ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

  • ลูกค้าบุคคล
  • บัตร
  • บัตรเดบิต
  • ลูกค้าบุคคล
  • ...
  • บัตรเดบิต

บัตรเดบิต

บัตรเดบิตเวอร์ชวล LET’S SCB

บัตรเดบิตบนมือถือ ช้อปออนไลน์ได้ไม่มีสะดุด พร้อมโปรโมชัน และสิทธิพิเศษจากแบรนด์ดังทุกเดือน

เพิ่มเติม

บัตรเดบิต

บัตรเดบิตเวอร์ชวล SCB M VISA

บัตรเดบิตบนมือถือ ช้อปออนไลน์ได้ไม่มีสะดุด ได้ทั้งส่วนลดและแต้ม ใช้ได้ทันทีหลังจากสมัครและเปิดใช้บัตรผ่านแอป

เพิ่มเติม

บัตรเดบิต

บัตรเดบิต LET’S SCB

บัตรเดบิต LET’S SCB กิน ช้อป เที่ยว สะดวก ปลอดภัย ไม่ต้องใช้เงินสด พร้อมโปรโมชั่น Debit card และสิทธิพิเศษจากแบรนด์ดังทุกเดือน

เพิ่มเติม

  • สมัครบัตรเดบิต

  • บัตรเดบิต SCB

  • สมัครบัตรเดบิต

  • ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่
    ดูโปรโมชั่น
  • เอกสารเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ข่าวสารบัตรเดบิต

เลือกบัตรเดบิตที่เหมาะสมสำหรับคุณ

Your Interest

Your Choices

Reset

เพิ่มเติม

เอกสารประกอบการสมัคร

เอกสารยืนยันตัวตน

สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หนังสือเดินทาง หรือสำเนาบัตรข้าราชการ หรือบัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ

สมุดคู่ฝาก

ยื่นสมุดคู่ฝากเพื่อยืนยันบัญชีธนาคารของคุณ

Proof of Passport

Acceptable primary proofof identity includes, but is nolimited to, original.

Proof of address

A document issued by a government department that shows your address.

ตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับบัตรเดบิต

คำถามที่พบบ่อยทั้งหมด

คำถามที่พบบ่อย

  • ถ้าบัตร ATM /  Debit  ของ SCB  ถูกยึดที่เครื่อง ATM ของ SCB หรือ ของธนาคารอื่น  ต้องทำอย่างไร
  • ถ้าบัตร ATM /  Debit  ของ SCB  สูญหายต้องทำอย่างไร
  • หากใส่รหัสบัตรผิดติดต่อกันครบ 4 ครั้ง หรือลืมรหัส จะต้องทำอย่างไร

ติดต่อเรา

  • ส่งข้อความหาเรา
  • โทรหาเรา

e-Payment

การทำระบบ e-Payment จะทำให้ธุรกรรมทางการเงินและกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ดำเนินไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เป็นกลไกสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และสร้างความมั่นคงให้กับระบบบริหารจัดการการเงินการคลัง ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan)  จะมีส่วนช่วยในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศทั้งในด้าน

  1. ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย (Competitiveness)
  2. อันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business)
  3. ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index : HDI)

​1. ช่องทางการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

กระบวนการชำระเงินระหว่าง ผู้จ่าย/ผู้โอนเงินไปยังผู้รับเงินโดยเป็นการโอนสิทธิการถือครองเงินหรือการโอนสิทธิการถอนเงิน หรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากของผู้ใช้บริการที่เปิดไว้กับผู้ให้บริการด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือบางส่วนที่เกิดขึ้นผ่านสื่อ และช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การโอนผ่านทางATM บัตรเครดิต บัตรเดบิต การชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต การชำระเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น

เครื่องเอทีเอ็ม

เครื่องเอทีเอ็ม (ATM) เป็นเครื่องทำธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติของธนาคารพาณิชย์ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการที่ต้องการความรวดเร็วและความสะดวกสบาย เนื่องจากมีบริการที่หลากหลาย ทั้งบริการถอนเงิน สอบถามยอด โอนเงิน ซื้อ/ชำระค่าสินค้าและบริการ และเปลี่ยนรหัสบัตร ได้ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง เป็นต้น และจากผลสำรวจ Thailand Internet User Profile 2015 จะพบว่าการโอนเงินแบบออฟไลน์ผ่านเครื่อง ATM ได้รับความนิยมอันดับสองรองจากการโอนที่เคาน์เตอร์ธนาคาร

แผนภาพที่ 1  จำนวนเครื่องเอทีเอ็ม

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

จำนวนเครื่องเอทีเอ็ม ในปี 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 63,432 เครื่อง เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ซึ่งมี 61,614 เครื่อง โดยมี มีอัตราการเติบโตร้อยละ  3.0 และเมื่อดูภาพรวมการเติบโตของในช่วงตั้งแต่ปี 2553 ถึง 2558 พบว่า จำนวนเครื่องเอทีเอ็มมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปี ร้อยละ 7.4 ดังแสดงตามแผนภาพที่ 1 

เครื่องรับบัตร ณ จุดขาย (Electronic Fund Transfer at Point of Sale)

สำหรับการชำระค่าสินค้าและบริการ นอกจากผู้ใช้บริการจะสามารถชำระด้วยเงินสดแล้ว ยังสามารถชำระผ่านเครื่องรับบัตร ณ จุดขาย (EFTPOS) ซึ่งติดตั้งที่ร้านค้า โดยใช้ผ่านบัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม บัตรเดบิตและบัตรพลาสติกอื่นๆ

แผนภาพที่ 2 จำนวนเครื่องรับบัตร ณ จุดขาย (EFTPOS)

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

จำนวนเครื่องรับบัตร ณ จุดขายในปี 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น  357,986 เครื่อง เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าจำนวน  340,179 เครื่อง ด้วยอัตราการเติบโตลดลงร้อยละ 5.2 ซึ่งต่ำกว่าในภาพรวมช่วงตั้งแต่ปี 2553 ถึง 2557 จำนวนเครื่องรับบัตร ณ จุดขาย มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีร้อยละ 6.9

บัตรพลาสติก

บัตรพลาสติกต่างๆ ประกอบด้วย บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม และบัตรเดบิต ซึ่งเป็นบัตรที่ใช้ร่วมกับเครื่องเอทีเอ็มในการทำธุรกรรมทางการเงิน และเครื่องรับบัตร ณ จุดขาย (EFTPOS) ในการชำระค่าสินค้าและบริการจากร้านค้าที่ให้บริการ

แผนภาพที่ 3 จำนวนบัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม และบัตรเดบิต

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

การถือครองบัตรพลาสติกของประชากร ในปี 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 82.2 ล้านใบโดยมีการถือครองบัตรเดบิต สูงถึง 47.0 ล้านใบ คิดเป็นร้อยละ 57 ของการถือครองบัตรพลาสติกทั้งหมด โดยปัจจุบันเป็นที่สังเกตได้ว่าอัตราการเติบโตของบัตรเอทีเอ็ม ติดลบมาตลอดหลายปีที่ผ่านมาซึ่งอาจจะมีสาเหตุจาก ธนาคาร พาณิชย์ ได้ มุ่ง ทำการ ตลาด ในการ ออกบัตร เดบิต ทั้ง การ ออก บัตร ใหม่ และ ทดแทน การ ออก บัตร เอทีเอ็ม แต่โดยภาพรวมถือครองบัตรพลาสติกยังมีอัตราการเติบโตโดยรวมตั้งแต่ปี 2553 ถึงปี 2558  เติบโตร้อยละ 4.4

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

2. สถานภาพการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ปัจจุบัน
สถานภาพการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทั้งมูลค่าและปริมาณการชำระเงินเนื่องมาจากมีการพัฒนาและส่งเสริมอย่างต่อเนื่องเพื่อทดแทนการใช้เงินสดและเช็ค เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และลดต้นทุนการบริหารจัดการเงินสดของประเทศ (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2557) โดยปัจจุบันมีช่องทางการให้บริการทั้งที่เป็นสถาบันการเงิน และมิใช่สถาบันการเงิน รวมทั้งสิ้น 76 หน่วยงาน

การชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย

การชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย
การโอนเงินมูลค่าสูง (BAHTNET) การโอน เงินครั้งละหลายรายการ (Bulk Payment) การโอนเงินรายย่อยข้ามธนาคาร (ORFT Inter Bank) การโอนเงินรายย่อยภายในธนาคารเดียวกัน (ORFT Intra Bank) การใช้บัตรพลาสติกเพื่อการชําระเงิน (Payment Cards) และเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money)
 

ปริมาณการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

ปริมาณการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
แผนภาพที่ 4 ปริมาณการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ** ข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มขึ้นและลดลงบางปีเล็กน้อยตามแหล่งข้อมูลของ ธนาคารแห่งประเทศไทย

การชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ในปี 2558 มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 4,757.0 ล้านรายการ และมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 9.0 โดยการใช้บัตรพลาสติกเพื่อการชำระเงิน (Payment cards) มีจำนวนปริมาณที่สูงที่สุดเป็น 2,625.3 ล้านรายการ คิดเป็นร้อยละ 55.2 ของการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด นั้นแสดงถึงความนิยมในการใช้บัตรพลาสติกเพื่อการชำระเงิน แต่ถ้าดูอัตราการเติบโตกลับเป็นช่องทางที่มีอัตราการเติบโตในปี 2558 เป็นช่องทางที่เติบโตน้อยที่สุด

อย่างไรก็ตามรูปแบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์มีอัตราการเติบโตสูงที่สุดตั้งแต่ปี 2553-2558 เป็นต้นมา คือ เงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money) โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมร้อยละ 33.0 ต่อปี ทั้งนี้เพื่อช่วยให้มีความสะดวก รวดเร็ว เหมาะกับการชำระเงินจำนวนเงินที่ไม่สูงมากนักและลดความเสี่ยงการถือครองเงินสดมาเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่าง e-Money

แผนภาพที่ 5 มูลค่าการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ** ข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มขึ้นและลดลงบางปีเล็กน้อยตามแหล่งข้อมูลของ ธนาคารแห่งประเทศไทย

การชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ในปี 2558 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 860,200,900 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าซึ่งมีมูลค่า 824,865,380 ล้านบาท ในอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 โดยการโอนเงินผ่านระบบบาทเนต (BAHTNET) มีมูลค่าสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 92 ของมูลค่าการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดในปี 2558 โดยวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อช่วยลดความเสี่ยงในการชำระดุลระหว่างสถาบันการเงินที่มีบัญชีเงินฝากกับ ธปท.และเพื่อให้การโอนเงินสำหรับบุคคลที่สามมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และปลอดภัย

อย่างไรก็ตาม รูปแบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์มีอัตราการเติบโตสูงสุด คือ เงินเล็กทรอนิกส์ (e-Money) โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมร้อยละ 31.0 ต่อปี โดยผู้ใช้บริการได้ชำระเงินล่วงหน้าแก่ผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ และผู้ใช้บริการสามารถ นำไปใช้ชำระค่าสินค้าค่าบริการแทนการชำระด้วยเงินสดตามร้านค้าที่รับชำระ ทำให้มีความสะดวกรวดเร็ว ไม่ยุ่งยาก และไม่เสียเวลารอเงินทอนอีกด้วยทำให้เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน

ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Internet banking และ Mobile banking

ในปัจจุบัน ธนาคารพาณิชย์ได้มีการเพิ่มเติมช่องทางการให้บริการของธนาคารผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet banking) และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile banking) เช่น การโอนเงิน การสอบถามยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆบริการเกี่ยวกับการตรวจดูรายการใช้จ่ายบัตรเครดิตย้อนหลังหรือแม้กระทั่งการพิมพ์รายการทางบัญชีที่สามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลาแบบไม่ต้องเดินทางไปธนาคาร หรือตู้ ATM เพียงลูกค้ามีอุปกรณ์หรือระบบอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้

ทั้งนี้ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ทำการรวบรวมข้อมูลทั้งปริมาณ และมูลค่าการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านช่องทาง Internet Banking และ Mobile Banking เพื่อให้เห็นถึงแนวโน้มของการเลือกช่องทางการใช้บริการของผู้ใช้บริการในยุคของดิจิทัลที่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้อย่างทั่วถึงและเพิ่มมากขึ้น

แผนภาพที่ 6 ปริมาณธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Internet banking และ Mobile banking

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

หมายเหตุ

** ข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มขึ้นและลดลงบางปีเล็กน้อยตามแหล่งข้อมูลของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ปริมาณการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านช่องทางบริการ Internet banking และ Mobile banking ในปี 2558 ที่สำคัญคือ ปริมาณการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่าน Mobile banking เพราะเติบโตและสูงกว่า Internet banking เป็นปีแรก โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 126.9 ต่อปี และอัตราการเติบโตสะสมเฉลี่ยร้อยละ 76.6 ต่อปี

แผนภาพที่ 7 มูลค่าธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Internet banking และ Mobile banking

ข้อจำกัดของการชำระเงินผ่านบัตรเอทีเอ็ม ได้แก่

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

มูลค่าของธุรกรรมการชำระเงินผ่านช่องทางบริการ Internet banking และ Mobile banking ในปี พ.ศ. 2558 มีอัตราการเติบโตร้อยละ 20.2 และ 88.4 ตามลำดับ จะสังเกตุได้ว่าถึงแม้จะมีปริมาณการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่าน Mobile banking ที่สูงกว่า Internet banking แต่ก็ยังมีมูลค่าที่ยังต่ำกว่า แต่คาดว่าในอนาคต Mobile banking จะมีมูลค่าที่ใกล้กับ Internet banking มาขึ้นเรื่อยๆ เพราะพฤติกรรมและแนวโน้มจะเปลี่ยนไปทาง Mobile banking ที่เพิ่มมากขึ้น

ประกอบกับทิศทางของธนาคารแห่งประเทศไทยในระยะต่อไป การพัฒนาระบบการชำระเงินจะมุ่งเน้นพัฒนาให้เกิดความครอบคลุมและเข้าถึงผู้ใช้บริการกลุ่มต่างๆ อย่างต่อเนื่อง สิ่งเหล่านี้จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนสนับสนุนให้ภาครัฐและภาคธุรกิจก้าวเข้าสู่การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างครบวงจร ซึ่งภายใต้แผนกลยุทธ์ระบบการชำระเงิน (Payment Systems Roadmap)ระยะที่ 4 จะมีทั้งในส่วนของการพัฒนาบริการชำระเงินรายย่อยรองรับภาคธุรกิจ ภาครัฐ ประชาชน การมีช่องทางชำระเงินที่หลากหลายรองรับ e-Commerce/m-Commerce การบริการผ่าน Mobile ที่สะดวกรวดเร็ว (QR Code, เบอร์มือถือ) การใช้เครื่องรับบัตรร่วมกัน และกระจายเครื่องรับบัตร ซึ่งช่วงที่ผ่านมาธนาคารแห่งประเทศได้ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) เพื่อร่วมพัฒนามาตรฐานกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลการซื้อขายสินค้า (e-Invoicing) มาตรฐานกลางข้อความการชำระเงิน (Nation Payment Message Standard) ที่จะส่งผลให้ข้อมูลการค้าและข้อมูลการชำระเงินเชื่อมโยงกันได้โดยอัตโนมัติแบบ Straight-Through Processing ซึ่งจะช่วยเพิ่มความรวดเร็วและลดต้นทุนในกระบวนการทางธุรกิจอีกด้วย

ข้อจำกัดของบัตร Debit Card คือ อะไร

บัตรเดบิตจะไม่ค่อยมีโปรแกรมสะสมคะแนนแลกรางวัลและบริการอื่น ๆ เหมือนบัตรเครดิต บางทีเราอาจเผลอถ่ายรูปบัตรลงใน social ก็จะมีโอกาสเสี่ยงอย่างมากที่จะโดนขโมยข้อมูล เพราะการซื้อของบนโลกออนไลน์ผ่านบัตรเดบิตในปัจจุบันสามารถทำได้ง่ายอย่างมาก เพียงกรอกข้อมูลไม่กี่อย่างลงไปเท่านั้นดังนั้นจึงควรระวังมากๆ

บัตรเดบิตมีวงเงินให้ไหม

เราสามารถกำหนดวงเงินการใช้จ่ายในแต่ละวันได้โดยกำหนดที่ตู้ ATM เพื่อป้องกันการใช้จ่ายเกินกำหนด หากต้องการเพิ่มหรือลดจำนวนเงินก็สามารถเปลี่ยนแปลงวงเงินได้ตลอดเวลา แต่ต้องอยู่ภายในวงเงินที่ธนาคารกำหนดให้ถอนได้ต่อวันด้วย

บัตรเดบิตกสิกรกี่วันคืนเงิน

a. กรณีบัตรเดบิต ลูกค้าจะได้รับการคืนเงินภายใน 5 วันทำการ b. กรณีบัตรเครดิต ธนาคารจะยกเลิกรายการดังกล่าว ลูกค้าไม่ต้องชำระเงินตามยอดเรียกเก็บที่ผิดปกติ และไม่มีการคิดดอกเบี้ย ระยะต่อไป

สมัครบัตรเดบิต ได้กี่ใบ

KBank Live on Twitter: "@KatthichaC ใช่ค่ะ 1 บัญชีสามารถสมัครบัตรเดบิตได้ 5 ใบนะคะ ^^" / Twitter.