ความ หมาย ของ อุดมการณ์ ผู้บริหาร

�ش���ó����͡�ü��ӷ������˭�

��¹�� ��.�ͧ�ѹ��� �������Թ���

Email: Mobile.089-8118340 www.bt-training.com

**************************************************************************************************

 ���ɨչ�������觺���������ͧ�ش���ó� ���͡���繼��ӷ������˭� �¶��·ʹ�ҡ��Ѫ�� ����ǤԴ���������ҡ���� �ͧ�ѹ�բͧ��Ǩչ

�ش���ó� �������Ӥѭ��͡�ô�ç����Ե ��੾�����ҧ��觼��� ������˹�ҧҹ�ء��

���ء����ͧ���ش���ó� �����ش���ó�����͹�Ѻ�����ȹӷҧ���Ե�ͧ���

5 �ش���ó����͡�ü��ӷ������˭�

ความ หมาย ของ อุดมการณ์ ผู้บริหาร

1. �ҡ�س����ش���ó�ͧ�س����٧���Ҥ�������ö㹪��Ե�ͧ�س

��ѹ���س�дա���������ҹ ����ѹ���觹��س��дա����ѹ������ҧ��͹

2. ���������������价���Шѹ��� �����ԧ���٧���Ҽ�������������价������

ความ หมาย ของ อุดมการณ์ ผู้บริหาร

3. �������Ե����ҧ���ش���� ������͹�Ѻ����Թ���������������

4.�������Ǵ�����������觵� ���������֡�Ҥ�������§���Ǥ���

��Ш������٭��鹡��ѧ����������֡�������§���Ǣ��

5. ����١�ǹ��е��觨Ե㨢ͧ�س��駴��� ᷹�����Ҩй�����Ѻ�͡���ҡ������

ความ หมาย ของ อุดมการณ์ ผู้บริหาร

*************************************************************

http://www.bt-training.com/

*************************************************************

��ҹ����ö��ҹ�����������ʹ����� ���� http://www.bt-training.com/

รายงาน เรอ่ื ง อดุ มการณ์ จิตวิญญาณ และภาวะผู้นำของผูบ้ รหิ ารการศึกษา

1. นายสธุ เี ดช จดั ทำโดย
2. นางสาวชลดิ า
3. นางสาวมุทติ า สุวรรณลา รหสั นสิ ติ 6401102021
4. วา่ ท่ีร้อยตรสี วุ ัชชัย ทรพั ยะประภา รหัสนสิ ติ 6401102028
อังคุระษี รหสั นิสิต 6401102032
มงคลทอง รหัสนิสติ 6401102044

เสนอ
รศ.ดร.สมศกั ดิ์ บญุ ปู่

รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่ึงของรายวิชาการบริหารและนำเสนอสถานศกึ ษาสู่ความสำเร็จ
สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการบรหิ ารและนำเสนอสถานศึกษาสูค่ วามสำเร็จ
รหสั วิชา 806 201 ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรดุษฎบี ัณฑติ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

มีวัตถุประสงค์เพื่อศกึ ษา ทฤษฎี แนวคิด และหลักการเกี่ยวกับผู้นำ พฤติกรรมผูน้ ำ ภาวะ
ผู้นำ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้นำทางการบริหารการศึกษา การมีปฏิสัมพันธ์และการพัฒนาเพื่อน
ร่วมงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชนและท้องถิ่น ความเป็นนักบริหารมืออาชีพ
พัฒนาความเป็นมืออาชีพ จิตวิญญาณอุดมการณ์ของผู้บริหาร คุณธรรม และจริยธรรมของ
วิชาชพี ผู้บรหิ ารการศึกษาและผู้บริหารสถานศกึ ษา จรรยาบรรณของวชิ าชีพท่คี ุรุสภากำหนด วุฒิ
ภาวะทางอารมณ์ และการจัดการความเครียดของผู้บริหาร การมีส่วนร่วมในองค์กรการพัฒนา
สมรรถภาพและบุคลิกภาพของผู้บริหารสมัยใหม่ สังเคราะห์ประยุกต์ใช้กฎหมายการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางการศึกษาในการบริหารหน่วยงานทางการศึกษาและ
สถานศึกษาในท้องถิน่

คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับทฤษฎี แนวคิดอุดมการณ์
จิตวิญญาณ และภาวะผู้นำของผู้บริหารการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจ ต่อไปไม่
มากก็น้อย หากมขี ้อผดิ พลาดประการใด คณะผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

คณะผจู้ ดั ทำกลมุ่ 1

สารบัญ ค

เรื่อง หนา้
1 อดุ มการณ์ จิตวิญญาณ และภาวะผ้นู ำของผบู้ รหิ ารการศกึ ษา 1
1.1 ความหมายของอุดมการณ์ 1
1.2 จิตวิญญาณ 2
1.3 ภาวะผนู้ ำ 3
1.3.1 ทฤษฏีเชงิ คณุ ลกั ษณะของผูน้ ำ 5
1.3.2 ทฤษฏเี ชิงพฤตกิ รรมของผู้นำ 5
1.3.3 ทฤษฏเี ชงิ สถานการณ์ 6
1.3.4 ทฤษฏีภาวะผู้นำการเปล่ียนแปลง 6
1.4 แนวความคิดเกี่ยวกบั ภาวะผู้นำ 6
1.5 ภาวะผู้นำเชิงจติ วิญญาณ 7
1.6 ความหมายของภาวะผนู้ ำเชงิ จติ วิญญาณ 8
1.7 ความสำคัญของภาวะผ้นู ำเชิงจติ วิญญาณ 9
1.8 แนวทางการสรา้ งภาวะผูน้ ำเชงิ จิตวญิ ญาณ 10
1.9 สรุป 13
15
บรรณานกุ รม

เรื่อง 1 อุดมการณ์ จติ วญิ ญาณ และภาวะผู้นำของผู้บริหารการศึกษา

1.1 ความหมายของอดุ มการณ์

อุดมการณ์ (Ideology) เป็นแนวคิดสำคัญท่ีนำมาศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
อุดมการณ์จะถ่ายทอดผ่านภาษาที่สะท้อนชุดความคิดของคนในสังคมใดสังคมหนึ่ง ที่ยึดถือปฏิบัติ
และเป็นสิ่งท่ีสามารถเอื้อประโยชน์ต่อคนบางกลุ่ม อุดมการณ์จึงเป็นกรอบความคิดท่ีสมาชิกในกลุ่ม
นำไปตีความร่วมกัน และประกอบสร้างความเข้าใจและการรับรู้ของสมาชิกในกลุ่ม ซึ่งเปน็ ตัวกำหนด
วถิ ีปฏิบัติในชวี ิตประจำวนั และปฏิสัมพันธ์กบั สมาชกิ ในกลุ่มอ่ืน1

อุดมการณ์ (Ideology) เป็นแนวคิดที่สำคัญแนวคิดหนึ่งของการศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์
เชิงวิพากษ์ ศิริพร ภักดีผาสุก2 ได้กล่าวถึงการพัฒนาการของแนวคิดเรื่องอุดมการณ์ว่า คำศัพท์ที่
สร้างขึ้นโดยนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสชื่อ Destutt de Tracy ในช่วงปลายคริสต์วรรษที่ 18 หมายถึง
สาขาวิชาที่จะทำให้คนตระหนักถึงอคติหรือความลำเอียงต่าง ๆ ที่มีในสังคม ทั้งน้ีความ ตระหนักรู้
ดังกล่าวจะช่วยนำสังคมไปสู่ความยุตธิ รรมและความกา้ วหนา้ ตอ่ มาคำน้ไี ดม้ ีผ้นู ำไปใช้ใน ความหมาย
ที่ขยายออกไปเป็น 2 ความหมาย คือ หากเป็นความหมายที่เปน็ กลาง อุดมการณ์ คือ ชุดความคิดที่
สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ แต่หากเป็นความหมายในเชิงวิพากษ์ อุดมการณ์ คือ ชุดความคิดของคน
ในสงั คม หนึ่ง ๆ ยึดถือปฏิบัติ และเปน็ สง่ิ ท่เี ออื้ ประโยชนต์ ่อคนบางกลุ่ม3

อุดมการณ์ (Ideology) หมายถึง ความคิด ความเชื่อในการมองสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือเป็น
ความคิดของชนชนั้ ผนู้ ำท่ีเสนอต่อสมาชิกของสังคมเพื่อใหเ้ กิดการยอมรับและถือปฏบิ ัติ เช่น ในกรณี
ของอุดมการณ์ทางการเมือง (Political Ideology) ในระบอบการเมืองการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย จะมีความคิดความเชื่อเกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพที่เท่าเทียมกันของคนในสังคม
การยอมรบั หลักเหตผุ ล การยอมรบั เสียงขา้ งมาก และเคารพเสียงขา้ งนอ้ ย เปน็ ต้น4

1 สุนทรี, โ. (2557). ความสัมพนั ธร์ ะหว่างภาษากบั อุดมการณ์ในวารสาร “อยู่ในบญุ ” สุขทีพ่ ึง
ประสงค์ สขุ ไดด้ ้วยบญุ . วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี, หน้า 158.

2 ศิรพิ ร , ภ. (2553). รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณเ์ รอ่ื ง “ความเปน็ ผหู้ ญิง” ในนติ ยสาร. สำนักงาน
กองทนุ สนบั สนนุ การวิจัย.

3 วิสนั ต์ , ส. ((2554). ความสมั พันธร์ ะหว่างภาษากับอุดมการณใ์ นหนงั สอื เรยี นรายวชิ าภาษาไทย
ตามหลกั สูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2503-2544. หน้า 18.

4 รศ.ดร.ปธาน สวุ รรณมงคล, อุดมการณ์, ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกยี รติ สถาบันพระปกเกล้า,

2559.

2

1.2 จิตวญิ ญาณ

คำวา่ “จติ วิญญาณ (Spirit)” มาจากคำวา่ “จติ ” และ “วิญญาณ” โดยสรุปหมายถึงสิ่งท่ีอยู่
ใน ตนเอง ทำให้เป็นบุคคลขึ้น เป็นความรู้แจ้งความรู้สึกตัว จิตใจ นักวิชาการได้จำแนกความหมาย
ของจิตวิญญาณไวเ้ ปน็ 3 ประการ

1. ความเป็นเอกตั ตาหรือปจั เจกบคุ คล หมายถึง ความเป็นตวั ตนทม่ี ีลักษณะ เฉพาะ ของแต่
ละบคุ คล ซง่ึ เกดิ จากการหยั่งรู้นำไปสูก่ ารปฏิบตั ิและการเกิดศรัทธาในเรื่องใดเร่ืองหน่งึ 5

2. ความมีคุณค่าสูงส่ง หมายถึง ปัญญาหลักการของชีวิต เช่น ความดี บุญกุศล คุณธรรม
จรยิ ธรรม การรจู้ ักผดิ ชอบช่วั ดมี จี ติ ใจสงู ขึน้ 6

3. ความเป็นนามธรรม หมายถึง โครงสร้างหนึ่งของมนุษย์ที่นอกเหนือจากร่างกายและ
จิตใจ จับต้องไม่ได้ พัฒนามาจากความผูกพันด้านจิตใจของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งของ
ความหวัง พลังใจที่เข้มแข็ง เปน็ ขุมพลังของชีวติ ท่ีทำใหป้ ระสบความสำเร็จและมคี วามสุข7

วิญญาณความเป็นครูเป็นคุณลักษณะที่แสดงทางด้านพฤติกรรมส่วนตัวและพฤติกรรม
สว่ นรวมเปน็ ทปี่ ระจักษ์แก่สังคมและเป็นที่ยอมรับในการปฏิบตั หิ นา้ ทค่ี รูดว้ ยคุณธรรม จริยธรรมและ
ความปรารถนาที่จะพัฒนาศิษย์ตามศักยภาพพร้อมกับตระหนักถึงการพัฒนาองค์ รวมด้วยความ
เสียสละ มีความคิดสร้างสรรค์เป็นแบบอย่างที่ดีของสังคมและเป็นผู้มีจิตใจใฝ่ต่อ การศึกษา พัฒนา
ตนเองสอดรับกับแนวคิดสุทัศน์ สังคะพันธ์8 การปฏิรูปคุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหนึ่ง ที่จะต้องให้
ความสำคัญกับการยกระดับคุณภาพของครู ซึ่งถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง
ในระบบการศึกษา ทงั้ นเี้ น่อื งจากครูมี ความสำคญั ในการใช้กลวิธีทางการศึกษาที่หลากหลายที่จะทำ
ให้ผู้เรียนมีความรู้ วิทยาการใน การช่วยฝึกให้มีทักษะชำนาญการเฉพาะด้าน เพื่อนำประกอบอาชีพ
รวมทั้งปลูกฝังให้ผู้เรียนได้รู้ คุณค่าของศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชาติตลอดจนมีความสำนึก
และความรับผิดชอบใน การรักษาความม่นั คง ความมเี สถยี รภาพและเอกราชของประเทศชาติ ซ่ึงครู
ถือว่าเป็นวิชาชีพที่ มีองค์ประกอบสำคัญ คือ เป็นวิชาชีพที่ให้บริการแก่สังคมในลักษณะแบบจำ
เฉพาะเจาะจงด้วย การใช้กระบวนการแห่งปัญญาในการให้บริการ มีวิธีการศึกษาอบรมให้ความรู้
กวา้ งขวางลกึ ซ้งึ โดยใช้ระยะเวลายาวนานพอสมควร ใหม้ ีเสถยี รภาพในการใช้วชิ าชพี น้นั ๆ ตรงตาม

5 ศภุ ลกั ษณ์ , ท., & อารยา, พ. (2554). จติ วญิ ญาณในชวี ิตจรงิ . กรงุ เทพมหานคร: สำนกั งานกองทุน
สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.).

6 สมหวัง, พ. (2558). ขอ้ เสนอแนะต่อการพฒั นาคณุ ภาพมาตรฐานการจัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐานสอบครู
ครูอาชีพกับอาชีพครู. กรุงเทพมหานคร: คุรสุ ภา.

7 พชั น,ี ส. (2556). จติ วญิ ญาณของผนู้ ำทางการพยาบาล ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล. กรุงเทพมหานคร: โรง
พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

8 สทุ ัศน์ , ส. (2558). ทำไมต้องทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. 21st Century Skill : Why ? “TEACH
LESS, LEARN, MORE”. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.

3

มาตรฐาน วิชาชีพมีจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีสถาบันแห่งวิชาชีพเป็นศูนย์กลางในการสร้างสรรค์
จรรโลง ความเป็นมาตรฐานวชิ าชพี

แนวคิดของ พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ ภูริปญฺโญ พระครูโสภณพุทธิศาสตร์ พระครูโอภา
สนนทกิตติ์ สมศักดิ์ บุญปู่ และพีรวัฒน์ ชัยสุข กล่าวว่า การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องให้มีความรู้
โดยเฉพาะทักษะการใช้ เทคโนโลยี และทักษะในการสอน ประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดี เอาใจใส่ และ
หวังดีต่อศิษย์ ปรารถนาให้ศิษย์ทุกคนได้มีการงานที่ดีทำและเป็นคนดีของสังคม การปฏิบัติงานของ
ครู ลักษณะดังกล่าวเรียกได้ว่าการปฏิบัติด้วย “จิตวิญญาณความเป็นครู” การปฏิบัติหน้าที่ ของครู
ด้วยความวิริยะ มุ่งมั่นและทุ่มเทด้วยจิตและวิญญาณ อุทิศตนเพื่อการสอน และมีการพัฒนาส่ือ
การสอนตลอด ก็จะทำให้เกิดความตระหนักและมุ่งมัน่ ท่มุ เทในการทำงาน พยายามรกั ษาศกั ดิ์ศรีแห่ง
ตนและวิชาชีพ และที่สำคัญคือ ความศรทั ธาในวชิ าชีพครู ม่งุ มั่นพฒั นาตนเอง
ครูจะตอ้ งมีการพัฒนาตนเอง และครจู ะประสบความสำเร็จต่อหน้าทก่ี ารงานทปี่ ฏิบัติ อยู่ จะต้องเกิด
จากการพัฒนา “ใจ” หรือ “จิตสำนึก” มีใจรักต่ออาชีพครู และใจต้องพร้อมที่ จะเสียสละเพือ่ สงั คม
จึงจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย ครูที่ได้รับการพัฒนานั้น จะมีมาก น้อยเพียงใดในแต่ละปี
ส่วนหนึ่งก็ขึ้นกับต้นสังกัด จะทำให้โอกาสของครูเหล่านี้ได้มีโอกาส พัฒนาตนเองด้านการศึกษา
หรือไม่อย่างไร สังคมกำลังต้องการครูที่มีสำนกึ ในความเป็นครู เป็นผู้เสียสละ อดทน อุทิศตนในการ
สอน หรอื การบริหาร กน็ ับว่าเป็น “ครทู มี่ จี ิตวิญญาณ ความเปน็ ครู” ปฏบิ ัติหนา้ ที่และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่องระมัดระวังการประพฤติปฏิบัติให้อยู่ ในหลักศีลธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่ง
ลักษณะ ดังกล่าว จะนำไปสู่การเป็น “ครูมือ อาชีพ” ควรมีลักษณะ 3 ประการ 1) แสวงหาความรู้
พฒั นาตนเองตลอดเวลา เนน้ เจตนาทจี่ ะ ใหผ้ รู้ ว่ มงานประสบความสำเร็จดว้ ยกัน 2) ความปรารถนา
ดี เปน็ ความคิดทอ่ี ย่เู หนือระดบั เหตผุ ลและตรรกะ เป็นความคิดท่ีมาจากจิตวิญญาณหรือจิตใต้สำนึก
3) สร้างความเช่ือม่ันใน ตนเอง มงุ่ มนั่ ในการทำงาน และศรทั ธาในผลสำเร็จท่ีเกิดจากการปฏิบตั ิงาน9

1.3 ภาวะผูน้ ำ

โดยทั่วไปนักวิชาการมักจะถือว่า “ผู้นำ ” (Leaders) เป็นตัวบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
(Persons) ส่วน “ภาวะผ้นู ำ” (Leadership) นัน้ เปน็ ส่ิงท่แี สดงออกมา (Actions) จากบุคคลที่
เป็นผู้นำอย่างเป็นกระบวนการ ดังนั้น การจะเข้าใจความหมายของ “ผู้นำ” มักจะไม่เป็นปัญหา
มากนัก ทั้งนี้เพราะจะรู้ว่าใครเป็นผู้นำนั้น ก็มักจะพิจารณาจากตำแหน่ง (Position) ของบุคคล
หรือกลมุ่ บคุ คลดังกล่าว การทำความเขา้ ใจเก่ยี วกับภาวะผนู้ ำหรอื ความเปน็ ผู้นำ (Leadership) น้ัน
เป็นเรื่องยาก แต่อย่างไรก็ตาม นักวิชาการได้ให้ความหมายของภาวะผู้นำเอาไว้ต่างๆ กันหลาย
ทรรศนะดังน้ี

9 พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ , ภ., พระครูโสภณ, พ., พระครูโอภาส, น., สมศักดิ์, บ., & พีรวัฒน์ , ช.
(2562, มกราคม – มีนาคม). จิตวิญญาณความเป็นครูมืออาชีพ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ปีที่ 6 ฉบับที่ 1,
หนา้ 34-45.

4

ภาวะผู้นำ หมายถึง กระบวนการที่ผู้นำใช้อิทธิพลหรืออำนาจที่ตนมีอยู่ในการซักนำหรือ
โน้มน้าวให้ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาภายในองค์การหรือในกลุ่มคนในสถานต่าง ๆ เพื่อให้สมาชกิ ของกลุ่มได้
ปฏบิ ตั หิ น้าที่ของตนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพทสี่ ุดให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ10

ภาวะผู้นำ หมายถึง กระบวนการของการสั่งการและใช้อิทธิพลต่อกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่ม
สมาชกิ ภายในองค์การ11

ภาวะผู้นำ ภาวะผู้นำเป็นกระบวนการที่บุคคลหนึ่ง(ผู้นำ)ใช้อิทธิพลและอำนาจของตน
กระตุ้นชี้นำให้บุคคลอื่น (ผู้ตาม) มีความกระตือรือร้น เต็มใจทำในสิ่งที่เขาต้องการ โดยมีเป้าหมาย
ขององคก์ ารเปน็ จุดหมายปลายทาง12

ภาวะผู้นำ หมายถึง พฤติกรรมส่วนตัวของบุคคลคนหนึ่งที่จะชักนำกิจกรรมของกลุ่มให้
บรรลุเป้าหมายร่วมกัน13

ภาวะผู้นำคือความริเริ่มและธำรงไว้ซึ่งโครงสร้างของความคาดหวังและความสัมพันธ์
ระหวา่ งกนั ของสมาชิกของกลมุ่ 14

ภาวะผู้นำคือความสามารถที่จะชี้แนะ สั่งการ หรืออำนวยการ หรือมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ของผู้อนื่ เพอ่ื ใหม้ งุ่ ไปส่จู ดุ หมายที่กำหนดไว้15

เมื่อเปรียบเทียบความหมายของคำว่าผู้นำกับภาวะผู้นำพบว่า มีความแตกต่างและ
คล้ายคลึงกันที่ผู้นำหมายถึงบุคคลส่วนภาวะผู้นำหมายถึงการใช้กระบวนการของความสามารถของ
บุคคลท่ใี ช้อทิ ธพิ ลของตนในการชักชวน ชน้ี ำหรอื ชักจูงผู้อน่ื ใหร้ ่วมมอื รว่ มใจกับตนในการ ปฏิบัติงาน
อย่างใดอยา่ งหน่งึ

สรุปว่า ภาวะผู้นำ หมายถึง “ กระบวนการที่ผู้นำใช้อิทธิพลและอำนาจที่มีของตน
กระตุ้นชี้นำให้บุคคลอื่นเกิดความเต็มใจแล้วกระตือรือร้นปฏิบัติงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ
องค์การ หรือของกลุ่ม เราทุกคนต้องมีภาวะผู้นำในตัวเองในการจัดการความรู้ เพื่อปรับตัวเองให้
อยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงได้ กล่าวคือ ภาวะผู้นำ หรือ Leadership นั้น จะต้องมีในทุกระดับไม่ใช่
เพยี งผบู้ งั คบั บัญชาเทา่ นน้ั

10 ประสาน , ห., และ ทพิ วรรณ , ห. (2540). จิตวิทยาธุรกจิ พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั
ราชภฎั สวนดสุ ติ .

11 สมยศ, น. (2538). การบรหิ ารเชิงกลยทุ ธ์และนโยบายธรุ กจิ . กรงุ เทพมหานคร: การบรหิ ารนโยบายการค้า.
12 พยอม, ว. (2534). การบรหิ ารบุคคล. กรงุ เทพมหานคร: พรานนกการพิมพ์.
13 Gary A., Y. (1989). Leadership in Organization. Englewood Cliffs: Prentice - Hall.
14 Ralph M., S. (1974). Handbook of Leadership : a Survey of Theory and Research.
15 McFarland. (1979). Management : Foundation & Practices 5 th ed. New York:
Macmillan.

5

จากการศึกษา แนวคิด ทฤษฏี และการวิจยั เก่ียวกับภาวะผู้นำหรือความเป็นผู้นำตั้งแต่อดีต
จนถึงปจั จบุ นั สามารถแบ่งทฤษฏภี าวะผ้นู ำได้ 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่

1. ทฤษฏีเชิงคณุ ลักษณะของผู้นำ (Trait Theory)
2. ทฤษฏีเชงิ พฤตกิ รรมของผนู้ ำ (Behavioral Theory)
3. ทฤษฎีเชงิ สถานการณ์ (Contingency Theory)
4. ทฤษฏีภาวะผูน้ ำการเปล่ียนแปลง (Transformational Leadership Theory)

1.3.1 ทฤษฏเี ชงิ คุณลักษณะของผู้นำ (Trait Theory)

ทฤษฏนี ีไ้ ดอ้ ธบิ ายคุณลักษณะท่แี ตกตา่ งกันระหวา่ งผนู้ ำและไม่ใช่ผู้นำ ในอดตี ทผ่ี า่ น
มาผนู้ ำแบบเกา่ จะใชว้ ิธีสืบทอดต่อ ๆ กนั มาตามประเพณีด้งั เดมิ (traditional) แล้วเปลี่ยนมาเปน็ การ
คน้ หาคณุ ลกั ษณะของภาวะผ้นู ำ และไดพ้ ยายามแยกแยะถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ของผนู้ ำออกมา แล้ว
พบว่า คนเป็นผู้นำจะมีลกั ษณะเฉพาะดา้ นบุคลกิ ภาพ ภาวะอารมณ์และจิตใจ ความต้องการ แรงขับ
และคา่ นยิ มที่แตกต่างกับคนไม่เป็นผนู้ ำ โดยคุณลกั ษณะดา้ นบุคลิกภาพของผู้นำที่มีประสิทธิผลท่ีมัก
พบทแี่ ตกต่างกันระหว่างผู้นำและไม่ใชผ่ ้นู ำ

1. คณุ ลักษณะดา้ นบุคลิกทว่ั ไป
2. คุณลักษณะดา้ นบุคลิกท่ีสมั พันธ์กบั งาน
3. บคุ ลิกลกั ษณะทางจิตใจ และทกั ษะทางปัญญา
4. คณุ ลักษณะด้านการสังคม
5. แรงจูงใจในการทำงาน
กล่าวโดยสรุป ทฤษฏีเชิงคุณลักษณะของผู้นำเชื่อว่า ภาวะความเป็นผู้นำขึ้นอยู่กบั
บุคลิกภาพและความสามารถของคนซึ่งมีลักษณะโดดเด่นเป็นพิเศษเฉพาะบางอย่าง ที่จะไม่พบในตวั
บุคคลที่ไม่ใช่ผู้นำ เช่น มีความทะเยอทะยานและมีพลัง มีความซื่อสัตย์และยึดหลักคุณธรรม มีความ
ปรารถนาดที จ่ี ะนำผู้อ่ืน มีความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง มคี วามสามารถด้านสตปิ ัญญา มีความรู้เก่ียวกับงาน
ทท่ี ำ มคี วามอดทนตอ่ ภาวะความเครยี ด และมวี ุฒิภาวะทางอารมณ์

1.3.2 ทฤษฏเี ชิงพฤติกรรมของผนู้ ำ (Behavioral Theory)

จากความไม่มั่นใจในทฤษฏีคุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น แนวทางการศึกษาภาวะ
ผู้นำจึงเปลี่ยนมาศึกษาด้านพฤติกรรมที่ผู้นำแสดงออกต่อผู้ตาม หรือ ผู้ปฏิบัติงานแทน ทฤษฏี
พฤติกรรมเชื่อว่า แบบพฤติกรรมบางอย่างโดยเฉพาะทำให้ผู้นำแตกต่างจากผู้ไม่เป็นผูน้ ำ พฤติกรรม
ผู้นำมีผลต่อทัศนคติและการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาถึง
พฤติกรรมของผู้นำที่แสดงออกมาด้วยจึงจะทำให้ผู้นำมีประสิทธิภาพมากขึ้น และทำให้ผู้นำมีความ
น่าเชื่อถือมากขึ้น จนได้รับการยอมรับว่าเป็นพื้นฐานสำคัญของภาวะผู้นำสมัยใหม่ ซึ่งเรียกว่า
พฤตกิ รรมแหง่ ความสำเรจ็ ของผู้นำ

6

1.3.3 ทฤษฎีเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory)

แนวคิดทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์นั้นเป็น
แนวคิดการบริหารจัดการที่ผู้บริหารจะปฏิบัติซึ่ง ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ หรือเป็นแนวคิดซึ่งเป็น
ทางเลือกของผู้บริหารในการกำหนดโครงสร้างและระบบควบคุมองค์การ โดยขึ้นอยู่กับสถานการณ์
และลักษณะต่าง ๆ ของสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานขององค์การ หรือ
เป็นวิธีการที่กล่าวถึงองค์การที่มีลักษณะแตกต่างกันซึ่งต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่แตกต่างกัน และ
ต้องใช้วิธีการบริหารจัดการที่แตกต่างกันด้วย ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์เป็นการประสม
ประสานแนวคิดในการบรหิ ารจัดการที่สำคญั 4 ประการคอื

1. แนวคดิ แบบดัง้ เดมิ
2. แนวคดิ เชงิ พฤติกรรม
3. แนวคิดเชิงปรมิ าณ
4. แนวคิดเชิงระบบ

1.3.4 ทฤษฏีภาวะผ้นู ำการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership
Theories)

จากสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มี
การแข่งขันที่รุนแรง มีปัญหาที่ซับซ้อนมากขึ้น ทำให้ผู้บริหารจำเป็นต้องคอยกระตุ้นและผลักดันให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในองค์การ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ตลอดจนยอมให้ผู้ปฏิบัติงานมีอสิ ระในการทำงานมากขน้ึ ในปี ค.ศ 1979 Burns ได้เขยี นหนงั สือช่ือ
leadership โดยเสนอแนวคิดว่า ภาวะผ้นู ำทางการเมอื งนั้นมี 2 แบบ คือ ภาวะผนู้ ำแบบแลกเปล่ียน
(transactional leadership) กับ ภาวะผ้นู ำแบบเปลย่ี นแปลง (transformational leadership)

1. ภาวะผนู้ ำแบบแลกเปล่ียน แนวคิดเกย่ี วกบั ภาวะผนู้ ำแบบแลกเปล่ยี น มีพื้นฐาน
มาจากทฤษฏีการแลกเปลี่ยนทางสังคม (Exchange Theory โดยเน้นการแลกเปลี่ยนประโยชน์
ระหว่างผู้นำกับผู้ปฏิบัติงาน ทั้งผู้นำและผู้ปฏิบัติงานต่างก็มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ต่างอำนวย
ประโยชน์ซ่งึ กนั และกนั ต่างฝ่ายตา่ งได้รบั ผลประโยชนต์ อบแทน

2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเป็นแนวคิดของทฤษฏี
แนวใหม่ ที่ชี้ให้เหน็ ถึงคุณลักษณะของผู้นำไม่รวมผู้ปฏิบัติงานและสถานการณ์ ซึ่งมีความเชื่อว่าผู้นำ
จะเป็นกระตนุ้ ให้สมาชกิ เกดิ ความสนใจตนเองท่ีจะปฏบิ ัติงานในองค์การ

1.4 แนวความคิดเกี่ยวกบั ภาวะผนู้ ำ

ภาวะผู้นำเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งประการหนึ่งต่อความสำเร็จของงานและองค์การ ในอดีตมี
ความเชื่อว่าการเป็นผู้นำนั้นเป็นมาโดยกำเนิด พร้อมกับคุณลักษณะเฉพาะที่คนทั่วไปไม่มี ปัจจุบัน
ความเชื่อ ดังกล่าวได้เปลี่ยนไปว่า ผู้นำมิได้เป็นมาโดยกำเนิด การเป็นผู้นำสามารถสร้างขึ้นได้ จาก

7

การที่ผู้นั้นใช้ความพยายามและการทำงานหนัก การเป็นผู้นำจึงเป็นเรื่องที่เรียนรู้ได้ ภาวะผู้นำเป็น
คำที่มีผู้ให้นิยามมากมาย แต่ที่คนส่วนใหญ่เข้าใจตรงกันก็คือ เป็นกระบวนการอิทธิพลทางสังคมท่ี
บุคคลหนึ่งตั้งใจใช้อิทธิพลต่อผู้อื่น เพื่อให้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามที่กำหนด รวมทั้งการสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์การ ภาวะผู้นำจึงเป็นกระบวนการอิทธิผลที่ช่วยให้กลุ่มสามารถ
บรรลุเปา้ หมาย

1.5 ภาวะผนู้ ำเชิงจิตวญิ ญาณ (Spiritual Leadership)

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 1 มาตรา 6 กล่าวว่าการจัด
การศึกษาต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้
และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข16
อกี ทงั้ การกำหนดเป้าหมายและแนวทางการพฒั นาในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี
12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยหนึ่งในเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่ี
สมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองที่ตื่นรู้ มี
ความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความรับผิดชอบและทำประโยชน์ต่อ
ส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ17 และจากพระบรม
ราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตและ นักศึกษาวิทยาลัยการศึกษา ณ วิทยาลัยการศึกษา
ประสานมติ ร วนั จันทร์ท่ี 27 พฤศจิกายน 2515 ความ ตอนหน่งึ ว่า

“การให้การศึกษานั้น กล่าวโดยวัตถุที่แท้จริง คือการสร้างสรรค์ความรู้ ความคิด พร้อมท้ัง
คุณสมบตั แิ ละจติ ใจที่สมบูรณ์ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในตัวบุคคล เพอ่ื ช่วยให้เขาสามารถดำรงชวี ิตอยู่ได้อยา่ งมั่นคง
และราบรื่น ทั้งสามารถบำเพ็ญประโยชน์สุขเพื่อตนเพื่อส่วนรวมได้ตามควรแก่อัตภาพ ผู้ทำหน้าที่
ด้าน การศกึ ษาทกุ ฝ่ายทุกระดบั ควรจะได้มุ่งทำงานเพื่อวตั ถุประสงค์นี้ยงิ่ วา่ สง่ิ อืน่ ...”18

จากข้อความและพระบรมราโชวาทข้างต้นกล่าวได้ว่าเป้าหมายสำคัญของการศึกษาต้อง
เป็นไป เพื่อพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์อันประกอบไปด้วยความรู้ ความดี มีความสุขและเป็น
ประโยชน์ ดงั น้ันการบริหารสถานศกึ ษาจงึ เป็นกระบวนการของผ้บู รหิ ารสถานศึกษาที่ดำเนินการเพื่อ
ปลูกฝัง คุณลักษณะดังกล่าวให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน โดยผู้บริหารจะต้องใช้ภาวะผู้นำของตนเพื่อนำพา
สถานศึกษาให้ บรรลุตามวัตถุประสงคห์ รอื เปา้ หมายท่กี ำหนดไว้

ภาวะผ้นู ำเชิงจติ วญิ ญาณ (Spiritual Leadership) เป็นหนงึ่ ในภาวะผูน้ ำทมี่ ุง่ ให้ความสำคัญใน
เรอ่ื ง การเหน็ คุณค่าทแ่ี ท้จริงและศักยภาพของความเปน็ มนษุ ย์ พัฒนามาจากรูปแบบทฤษฎแี รงจูงใจ

16 กระทรวงศกึ ษาธิการกรมวิชาการ. (2546). พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ. พ.ศ.2542 และที่
แก้ไข เพ่มิ เตมิ . (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพมหานคร. หน้า 3.

17 สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงัคมแหง่ ชาติ. (2564, สงิ หาคม 16). การจดั ทำ
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564). Retrieved from www.nesdb.go.th

18 เกษม, ว. (2560). สืบสานพระราชปณธิ าน “การศึกษาไทย”. กรงุ เทพมหานคร: มลู นิธยิ วุ สถริ คุณ. หน้า 19.

8

ภายใน ซ่งึ เป็นอกี รปู แบบหน่ึงในการพฒั นาภาวะผูน้ ำ ทั้งยังเป็นแนวทางการพฒั นาการเปลย่ี นแปลง
กระบวนทัศน์ ใหเ้ กดิ ขึ้นใหมใ่ นการพัฒนาองค์การ เพ่อื สรา้ งศกั ยภาพในการเปลย่ี นแปลงองค์การเชิง
บวกในการทำงาน ให้เกิดประสิทธิภาพและยังเพิ่มประสิทธิภาพความสามารถในการอยู่ร่วมกันของ
มนุษย์อย่างมีความสุข ดังที่เคลน19 ได้กล่าวไว้ว่า ตัวชี้วัดจากผลงานวิจัยของวงการธุรกิจหรือด้าน
สุขภาพได้สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการผู้นำเชิงจิตวิญญาณ เนื่องจากเป็นการตอบสนองความพึง
พอใจการรบั ร้ถู ึงความแตกต่างของบุคคลในองคก์ าร ความเขา้ ใจในจติ วิญญาณความเป็นอยู่ แม้ในวง
การศึกษา เองก็เช่นเดียวกัน องค์การทั้งภาครฐั และเอกชนสามารถมีบทบาทสำคญั ในการสง่ เสริมให้
สมาชิก ในองค์การเกิดการพัฒนาเติบโตด้านจิตวิญญาณควบคู่ไปกับทักษะและความรู้ด้านอื่น ๆ ท่ี
จำเป็นต่อการ ดำรงชีวิตในสังคมร่วมสมัย ในที่นี้ได้นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา
ด้วยภาวะผู้นำเชิงจิต วิญญาณ 4 ประเด็น ได้แก่ ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ และ
แนวทางการสร้างภาวะผนู้ ำเชงิ จิต วญิ ญาณของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา อนั จะเปน็ แนวคิดและแนวทาง
ในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษาในการ
สง่ เสริมและพัฒนาผเู้ รียนต่อไป

1.6 ความหมายของภาวะผู้นำเชิงจิตวญิ ญาณ

คำว่าภาวะผ้นู ำเชงิ จิตวญิ ญาณมผี ู้ให้ความหมายไว้หลากหลาย เช่น Fry20 ในฐานะ ผูพ้ ัฒนา
ทฤษฎีภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ได้ให้ความหมายของภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณว่า เป็นค่านิยม
ทศั นคตแิ ละพฤติกรรมท่ีจำเป็นในการกระตุ้นตนเองและผู้อ่ืนเพ่ือให้พวกเขารู้สึกถึงความอยู่รอดทาง
จิต วิญญาณ การสื่อความหมายและความเป็นสมาชิกภาพ อีกทั้ง Zohar21 ก็ได้กล่าวว่า ภาวะผู้นำ
เชิงจิตวิญญาณ หมายถึง ความสามารถในการเข้าถึงจุดมุ่งหมายหรือความสำคัญของชีวิตหรือคุณ
ค่าที่ ลึกซึ้งขึ้น แล้วทำตามวัตถุประสงค์ของตนและปลูกฝังความสำคัญ จุดมุ่งหมาย และคุณค่า
เหลา่ นั้นในการ ดำรงชวี ิตท่ีดขี น้ึ สรา้ งสรรคม์ ากยง่ิ ข้ึน ไทยพระธรรมโกศาจารย์22 ได้ให้ความหมาย
ของภาวะผูน้ ำเชงิ จิตวิญญาณ โดยยดึ หลักของธรรมะว่า เป็นผู้นำท่ียึดหลักสัตบุรุษ มีสัมมาทิฐิ เป็นผู้
ปฏิบตั ชิ อบตำรงตนอยูใ่ นศีลธรรม ทำโลกนแี้ ละโลกหน้าให้แจ้งชัดดว้ ยปัญญาอันย่ิงด้วยตนเองแลว้

19 Klenke, K. (2003). The “s” factor in leadership education education for business.
Journal of, pp. 56-60.

20 Fry, L. (2003). . Toward a theory of ethical and spiritual leadership. The leadership
Quarterly,pp. 619-622

21 Zohar, D. (2005). Spiritual Intelligent Leadership. Retrieved from
https://doi.org/10.1002/ltl

22 พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมมจิตโต). (2549). พทุ ธวธิ ีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หา
จฬุ าลงกรณร์ าชวิทยาลัย. หนา้ 38-39.

9

สอนผู้อื่นให้รู้ตาม ใช้สติปัญญาในการ จัดการส่วนรวม พัชนี สมกำลังและยุทธชัย ไชยสิทธ์ิ23 ได้
รว่ มกัน นิยามภาวะผนู้ ำเชิงจิตวิญญาณไวว้ ่า เป็นลกั ษณะของบุคคลท่ีดำเนนิ ชีวิตอยู่บนพ้ืนฐานความ
เชื่อ ความ ศรัทธาต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างมั่นคง มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งที่ตนยึดเหนี่ยวศรัทธาจนกระท่ัง
สัมผัสถึงจิต วิญญาณบริสุทธิ์ที่กระตุ้นเร้าภายในจิตใจ ซึ่งได้แก่ ความรัก การให้อภัย สันติสุข ความ
อ่อนน้อมถ่อมตน เป็นต้น และดำเนินชีวิตตามจิตวิญญาณบริสุทธิ์นั้น ส่งผลให้บุคคลนั้น ๆ เข้า
ใจความจรงิ แท้ของชีวิตอย่าง ลึกซงึ้ มแี รงบนั ดาลใจเพอื่ ประโยชน์สขุ ของส่วนรวม

กล่าวโดยสรุป ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ เป็นคุณลักษณะ พฤติกรรมหรือกระบวนการของ
ผู้นำที่มี ความเชื่อมั่นศรัทธาในคุณธรรม ความดีงามอย่างมั่นคง เป็นแบบอย่างในการนำความรัก
ความเมตตาสู่การ กระทำที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นได้ค้นพบ
ศักยภาพอันยิ่งใหญ่ที่ซ่อนอยู่ ในตนเอง และมีความมั่นคงอยู่กับการอุทิศตนเพื่อบรรลุเป้าหมายและ
คุณค่าที่แท้จริงของชีวิตที่เป็นเรื่อง ความดีงามความภาคภูมิใจในคุณค่าแห่งตนมากกว่าความสำเร็จ
ในทางวตั ถุหรอื รูปธรรม

1.7 ความสำคญั ของภาวะผู้นำเชงิ จติ วิญญาณ

กระแสความสนใจเรื่องจิตวิญญาณในประเทศไทยและต่างประเทศ เริ่มมาจากองค์การ
อนามัย โลกมีการประชุมสมัชชาเมื่อปี ค.ศ. 1998 ได้เสนอแนวคิดใหม่เกี่ยวกับสุขภาพว่า สุขภาพ
คือ สุขภาวะที่ สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ ถือว่าเป็นการประชุมครั้งสำคัญที่
องค์กรระดับโลก กล่าวถึงความคิดเรื่องจิตวิญญาณที่มีความหมายมากกว่าสิ่งที่สัมผัสหรือรับรู้ได้ใน
เชิงประจักษ์แบบวัตถุ สำหรับมิติของสังคมไทยพงศ์เทพ สุธีรวุฒิ24 ได้กล่าวถึงสถานการณ์ของ
สังคมไทยที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพวะทางจิตวญิ ญาณ ในประเด็นที่ว่าจิตวิญญาณของคนและสังคมอยู่
ในระดับวิกฤตมาก และมากขึ้นทุกขณะ ผู้คนจำนวนมากไม่เข้าใจสาระสำคัญของการมีชีวิต บุคคล
เหล่านั้นกำลังหลงทางอยู่ กับวัฒนธรรมของวัตถุ เป็นทาสของการบริโภค เป็นทาสของการตลาด
อย่างแท้จริง วิถีชีวิตแบบนี้จะ นำไปสู่ความโลภ โกรธ หลง ความเห็นแก่ตัว ความขัดแย้ง สังคมจึง
ต้องการสุขภาวะทางจิตวิญญาณของ คนอันจะเป็นรากฐานที่ทำให้สังคมเกิดสุขภาวะในที่สุด ส่วน
เรื่องภาวะผ้นู ำเชิงจิตวิญญาณเป็นหนง่ึ ใน ภาวะผนู้ ำแนวใหม่หรือภาวะผู้นำรว่ มสมัยที่มุ่งความสำคัญ
ในเรอ่ื งการเหน็ คุณค่าที่แท้จริงและศักยภาพ ของความเป็นมนุษย์ ซึง่ ปจั จบุ ันมีหนงั สือและบทความท่ี
เขยี นเกีย่ วกับภาวะผู้นำเชงิ จติ วิญญาณมากข้ึน และยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความสำคัญของภาวะผู้นำเชิง
จติ วญิ ญาณทง้ั ในแวดวงของนักวิชาการ แพทย์และ นกั การศกึ ษา เนอ่ื งจากเป็นส่ิงท่ีแต่ละบุคคลหรือ
องค์การได้ค้นหาหนทางที่จะเชื่อมโยงชีวิตการทำงานกับ ความเข้าใจในมิติจิตวิญญาณ ไม่เพียงแต่
จะต้องมคี วามร้แู ละทกั ษะ ไหม แต่จะต้องแสดงให้เห็นถงึ ระดบั ของภมู ปิ ัญญาทางอารมณแ์ ละวฒุ ิ

23 พัชน,ี ส., & ยทุ ธชยั , ไ. (2555). แนวคดิ ความเป็นผู้นำทางจติ วญิ ญาณ : การประยกุ ตใ์ ช้ในวชิ าชพี
พยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล, หน้า 16-25

10

24 พงศ์เทพ, ส. (2564, สงิ หาคม 10). การจัดการระบบสขุ ภาวะ. Retrieved from

ภาวะทางจิตวิญญาณที่สูงอีกด้วย อีกทั้ง Fry25 (2003: 619-622) ระบุว่าผู้นำที่ให้คุณค่าในเรื่อง
ความซื่อสัตย์ การให้อภัย ความเห็นอกเห็นใจ และการช่วยเหลือผู้อ่ืนนั้นจะมีทัศนคตแิ ละพฤติกรรม
ที่แตกต่างอย่างยิ่งต่อผู้ตามเมื่อเทียบกับผู้นำที่ให้ คุณค่าหรือพึงพอใจต่อความเห็นแก่ตัวหรือความ
ทะเยอทะยานสว่ นตวั ซงึ่ อาจกลา่ วได้วา่ ภาวะผนู้ ำเชงิ จิต วิญญาณเป็นผู้ทส่ี รา้ งบรรยากาศในการเพิ่ม
แรงจูงใจของผู้ตาม บรรยากาศในที่นี้ประกอบด้วยการ เชื่อมโยงและความเข้าใจซึ่งกันและกัน
ระหว่างผู้นำและผู้ตาม ซึ่งส่งผลกระทบเชิงบวกต่อสิ่งแวดล้อม ในการทำงาน และเขายังได้กล่าวอีก
ว่าภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณเป็นหนึ่งในความต้องการอันยิ่งใหญ่ในการ ดำรงอยู่ของผู้คนและ
เกีย่ วข้องในการนำทั้งผู้นำและผู้ตามไปสู่ความผาสุกทางจิตวญิ ญาณ สอดคลอ้ งกบั แนวคิด ของ พัชนี
สมกำลัง26 ที่ว่าภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณจึงเป็นสุดยอดแห่งคุณลักษณะส่วนบุคคล ที่พึงประสงค์
และควรพัฒนาให้เกิดขึ้นกับบุคคลในทุกอาชีพโดยเฉพาะวิชาชีพที่มีปรัชญาและยุตมการณ์ เพื่อ
ผลประโยชน์ของมวลมนุษย์ ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ คือรูปแบบความเป็นพื้นฐานของการพัฒนา
ศักยภาพของบุคคลจากภายในสู่ภายนอกโดยการพัฒนาในเรื่องความเชื่อ ความศรัทธา ต่อคุณธรรม
ความ ถูกต้องดีงามเป็นพื้นฐานและด้วยความเข้มแข็งแห่งศรัทธานั้นได้กลายเป็นพลังขับเคลื่อนให้
กระทำสิ่งที่ ถูกต้องและเป็นคุณประโยชน์อย่างแท้จริงแก่ส่วนรวมและแบบอย่างชีวิตนี้ได้กลายเป็น
แรงบันดาลใจ ให้กับทีมงานในการอุทิศตนเพื่อเป้าหมายและคุณค่าที่แท้จริงแห่งงานโดยปราศจาก
การบงั คบั

ดังนั้นหากผู้บริหารสถานศึกษาเห็นความสำคัญของการมีภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณในการ
บริหาร สถานศึกษา ก็จะส่งผลให้เกิดความพึงพอใจ ความรัก และความไว้วางใจระหว่างบุคลากรใน
สถานศกึ ษา รวมถงึ ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซ่งึ จะนำมาสู่ความร่วมมือ
ในการส่งเสริม การเรียนรู้ร่วมกัน ความทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจให้กับการดำเนินการต่าง ๆ เพื่อ
บรรลุผลตามเปา้ หมายอนั เป็นประโยชน์ต่อสว่ นรวม

1.8 แนวทางการสร้างภาวะผ้นู ำเชงิ จติ วญิ ญาณ

แนวทางการสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณนั้น ผู้บริหารจะต้องมีการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเอง อยา่ งตอ่ เน่ือง โดย วจิ ารณ์ พาณิช27 ไดอ้ ธิบายถึงวธิ ีการพัฒนาภาวะผนู้ ำเชิงจิตวิญญาณผ่าน
ชอ่ งทาง ต่าง ๆ ที่อาจนำมาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การพฒั นาผู้บริหารสถานศึกษาได้ ดงั นี้

1. การเป็นผู้นำเชิงจิตวิญญาณผ่านการเรียนการสอนหรือการฝึกอบรม ต้องเป็นการเรียนรู้
บรู ณาการ เปน็ การเรยี นร้ขู องคนทง้ั ตัวทัว่ พรอ้ ม ซ่งึ อาจอธิบายวา่ เป็นท้งั การเรยี นรู้ภายนอก และ

25 Fry, L. (2003). loe.eit, pp. 619-622
26 พัชน,ี ส., & ยทุ ธชยั , ไ. (2555). เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ 16-25

11

27 วิจารณ์, พ. (2556). “ภาวะผ้นู า จติ วญิ ญาณและการพฒั นามนุษย์”. สถาบนั อดุ มศึกษากบั การ เปน็ ผู้นำทาง
จติ วิญญาณ. บทความประกอบหนังสอื การประชุมวชิ าการประจา ปีจิตตปัญญาศึกษาครั้งท5่ี .

การเรียนรู้ ภายในตน ซึ่งการเรียนรู้ภายในตนในที่นี้ หมายถึง การเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองในด้าน
อารมณ์ จติ ใจ และ จติ วิญญาณ สว่ นการเรียนร้บู รู ณาการน้ัน ตอ้ งมุง่ พฒั นาผ้เู รียนอย่างน้อย 5 ด้าน
ไปพร้อม ๆ กัน ได้แก่ พัฒนาการด้านพุทธิปัญญา (Intellectual Development) พัฒนาการด้าน
อารมณ์ (Emotional Development)พัฒนาการด้านสังคม (Social development) พัฒนาการ
ด้านกายภาพ (Physical Development) และพฒั นาการ ดา้ นจติ วญิ ญาณ Spiritual Development)

การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 เปน็ การเรียนรู้เพอื่ พฒั นาทกั ษะเพ่ือการดำรงชีวติ ที่ดใี นศตวรรษ
ที่ 21 ซึ่งเป็นยุคที่โลกมีเครื่องอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตอย่างมากมาย ง่ายต่อการ
ดำรงชีวิตที่ดี แต่เครื่องอำนวยความสะดวกเหล่านั้นมาพร้อมกับมายาคติ ความหลอกลวง หรือ
ล่อหลอก ต่าง ๆ นานา คนที่จิตใจไม่เข้มแข็งก็จะตกเป็นเหยื่อได้โดยงา่ ย การมีจิตใจที่เข้มแข็งต้องมี
การพฒั นาทางจิตวิญญาณ ควบค่ไู ปกบั การพฒั นาทางปญั ญา และทักษะดา้ นอืน่ ๆ แบบที่แยกกันไม่
ออก ผู้บริหารสถานศึกษาจะมี ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ได้อย่างแท้จริง ก็ต่อเมื่อสามารถบริหาร
สถานศึกษาเพื่อจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน ทั้งด้านพุทธิปัญญาและจิตวิญญาณควบคู่กัน การเรียนรู้
ฝึกฝนอย่างบูรณาการต้องดำเนินการตั้งแต่เด็กเล็ก จนเติบโตรวมถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังน้ัน
ทักษะในการฝกึ ฝนตนเองหรอื เรียนรู้ด้วยตนเองในมิตขิ อง จติ วญิ ญาณจงึ มคี วามสำคญั ย่งิ

2. การเป็นผู้นำเชิงจิตวิญญาณผ่านพฤติกรรมองค์การ สัมผัสได้จากการกระทำที่สะท้อน
ความมี จิตใจสูง ได้แก่ ความซื่อสัตว์สุจริต การเห็นแก่ส่วนรวม (เห็นแก่ตัวน้อย) มุ่งทำประโยชน์แก่
ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตน มีความประพฤติที่อยู่ในศีลธรรมจริยธรรมอันดีงาม รวมท้ัง
จริยธรรมวิชาการ และจรยิ ธรรมในฐานะองค์การหนง่ึ ในสังคม

การมีภาพลักษณ์ขององค์การที่สะท้อนความเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณที่ดี ได้มาจากการ
กระทำทั้ง ขององค์กร และจากการกระทำสมาชิกเป็นรายคน กระบวนการคัดเลือกครูและบุคลากร
ผู้บริหาร สถานศึกษาต้องคัดเลือกผู้ที่เชื่อได้ว่า มีระดับพัฒนาการทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับดีและ
สามารถพัฒนา จิตใจให้ขึ้นสู่ระดับสูงยิ่งขึ้นได้เข้ามาอยู่ในสถานศึกษา และเมื่อเข้ามาแล้วก็เข้าสู่
กระบวนการพัฒนาด้าน จิตวิญญาณร่วมกัน นั่นหมายความว่าครูและบุคลากรทุกคนจะต้องยึดถือ
แนวทางการเป็นผเู้ รยี นรูเ้ พื่อ พฒั นาตนเองรอบด้านรวมถึงดา้ นการพัฒนาจติ วิญญาณ

3. การเป็นผู้นำเชิงจิตวิญญาณผ่านการกระทำเพื่อสิ่งที่สูงส่ง มิติของการยกระดับทางจิต
วิญญาณ ตีความได้หลายแบบ แบบหนึ่งคือการลดตัวตน หันไปดำรงชีวิตหรือกระทำเพื่อสิ่งที่สูงส่ง
กว่าการกระทำ เพียงเพื่อให้มีชีวิตรอดไปวันหนึ่ง ๆ หรือเพื่อเป้าหมายที่สูงส่งกว่าผลประโยชน์ส่วน
ตน การลดตัวตน เช่นนี้ มีผลให้จิตบริสุทธิ์ข้ึน เป้าหมายของการดำเนินการต่าง ๆ บริสุทธิข์ ึน้ ไม่เจือ
ปนด้วยกิเลสตัณหาเพื่อ ผลประโยชน์ส่วนตนให้น้อยที่สุด มนุษย์เรามี “สัมผัสที่หก” ที่สัมผัสความ
บริสุทธิ์เช่นน้ไี ด้ ผู้บรหิ าร สถานศึกษาทม่ี ีคุณสมบัติเชน่ น้ีจะไดร้ บั การยอมรับนบั ถือไปโดยปริยายหรือ
โดยอัตโนมัติ

12

4. การเปน็ ผนู้ ำเชงิ จติ วิญญาณผา่ นความสมั พนั ธใ์ กล้ชิดกับสงั คมและชุมชน สถานศึกษาเป็น
หน่วยงานที่ทำงานใกล้ชิดกับชุมชน สังคม หน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในบทบาทของผู้
ให้บรกิ าร การทส่ี ถานศึกษาได้ทำงานรว่ มกับสังคมจะเป็นโอกาสให้สถานศึกษาได้ทำงานวิชาการหรือ
การพัฒนาความรู้ และการพัฒนาทางจิตวิญญาณไปด้วย เนื่องจากการทำงานเพื่อประโยชน์ของ
ชุมชนเป็น การทำเพื่อให้ผลที่ได้เกิดขึ้นแก่ส่วนรวม มิใช่ของผู้ใดผู้หนึ่งเป็นการเฉพาะ การกระทำใน
ลักษณะน้จี ึงเป็น ช่องทางของการยกระดบั จติ ใจใหล้ อยอยูเ่ หนือความเป็นบุคคลหนง่ึ บุคคลใด

เมื่อการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณผ่านการเรียนการสอนนำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนท้ัง
ดา้ น พทุ ธิปญั ญาและจิตวิญญาณควบคู่กันไป การเป็นผนู้ ำเชงิ จิตวญิ ญาณผา่ นพฤตกิ รรมองค์การก็จะ
ทำให้เกิด ภาพลักษณ์ที่สะท้อนความมีจิตใจสูงของบุคลากรในสถานศึกษานำมาซึ่งความเชื่อม่ัน
ศรัทธา นอกเหนือจากนี้การเป็นภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณผ่านการทำเพื่อสิ่งที่สูงส่งยังสามารถนำ
ผู้บริหาร สถานศึกษากระทำตนเพื่อประโยชน์ต่อผู้อื่นละทิ้งความเห็นแก่ตัว และการเป็นผู้นำเชิงจิต
วิญญาณผา่ น ความสมั พันธ์ใกลช้ ิดกับสังคมและชมุ ชนก็จะทำให้เกิดความเอ้ือเฟ้ือเกื้อหนุนซ่ึงกันและ
กนั อันเปน็ ฐาน สำคัญในการพฒั นาสถานศกึ ษาในมิติอ่ืน ๆ ต่อไป

กลา่ วโดยรวมหากสถานศึกษาเปน็ แหลง่ ศึกษาเรยี นรู้ฝึกฝนศิลปะวทิ ยาการอย่างเปน็ องค์รวม
บทบาทด้านจิตวิญญาณย่อมบูรณาการอยู่ในสิ่งที่เรียกว่า “การศึกษา” อยู่แล้วในตัว และหาก
“การศึกษา” คำเนินอย่างถูกต้อง คือดำเนินการผ่านการคลุกคลีเชื่อมโยง (Engagement) กับภาค
ส่วนต่าง ๆ ในสังคม สถานศึกษาย่อมมีโอกาสพัฒนาตนเองด้านจิตวิญญาณร่วมกันไปกับการทำ
หน้าท่ีเป็นผู้นำทางจติ วญิ ญาณ ให้แกส่ งั คม

นอกจากนี้ยังมีแนวความคิดในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณที่เน้นการพัฒนาตนเอง
จาก ภายในและจากค่านิยมเชงิ จติ ใจในการทำงาน28 ดังนี้

1. ด้านการร้จู ักตวั ตนทแ่ี ทจ้ ริงของตนเอง ผบู้ ริหารควรคิดทบทวนถึงเปา้ มายของชีวิตตัวเอง
อยู่ เสมอ หมั่นตั้งคำถามกับตนเอง เช่น เกิดมาทำไม มีชีวิตอยู่เพื่ออะไร นอกจากนี้ควรมอง
สถานการณข์ อง ชมุ ชน สงั คม และโลกทีก่ ำลงั เผชญิ อยู่ จะใช้ชวี ิตอยา่ งไรให้มีคุณค่าต่อท้ังตนเองและ
ผู้อื่น เป็นต้น และเมื่อ ค้นหาคำตอบได้แล้วก็จะทำให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้ค้นพบเป้าหมายสูงสุด
ของชวี ิตตน จะเหน็ ความสมั พันธ์ของตวั เองกับธรรมชาติท่ีไม่แยกจากกนั จะพบความปรารถนาและ
แรงบันดาลใจในสิ่งที่ อยากทำ และรู้ว่าการทำเรื่องยากหรือเรื่องที่ไม่เคยทำมาก่อนเพียงลำพังคน
เดียวอาจไม่สำเร็จ จึงต้องอาศัย ทีมงานมาร่วมทำด้วย ซึ่งเป็นที่มาของการจูงใจ ชักชวน และสร้าง
แรงบันดาลใจให้ทีมงานของตนอยากทำ สิ่งที่ดี ๆ ที่เป็นประโยชน์ ซึ่งต้องเป็นสิ่งที่ค้นพบด้วยตนเอง
การค้นพบคุณค่าของความเป็นมนุษย์ที่แท้จริง จะสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นค้นพบแรง
บันดาลใจของตนเอง และรว่ มทางไปด้วยกัน

13

28 ศกั ดิส์ ินี, เ. (2557)). ผนู้ ำแห่งอนาคต : คุณธรรม การนำร่วม และการเปล่ยี นแปลงจาก
ภายใน. In โครงการผนู้ ำ แหง่ อนาคต ศนู ย์จิตตปญั ญาศึกษา มหาวิทยาลยั มหิดล. นครปฐม: วี.พริน้ ท์
(1991).

ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณต้องทำให้ทีม ซึ่งก็คือครูและ
บุคลากรใน สถานศึกษาเกิดการพัฒนา เจริญงอกงามเติบโตขึ้นไปตามความรู้ ความสามารถ หรือ
ศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยยึดมั่นในคุณธรรม ความดีงาม มีความเมตตา เห็นแก่ประโยชน์
ส่วนรวม และสิ่งที่จะสามารถ สร้างแรงบันดาลใจให้กับครูและบุคลากรในสถานศึกษาได้ดีที่สุดคือ
การเป็นแบบอย่างทดี่ ี

2. ดา้ นการเปลีย่ นแปลงตัวเองจากภายใน ผบู้ ริหารสถานศึกษาจะต้องเอาชนะตัวเองในเรื่อง
ต่าง ๆ เช่น ความวิตกกังวล ความกลัว ความโกรธ ความมีวินัยในตนเอง เป็นต้น การเปลี่ยนแปลง
ตวั เอง จากภายในเป็นกระวนการพฒั นาตนเองให้เตบิ โตข้ึน ยิ่งใหญ่ขน้ึ การเป็นผ้นู ำคือการเดินทางสู่
ภาวะองค์ รวม คือเห็นว่าทุกสรรพสิ่งล้วนมีชีวิต มนุษย์เราไม่ได้มีมุมมองแต่ในด้านเหตุและผลอย่าง
เดยี ว แตม่ คี วาม รกั ความปรารถนา ความสขุ ความอบอุน่ และความปีติยนิ ดีซ่ึงเป็นอีกด้านหนึ่งของ
ชีวิตที่มีความสำคัญ ซึ่งการพัฒนาตนเองจากภายในจึงเป็นหนทางนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงด้านจิต
วิญญาณ

ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถพัฒนาตนเองจากภายในผ่านการภาวนาและการใคร่ครวญ
ใช้แนวคิดหลัก 3 ด้านเป็นแนวทางในการเรียนรู้และพัฒนา ได้แก่ แนวคิดเชิงศาสนาแนวคิดเชิง
มนุษยนยิ ม และแนวคิดเชงิ องคร์ วมบรู ณาการ ท้งั น้เี พือ่ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงตนเองอย่างลึกซ้ึงของ
ระดับจิตสำนึก เกิดปัญญาคืนรู้ และมีความรักความเมตตา ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของ
สถานศึกษา ชุมชนและ สังคมได้ตอ่ ไป

3. ด้านความชัดเจนถึงค่านิยมส่วนตัว และหลักการแห่งความสำเร็จที่ยึดถือ ในการพัฒนา
ตนเอง ไปสู่กาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาควรกำหนดค่านิยมของตนเองใน
ทางบวก โดยยึดหลักของคุณธรรม ความดีงาม เช่น ความรักความเมตตา ความเสียสละ มีความ
ซื่อสัตย์สุจริต เป็นต้น รวมไปถึงการมีหลักการในการดำเนินชีวิตที่มุ่งไปสู่เป้าหมายหรือความสำเร็จ
เชน่ ความอดทน ความเพียรพยายาม ความรับผิดชอบ เป็นต้น รวมไปถงึ มคี วามสามารถในการสร้าง
คุณค่าใหม่ ส่งิ ใหมท่ ่ี ดกี ว่าเดมิ โดยมงุ่ มั่นในการทำสิ่งทีย่ ิ่งใหญก่ ว่าตัวเอง ตลอดจนการดูแลรกั ษากาย
และจติ ใจของตน ให้เป็นปกติ

1.9 สรปุ

ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ได้โดยผ่านการ
ฝึกอบรม ผ่านพฤติกรรมองค์กร ผ่านการกระทำที่สูงส่ง และผ่านความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับชุมชนและ
สังคม นอกจากน้ียังมีแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ในด้านการรู้จักตัวตนที่แท้จริง

14

ของตนเอง ด้านการเปลี่ยนแปลงตัวเองจากภายใน และด้านความชัดเจนถึงค่านิยมส่วนตัวและ
หลกั การแหง่ ความสำเร็จท่ียดึ ถอื ซง่ึ จะเปน็ ประโยชนใ์ นการบรหิ ารสถานศึกษาให้ประสบความสำเร็จ
มากย่ิงขน้ึ ต่อไป

ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากร
ในสถานศึกษาจะเกิดความรัก และความไว้วางใจกันในการทำงาน การที่ผู้นำประพฤติตัวเป็น
แบบอย่าง น่ายกย่องเคารพนับถือ และทำให้ผู้ตามเกิดความภาคภูมิใจเมื่อร่วมงานกัน รวมถึงผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาจะนำมาสู่ความร่วมมือในการส่งเสริมการเรียนรู้
ร่วมกัน เกิดการทุ่มเททั้ง แรงกายแรงใจให้กับการดำเนินการต่าง ๆ เพื่อบรรลุผลตามเป้าหมายอัน
เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม อีกทั้ง ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณจะยึดมั่นใน
คุณธรรม ความดีงาม มีความเมตตา ตลอดจน การกระทำตนเป็นแบบอย่างท่ีดีกระทำสิ่งที่ถูกต้อง
และเป็นคุณประโยชน์อย่างแท้จริงแก่ส่วนรวมก็จะ กลายเป็นแรงบันดาลใจให้ทีมงานทำงานอย่าง
อทุ ศิ ตนเพ่อื เป้าหมายและคุณคา่ ที่แทจ้ ริงแหง่ งาน โดย ปราศจากการบงั คบั เกดิ การพฒั นา เกดิ ความ
เจริญงอกงามเติบโตขน้ึ ไปตามความรู้ ความสามารถ หรือ ศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล

15

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการกรมวิชาการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ. พ.ศ.2542 และ
ทีแ่ ก้ไข เพ่ิมเติม. (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545. กรงุ เทพมหานคร.

เกษม, ว. (2560). สืบสานพระราชปณธิ าน “การศึกษาไทย”. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธยิ ุวสถริ คุณ.
ปธาน, ส. (2559). อดุ มการณ์. ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ สถาบนั พระปกเกลา้ .
ประสาน , ห., และ ทิพวรรณ , ห. (2540). จิตวิทยาธุรกิจ พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:

สถาบันราชภัฎสวนดสุ ิต.
พงศ์เทพ, ส. (2564, สิงหาคม 10). การจัดการระบบสุขภาวะ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

http://oknation.nationtv.tv/blog/pongtheps
พยอม, ว. (2534). การบรหิ ารบุคคล. กรุงเทพมหานคร: พรานนกการพิมพ.์
พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ , ภ., พระครูโสภณ, พ., พระครูโอภาส, น., สมศักดิ์, บ., และ พีรวัฒน์ ,

ช. (2562, มกราคม – มนี าคม). จติ วิญญาณความเป็นครมู ืออาชีพ. วารสารมหาจฬุ านาค
รทรรศนป์ ที ี่ 6 ฉบับที่ 1, หน้า 34-45.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมมจติ โต). (2549). พทุ ธวิธีบริหาร. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มหา
จุฬาลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั .
พัชนี, ส. (2556). จิตวิญญาณของผู้นำทางการพยาบาล ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล. กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัชนี, ส., & ยุทธชัย, ไ. (2555). แนวคิดความเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ : การประยุกต์ใช้ใน
วิชาชีพพยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล, หนา้ 16-25.
วิจารณ์, พ. (2556). “ภาวะผู้นำจิตวิญญาณและการพัฒนามนุษย์”. สถาบันอุดมศึกษากับการ
เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ. บทความประกอบหนังสือการประชุมวิชาการประจำปีจติ ตปัญญา
ศึกษาคร้ังที่ 5.
วิสันต์ , ส. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในหนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทย
ตามหลกั สตู รประถมศกึ ษา พ.ศ. 2503-2544. หน้า 18.
ศักดิ์สินี, เ. (2557)). ผู้นำแห่งอนาคต : คุณธรรม การนำร่วม และการเปลี่ยนแปลงจากภายใน.
In โครงการผู้นำ แหง่ อนาคต ศูนยจ์ ิตตปญั ญาศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม: ว.ี พร้นิ ท์
(1991).
ศิริพร , ภ. (2553). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง “ความเป็นผู้หญิง” ในนิตยสาร. สำนักงาน
กองทุนสนับสนนุ การวิจัย.
ศุภลักษณ์ , ท., & อารยา, พ. (2554). จิตวิญญาณในชีวิตจริง. กรุงเทพมหานคร: สํานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.).
สมยศ, น. (2538). การบริหารเชิงกลยุทธ์และนโยบายธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: การบริหาร
นโยบายการค้า.

16

สมหวัง, พ. (2558). ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สอบครู ครอู าชีพกบั อาชีพครู. กรงุ เทพมหานคร: คุรสุ ภา.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564, สิงหาคม 16). การจัดทำ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). [ออนไลน์].
แหล่งทม่ี า: www.nesdb.go.th

สุทัศน์ , ส. (2558). ทำไมต้องทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. 21st Century Skill : Why ?
“TEACH LESS, LEARN, MORE”. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

สุนทรี, โ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวารสาร “อยู่ในบุญ” สุขที่พึง
ประสงค์ สุขได้ด้วยบุญ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี, 2, หน้า 158.

Fry, L. (2003). Toward a theory of ethical and spiritual leadership. The
leadership Quarterly, pp. 619-622.

Gary A., Y. (1989). Leadership in Organization. Englewood Cliffs: Prentice - Hall.

Klenke, K. (2003). The “s” factor in leadership education education for
business. Journal of, pp. 56-60.

McFarland. (1979). Management : Foundation & Practices 5th ed. New York:
Macmillan.

Ralph M., S. (1974). Handbook of Leadership : a Survey of Theory and Research.

Zohar, D. (2005). Spiritual Intelligent Leadership. [อ อ น ไ ล น ์ ] . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า :
https://doi.org/10.1002/ltl.