอบด้วยสมรรถภาพ ทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ ได้แก่ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอดทนของกล้ามเนื้อ ...

ข้อใดคือองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพื่อทักษะ

สมรรถภาพทางกาย ที่สัมพันธ์กับทักษะ (Skill-Related Physical Fitness) 1. พลังหรือกำลังของกล้ามเนื้อ (Muscle Power) 2. ความเร็ว (Speed) 3. ความคล่องแคล่วว่องไว (Agility) 4. การทรงตัวหรือความสมดุล (Balance) 5. ระยะเวลาปฏิกิริยา (Reaction Time) 6. การประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อและ ระบบประสาท (Coordination)

ใครถือว่ามีสมรรถภาพทางกายในระดับดี

สุเนตุ นวกิจกุล (2524: 1) ให้ความหมายของสมรรถภาพทางกายไว้ว่า ลักษณะของสภาพ ร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง อดทนต่อการปฏิบัติงาน มีความคล่องแคล่วว่องไวร่างกาย มีภูมิต้านทาน โรคสูง ผู้ที่สมรรถภาพทางกายดีมักจะเป็นผู้มีจิตใจ ร่าเริง แจ่มใส และมีร่างกายสง่าผ่าเผย สามารถ ปฏิบัติภารกิจการงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความหมายของสมรรถภาพทางกาย มีอะไรบ้าง

1. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ 2. ความทนทานของกล้ามเนื้อ 3. ความทนทานของระบบหมุนเวียนของโลหิต