แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)


แผนที่เล่ม (อังกฤษ:atlas) คือแผนที่ที่รวมแผนที่ต่าง ๆ ทั้งลักษณะทางกายภาพ, ค่าเฉลี่ยของฝน, ค่าเฉลี่ยอุณหทางเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางด้านประชากร และ อื่น ๆ รวมเอาไวในเล่มเดียวกันและนอกเหนือจากการนำเสนอคุณลักษณะทางภูมิศาสตร์และขอบเขตทางการเมืองแล้ว แผนที่เล่มยังมีการแสดงสถิติทางภูมิศาสตร์ การเมือง สังคม ศาสนา และเศรษฐกิจ

แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)

แผนที่เล่มชิ้นแรกนั้นมีรูปร่างลักษณะเป็นชุดแม่พิมพ์ไม้ขนาดสม่ำเสมอซึ่งตั้งใจเอาไว้ตีพิมพ์ในหนังสือ โดยมีชื่อว่า De Summa totius Orbis ซึ่งน่าจะผลิตในปี 1524 หรือ 1526 โดยนักเขียนชาวอิตาลีในศตวรรษที่ 16 และนี้ทำให้เริ่มมีการตีพิมพ์แผนที่เล่มที่ชื่อ Theatrum Orbis Terrarum ในปี ค.ศ. 1570 โดยผู้ตีพิมพ์คืออับราฮัม ออร์ทีเลียส

เพือที่จะทำให้แผนที่เล่มใช้งานได้มากขึ้นจึงมีการแบ่งหมวดหมู่เอาไว้ว่าหน้าไหนมีการแสดงลักษณะของโลกด้านใดเช่นการแบ่งเป็นภูมิประเทศ ภูมิอากาศ จำนวนประชากร และค่าเฉลี่ยอุณหภูมิเป็นต้น โดยจะแบ่งไปตามลำดับตัวอักษร A-Z หรือ ก-ฮ

  1. Schwartz, John (2008-04-22). . The New York Times. สืบค้นเมื่อ2015-05-07.
  2. . Merriam Webster. สืบค้นเมื่อ2012-05-31.

แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)

แผนท, เล, ภาษาอ, เฝ, าด, แก, ไข, งกฤษ, atlas, อแผนท, รวมแผนท, าง, งล, กษณะทางกายภาพ, าเฉล, ยของฝน, าเฉล, ยอ, ณหทางเศรษฐก, ทางส, งคม, ทางด, านประชากร, และ, รวมเอาไวในเล, มเด, ยวก, และนอกเหน, อจากการนำเสนอค, ณล, กษณะทางภ, ศาสตร, และขอบเขตทางการเม, องแล, งม, การแ. aephnthielm phasaxun efadu aekikh aephnthielm xngkvs atlas khuxaephnthithirwmaephnthitang thnglksnathangkayphaph khaechliykhxngfn khaechliyxunhthangesrsthkic thangsngkhm thangdanprachakr aela xun rwmexaiwinelmediywkn 1 2 aelanxkehnuxcakkarnaesnxkhunlksnathangphumisastraelakhxbekhtthangkaremuxngaelw aephnthielmyngmikaraesdngsthitithangphumisastr karemuxng sngkhm sasna aelaesrsthkicaephnthielmthiekhiynodykioym edxlil in kh s 1742prawti aekikh aephnthielmpi 1595 aephnthielmchinaerknnmirupranglksnaepnchudaemphimphimkhnadsmaesmxsungtngicexaiwtiphimphinhnngsux odymichuxwa De Summa totius Orbis sungnacaphlitinpi 1524 hrux 1526 odynkekhiynchawxitaliinstwrrsthi 16 aelanithaiherimmikartiphimphaephnthielmthichux Theatrum Orbis Terrarum inpi kh s 1570 odyphutiphimphkhuxxbrahm xxrthieliyspraephth aekikhephuxthicathaihaephnthielmichnganidmakkhuncungmikaraebnghmwdhmuexaiwwahnaihnmikaraesdnglksnakhxngolkdanidechnkaraebngepnphumipraeths phumixakas canwnprachakr aelakhaechliyxunhphumiepntn odycaaebngiptamladbtwxksr A Z hrux k h 3 xangxing aekikh Schwartz John 2008 04 22 The Body in Depth The New York Times subkhnemux 2015 05 07 ekhruxngmuxthangphumisastr Road map Merriam Webster subkhnemux 2012 05 31 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aephnthielm amp oldid 9448774, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ย;กับลักษณะทางกายภาพและสังคมในพื้นที่ที่จะศึกษา เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์เป็นภาพรวมอย่างชัดเจน เครื่องมาทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญ มีดังนี้
1. แผนที่ (MAP)
    1.1 ความหมายของแผนที่ (Map)

     

- แผนที่ คือ อุปกรณ์ที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อแสดงลักษณะของพื้นผิวโลกหรือสิ่งที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก ทั้งที่เกิดเองโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แม่น้ำ เทือกเขา ทะเล เป็นต้น
    1.2 ประเภทของแผนที่ จำแนกได้ 3 ประเภท ได้แก่
     - แผนที่ภูมิประเทศ เป็นแผนที่ที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ เช่น ภูเขา แม่น้ำ ที่ราบ โดยใช้สีต่างๆ ได้แก่ สีเขียน สีน้ำตาล สีฟ้า เป็นต้น

แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)

- แผนที่เฉพาะเรื่อง เป็นแผนที่แสดงรายละเอียดข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่สัมพันธ์กัน เพื่อใช้ในกิจการเฉพาะอย่าง โดยอาจซ้อนอยู่บนแผ่นที่พื้นฐาน เช่น แผนที่ป่าไม้ แผนที่ท่องเที่ยว แผนที่การใช้ที่ดิน แผนที่แสดงเส้นทางคมนาคม  แผนที่แสดงแหล่งแร่ เป็นต้น

แผนที่ป่าไม้

- แผนที่เล่มหรือแอตลาส หมายถึง การนำแผนที่เฉพาะเรื่องหลายๆเรื่องมารวมเป็นเล่ม เช่น แผนที่เล่มชุดแผนที่โลก ประกอบด้วยแผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เขตการปกครอง พืชพรรณธรรมชาติ แหล่งน้ำ เป็นต้น 

1.3 องค์ประกอบของแผนที่

องค์ประกอบของแผนที่ หมายถีง สิ่งต่างๆที่ปรากฏบนแผนที่ แสดงไว้เพื่อให้ผู้ใช้แผนที่ทราบข้อมูลและรายละเอียดอย่างเพียงพอสำหรับการอ่านและการใช้แผนที่ได้อย่างถูกต้องและสะดวกรวดเร็ว ประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ ได้แก่

- เส้นกรอบแผนที่ 

- องค์ประกอบภายนอกกรอบแผนที่

- องค์ประกอบภายใจกรอบแผนที่

 1.4 การอ่านและการแปลความหมายในแผนที่

- สัญลักษณ์ คือ เครื่องหมายหรือสิ่งที่ผู้ทำแผนที่คิดขึ้น เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนรายละเอียดต่างๆที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ได้แก่ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางกายภาพ  สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางวัฒนธรรม สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะข้อมูลเฉพาะเรื่องหรือข้อมูลพิเศษ

- ทิศ คือ สิ่งที่่ใช้ในการนำทาง บอกให้รู้ถึงตำแหน่งช่วยให้การเดินทางไปยังจุดต่างๆ มีความถูกต้อง 

- มาตราส่วน คือ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางบนแผนที่กับระยะทางจริงบนพื้นโลก 

- ระบบพิกัด คือ ระบบที่กำหนดขึ้นไว้เป็นมาตรฐาน เพื่อใช้อ้างอิงถถึงตำแหน่งต่างๆบนพื้นดลกจากแผนที่ มีลักษณะเป็นตารางโครงข่ายที่เกิดจากการตัดกันของเส้นเมริเดียนและเส้นขนาน

2. รีโมตซนซิง (Remote Sensing) หรือการสำรวจข้อมูลระยะไกล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุ โดยการบันทึกข้อมูลจากการสะท้อนแสงเข้ากับอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับยานสำรวจ ซึ่งข้อมูลที่ได้จากรีโมตเซนซิง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายภาพทางเครื่องบินในระดับต่ำ เรียกว่า รูปถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograp) และข้อมูลที่ได้จากการบันทึกภาพจากดาวเทียมในระดับสูงกว่า เรียนว่า ภาพจากดาวเทียม (Satellite lmage)

แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)
         ภาพถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograp)
 
                               
แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)

ภาพถายดาวเทียม (Satellite lmage)                                    3. แผนที่เล่มหรือแอตลาส (atlas) หมายถึง การนำแผนที่เฉพาะเรื่องหลายๆเรื่อง มารวมเป็นเล่ม เช่น แผนที่เล่มชุดแผนที่โลก ประกอบด้วยแผนที่แสดงข้อมูลในด้านต่างๆ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เขตการปกครอง พืชพรรณธรรมชาติ แหล่งน้ำ เป็นต้น

แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)

แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)

แผนที่รูปเล่ม

องค์ประกอบของแผนที่

1. เส้นกรอบแผนที่  

2. องค์ประกอบภายนอกกรอบแผนที่ คือ รายละเอียดและคำอธิบายสิ่งต่างๆเกี่ยวกับแผนที่ประกอบด้วย ชื่อแผนที่ ทิศ มาตราส่วน และคำอธิบายสัญลักษณ์

3. องค์ประกอบภายในกรอบแผนที่ คือ รายละเอียดต่างๆ ที่อยู่ภายในเส้นกรอบแผนที่ โดยทั่วไปประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางภายภาพและทางวัฒนธรรม โดยแสดงด้วยเส้น สี ชื่อสถานที่ และระบบอ้างอิงในการกำหนดตำแหน่ง

แผนที่เล่ม (Atlas จึง เป็น เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ ได้ รับ ความ นิยม ในการใช้)

เพราะเหตุใดแผนที่เล่มจึงเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด

เพราะเหตุใดแผนที่เล่มจึงเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับความนิยมมาก มีภาพประกอบ ราคาถูก สะดวกในการใช้ เก็บรักษาได้ง่าย ทันสมัย สะดวกในการใช้ ราคาถูก สะดวกในการใช้ เก็บรักษาได้ง่าย

แผนที่เล่มใช้ทำอะไร

แผนที่เล่ม (อังกฤษ: atlas) คือแผนที่ที่รวมแผนที่ต่าง ๆ ทั้งลักษณะทางกายภาพ, ค่าเฉลี่ยของฝน, ค่าเฉลี่ยอุณหทางเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางด้านประชากร และ อื่น ๆ รวมเอาไวในเล่มเดียวกันและนอกเหนือจากการนำเสนอคุณลักษณะทางภูมิศาสตร์และขอบเขตทางการเมืองแล้ว แผนที่เล่มยังมีการแสดงสถิติทางภูมิศาสตร์ การเมือง สังคม ศาสนา และเศรษฐกิจ

แผนที่ประเภทใด แสดงข้อมูลทางถูมิศาสตร์หลาย ๆ ชนิดไว้ในสมุดแผนที่เล่มเดียว

3. แผนที่เล่มหรือแอตลาส (Atlas) หมายถึง การนาแผนที่เฉพาะเรื่อง หลายๆเรื่องมารวม เป็นเล่ม เช่น แผนที่เล่มชุดแผนที่โลก ประกอบด้วยแผนที่แสดงข้อมูลใน ด้านต่างๆ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เขตการปกครอง พืชพรรณธรรมชาติ แหล่งน้า เป็นต้น

ข้อใดเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติเมื่อเลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

เลือกใช้เฉพาะเครื่องมือที่ใช้งานได้ง่าย เลือกใช้เฉพาะเครื่องมือจากต่างประเทศ เลือกใช้เฉพาะเครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง เลือกใช้เครื่องมือหลายๆอย่างผสมผสานกัน