แผนการ สอน ก ศ น ทุก ระดับ

แผนการจัดการเรียนรู้ คุณครูฤทธิชัย ลีแวง

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ คุณครูฤทธิชัย ลีแวง

Read the Text Version

No Text Content!

แผนการจัดการเรียนรู้ประจ าปีการศึกษา 1/2565 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นายฤทธิชัย ลีแวง ครู กศน.ต าบลเมืองหงส์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอจตุรพักตรพิมาน ส านักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด ส านักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ค าน า แผนการจัดการเรียนรู้รายภาคเรียน ประจําภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสําคัญสําหรับครูที่จะทําให้การจัดการเรียนรู้บรรลุเปูาหมายที่ต้องการ เป็น การวางแผนไว้ล่วงหน้าโดยศึกษาในเรื่อง สาระพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๕) หมวด ๓ ระบบการศึกษา และ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา ทุกมาตรากรอบของการจัด การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เอกสารเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพการศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานเอกสารเกี่ยวกับเนื้อหาใน รายวิชาที่จัดการเรียนรู้ และศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบต่าง ๆ ซึ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสําคัญและรูปแบบการเรียนรู้ โดยกําหนดให้ใช้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. (ONIE MODEL) ซึ่งมี ๔ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ ๑ การกําหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation ) ขั้นตอนที่ ๒ การแสวงหาข้อมูลและ จัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) ขั้นตอนที่ ๓ การปฏิบัติและนําไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) ขั้นตอนที่ ๔ การประเมินผล (E : Evaluation) แผนการเรียนรู้จะทําให้ครูได้คู่มือการ จัดการเรียนรู้ ทําให้ดําเนินการจัดการเรียนรู้ได้ครบถ้วนตรงตามหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ได้ตรงเวลา ขอขอบคุณ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้ความรู้ คําแนะนําและให้คําปรึกษาเป็นแนวทาง ทําให้แผน จัดการเรียนรู้รายภาคเรียนเล่มนี้จนสําเร็จ เป็นรูปเล่มสมบูรณ์ ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สําหรับ ผู้นําไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพหากพบข้อผิดพลาดหรือ มีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทําขอน้อมรับไว้แก้ไข ปรับปรุงด้วยความขอบคุณยิ่ง นายฤทธิชัย ลีแวง ครู กศน.ตําบล สารบัญ หน้า ก คํานํา ก สารบัญ ข ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ ค แผนการกําหนดการจัดการเรียนการสอน ประจําภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2564 จ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 1 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ครั้งที่ 2 9 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 19 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 4 29 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ครั้งที่ 5 41 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ครั้งที่ 6 47 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ครั้งที่ 7 54 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ครั้งที่ 8 61 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ครั้งที่ 9 73 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ครั้งที่ 10 86 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ครั้งที่ 11 96 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ครั้งที่ 12 104 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ ครั้งที่ 13 113 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 ครั้งที่ 14 119 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาช่องทางการขยายอาชีพ ครั้งที่ 15 126 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ครั้งที่ 16 134 แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการขยายอาชีพ ครั้งที่ 17 146 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ครั้งที่ 18 161 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตรชาติไทย ครั้งที่ 19 168 คณะผู้จัดทํา ซ ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 กศน.ต าบลเมืองหงส์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภออ าเภอจตุรพักตรพิมาน ส านักงาน กศน.จังหวัดร้อยเอ็ด สัปดาห์ที่ สาระ รายวิชา( หน่วยกิต ) วิธีการจัดการเรียนรู้ หมาย เหตุ แบบพบกลุ่ม แบบตนเอง 1 ปฐมนิเทศ - รายงานตัว / ลงทะเบียน - แนะนําบุคลากร กศน.ตําบลเมืองหงส์ - แจ้งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โครงสร้างหลักสูตร วิธีเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล กพช. การสอบระดับชาติ (N-NET)ประเมินคุณธรรม เกณฑ์การจบหลักสูตร มอบหมาย กรต. - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ และนันทนาการ - พบครูประจํากลุ่ม 2-4 ทักษะการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ (5 นก.) ทร31001 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 5 การดําเนินชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง(1 นก.) - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 6-8 ความรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์(5 นก.) พว31001 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 9-11 ความรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์(5 นก.) พว31001 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด สอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สัปดาห์ที่ สาระ รายวิชา( หน่วยกิต ) วิธีการจัดการเรียนรู้ หมาย แบบพบกลุ่ม แบบตนเอง เหตุ 12-13 การพัฒนาสังคม สังคมศึกษา (2 นก.) สค31001 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 14 การพัฒนาสังคม อาชญากรรมบนโลกออนไลน์ (2 นก.) สค0200037 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 15 การพัฒนาสังคม การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ3 (3 นก.) สค32032 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 16 การประกอบอาชีพ ช่องทางการขยายอาชีพ (2 นก.) อช31001 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 17-18 การประกอบอาชีพ ทักษะการขยายอาชีพ (4 นก.) อช31002 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 19 การประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง (2 นก.) อช31003 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด 20 การพัฒนาสังคม ประวัติศาสตร์ชาติไทย (3 นก.) สค32034 - กระบวนการกลุ่ม - การแก้ปัญหาการเรียน - การเรียนแบบออนไลน์ - มอบหมาย กรต. - ติดตาม กรต. - วางแผนการเรียนรู้ - เรียนรู้ตามแผน - จัดทําหลักฐานการเรียนรู้ - ส่งงานตามกําหนด ตรวจสอบงาน คะแนน และประเมินผลนักศึกษา แผนการก าหนดการจัดการเรียนการสอน ประจ าภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ครูผู้สอน นายฤทธิชัย ลีแวง ต าแหน่ง ครู กศน.ต าบล กศน.อ าเภอจตุรพักตรพิมาน ส านักงาน กศน.จังหวัดร้อยเอ็ด สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี เวลา วิชา/กิจกรรม สถานที่จัดการเรียน การสอน 1 17 พ.ค. 2565 09.00 – 16.00 น. กิจกรรมปฐมนิเทศ กศน.ตําบลเมืองหงส์ 2 19 พ.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. ทักษะการเรียนรู้(5 นก.) ทร31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 3 26 พ.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. ทักษะการเรียนรู้(5 นก.) ทร31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 4 2 มิ.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. ทักษะการเรียนรู้ (5 นก.) ทร31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 5 9 มิ.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. เศรษฐกิจพอเพียง (1 นก.) ทช31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 6 16 มิ.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. คณิตศาสตร์(5 นก.) พค31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 7 23 มิ.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. คณิตศาสตร์(5 นก.) พค31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 8 30 มิ.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. คณิตศาสตร์(5 นก.) พค31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 9 7 ก.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. วิทยาศาสตร์(5 นก.) พว31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี เวลา วิชา/กิจกรรม สถานที่จัดการเรียน การสอน 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 10 21 ก.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. วิทยาศาสตร์(5 นก.) พว31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 11 2 ส.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. วิทยาศาสตร์(5 นก.) พว31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 12 4 ส.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. สังคมศึกษา (3 นก.) สค31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย สอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 13 9 ส.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. สังคมศึกษา (3 นก.) สค31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 14 11 ส.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. อาชญากรรมบนโลกออนไลน์ (2 นก.) สค0200037 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 15 16 ส.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ3 (3 นก.) สค32032 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 16 18 ส.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. ช่องทางการขยายอาชีพ (2 นก.) อช31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 17 25 ส.ค. 2565 09.00 – 12.00 น. ทักษะการขยายอาชีพ (4 นก.) อช31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 18 1 ก.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. ทักษะการขยายอาชีพ (4 นก.) อช31001 กศน.ตําบลเมืองหงส์ สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี เวลา วิชา/กิจกรรม สถานที่จัดการเรียน การสอน 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 19 8 ก.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง (2 นก.) อช31003 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 20 15 ก.ย. 2565 09.00 – 12.00 น. ประวัติศาสตร์ชาติไทย (3 นก.) สค32034 กศน.ตําบลเมืองหงส์ 13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามอัธยาศัย 17 – 18 กันยายน 2565 08.30 – 17.00 สอบปลายภาค โรงเรียนชุมชน บ้านเมืองหงส์ ลงชื่อ............................................................ครูผู้สอน ( นายฤทธิชัย ลีแวง ) ครู กศน.ตําบล ชื่อลง............................................................ผู้รับรองข้อมูล ( นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร ) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งที่ 1 ปฐมนิเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ต าบลเมืองหงส์ 1. สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา 09.00-12.00 น. 2. วิชา ปฐมนิเทศ 3. มาตรฐานที่ 4. หน่วยการเรียนรู้/เรื่อง การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 5. สาระส าคัญ โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ประกอบด้วย 5 สาระ การเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ทักษะการดําเนินชีวิต ความรู้พื้นฐาน การประกอบอาชีพ และการพัฒนา สังคม ซึ่งแต่ละสาระประกอบด้วยรายวิชาบังคับ และวิชาเลือก (เลือกบังคับและเลือกเสรี)ตามจํานวนหน่วยกิต ใน โครงสร้างรายวิชาบังคับทุกวิชาผู้เรียนต้องลงทะเบียนเรียนตามที่กําหนด ส่วนรายวิชาเลือกเสรีสถานศึกษา กําหนดได้ตาม ความต้องการ และรายวิชาเลือกตามที่ส่วนกลางกําหนดในรายวิชาเลือกบังคับ นอกจากนี้ทุกระดับต้องทํา กิจกรรมคุณภาพชีวิต อย่างน้อย 200 ชั่วโมง โครงงาน 3 หน่วยกิต และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 6. เนื้อหา 1. โครงสร้างการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 2. วิธีการจัดการเรียนรู้ 7. จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ดูจากผังการออกข้อสอบ) 1. ผู้เรียนรู้ และเข้าใจวิธีการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 8. การบูรณาการกับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เงื่อนไข 3 หลักการ การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ) ความรู้ - โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - รูปแบบวิธีเรียน - การวัดและประเมินผลการเรียน - การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) - การประเมินคุณธรรม - การจบหลักสูตร คุณธรรม - มีความขยัน - ความรับผิดชอบ - ความสามัคคี พอประมาณ - การวางแผนที่ความเหมาะสมในการศึกษาเรียนรู้ - เวลาในการเรียน - การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ มีเหตุผล - เหตุผลในการเรียน กศน. - การนําความรู้และวุฒิการศึกษาไปใช้ในการดําเนินชีวิต มีภูมิคุ้มกัน - การนําความรู้ที่ได้รับจากการเรียน ไปปรับใช้ในชีวิตประจําวัน วัตถุ - การนําวุฒิการศึกษาไปศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น - ผู้เรียนได้รับความรู้ มีทักษะในการ สังคม - มีการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดและวิเคราะห์ร่วมกัน สิ่งแวดล้อม - การใช้วัสดุทางการศึกษาที่ไม่ทําให้เกิดความเสียหายกับสิ่งแวดล้อม - การรักษาความสะอาดในการจัดการเรียนการสอน วัฒนธรรม - การอยู่ร่วมกัน - การทํางานกลุ่ม/ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การแบ่งปัน 9. กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ก าหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ ครูผู้สอนกล่าวทักทายผู้เรียน และแจ้งจุดประสงค์ของการปฐมนิเทศ ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ 1. ครูผู้สอนให้ผู้เรียนกล่าวทักทายและสนทนากันเอง 2. ครูอธิบายหลักการโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการน าไปใช้ 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุป 2. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนของความรู้ที่ยังไม่ครบถ้วน ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้ ครูผู้สอนสรุปผลจากการนําเสนอ และเติมเต็มองค์ความรู้พร้อมมอบหมายงาน 10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. หนังสือเรียน 11. การวัดและประเมินผล 11.1 วิธีการวัดและประเมินผล - แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทํางานร่วมกับผู้อื่นของผู้เรียนรายบุคคล 11.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล. - ประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทํางานร่วมกับผู้อื่น ของผู้เรียนรายบุคคล - คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 11.3 เกณฑ์การวัดและการประเมินผล - แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทํางานร่วมกับผู้อื่นของผู้เรียนรายบุคคล ระดับดี พอใช้ และควรปรับปรุง กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................... ลงชื่อ…………………………………………….ครูผู้สอน ( นายฤทธิชัย ลีแวง ) ครู กศน.ตําบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........ ..................... ลงชื่อ…………………………………………….ผู้อนุมัติแผน ( นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร ) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตําบลเมืองหงส์ 1. สัปดาห์ที่ 2 วันที่ 19 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา 09.00-12.00 น. 2. วิชา ทักษะการเรียนรู้ รหัสวิชา ทร31001 จํานวน 5 หน่วยกิต 3. มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ มาตรฐานที่ 1.3 มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการจัดการความรู้ 4. หน่วยการเรียนรู้/เรื่องการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5. สาระสําคัญ อธิบายความหมาย ความสําคัญ และ กระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ปฏิบัติการฝึกทักษะ พื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และเทคนิคในการเรียนรู้ด้วย ตนเอง และการวาง แผนการ เรียนรู้ และการประเมินผล การเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกปฏิบัติทักษะการพูด อธิบายปัจจัย ที่ทําให้การ เรียนรู้ด้วยตนเองประสบ ความสําเร็จ 6. เนื้อหา 1. ความหมายและ ความสําคัญของทักษะการ เรียนรู้ และกระบวนการของ การเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. ทักษะพื้นฐานทาง การศึกษาหาความรู้ ทักษะการ แก้ปัญหาและเทคนิคในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งการ วางแผนการเรียนรู้ และการ ประเมินผลการเรียนรู้ด้วย ตนเอง 3. ทักษะการพูด และการทํา แผนผังความคิด 4. ปัจจัย ที่ทําให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสําเร็จ 7. จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ดูจากผังการออกข้อสอบ) 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และ กระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. ปฏิบัติการฝึกทักษะ พื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาและเทคนิคในการ เรียนรู้ด้วย ตนเอง และการวางแผนการ เรียนรู้ และการประเมินผล การเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. ฝึกปฏิบัติทักษะการพูด 4. อธิบายปัจจัย ที่ทําให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบ ความสําเร็จ 8. การบูรณาการกับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เงื่อนไข 3 หลักการ การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ) ความรู้ ผู้เรียนอธิบายความหมาย ความสําคัญ และ กระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ปฏิบัติการฝึกทักษะ พื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และเทคนิคในการเรียนรู้ด้วย ตนเอง และการวางแผนการ เรียนรู้ และการประเมินผล การเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกปฏิบัติทักษะการพูด อธิบายปัจจัย ที่ทําให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบ ความสําเร็จ คุณธรรม - มีความชื่อสัตย์สุจริตในการทํางาน - มีความสามัคคีในหมู่คณะ - มีความขยัน อดทน พอประมาณ - รู้จักการเรียนรู้ด้วยตนเองประสบ ความสําเร็จ มีเหตุผล - ได้มีการวางแผนการ เรียนรู้ และการประเมินผล การเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกปฏิบัติทักษะ - การพูด อธิบายปัจจัย ที่ทําให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบ ความสําเร็จ มีภูมิคุ้มกัน - สามารถทําให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบ ความสําเร็จ วัตถุ - รู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ - มีทักษะในการใช้อุปกรณ์เทคโลโลยี และการดูแลรักษา สังคม - มีทักษะการอยู่ร่วมกันในกลุ่ม และทํางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข - ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน - รู้รักสามัคคี สิ่งแวดล้อม - รู้จักกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ วัฒนธรรม - การอยู่รวมกับสังคมได้อย่างเป็นสุข 9. กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้(O : Orientation) - ครูทักทายกล่าวนํา และอธิบายความสําคัญของการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นเครื่องมือ สําคัญในการ เรียนรู้ กศน. ประกอบด้วย ๑.๑ ทักษะการพูด และการฟัง ๑.๒ ทักษะการจดบันทึก เช่น ผังความคิด ๑.๓ ทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ๑.๔ การใช้ทักษะ ข้อ๑.๑-๑.๓ กับการเรียน กศน. - ครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม ข้อสงสัย ก่อนเข้าสู่ ขั้นตอนต่อไป - ครูกําหนดกติกาเบื้องต้น ในการเรียน กศน. ร่วมกับผู้เรียน ๑. การปฏิบัติตัวในการเรียนให้ประสบความสําเร็จ ผู้เรียนต้องใช้ทักษะที่จําเป็น ตามที่ได้กล่าวถึงในขั้น กําหนดสภาพปัญหา (การพูด การฟัง จดบันทึกแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง) 2. เข้าร่วมกิจกรรมและแสวงหาข้อมูลตามที่ได้รับ มอบหมาย ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้(N : New ways of learning) - ครูกาหนดกรอบเนื้อหาวิชาทักษะการเรียนรู้ตามใบ งานกรอบเนื้อหาทักษะการเรียนรู้ ตาม ใบงานที่ ๑ ๑) กรอบเนื้อหา ๒) ภารกิจ/งานที่ต้องปฏิบัติ/มอบหมาย ๓) วางแผนกําหนดวันเวลาที่ส่งงาน และพบกลุ่ม และวิธีการประเมินผล - ครูจัดกิจกรรมแบ่งกลุ่ม เพื่อมอบหมายให้ พิจารณา เนื้อหาตามใบงาน กลุ่มละ ๑ เนื้อหา โดยแจกให้ครบทั้ง ๕ เนื้อหา ดังนี้ เนื้อหาที่ ๑ การเรียนรู้ด้วยตนเอง เนื้อหาที่ ๒ การใช้แหล่งเรียนรู้ เนื้อหาที่ ๓ การจัดการความรู้ เนื้อหาที่ ๔ การคิดเป็น เนื้อหาที่ ๕ การวิจัยอย่างง่าย - ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มใหญ่และร่วมกันกําหนดและสร้างข้อตกลงในเงื่อนไข ๓ ข้อ ได้แก่ ๑) กรอบเนื้อหา ๒) ภารกิจ/งานที่ต้องปฏิบัติ/มอบหมาย ๓) กําหนดวันเวลาที่สั่งงาน และพบกลุ่ม - ผู้เรียน/ครู บันทึกข้อตกลงโดยจัดทําและบันทึก ร่องรอยการศึกษาด้วยตนเองตามแบบ บันทึกที่ครูมอบให้ในใบงานที่ ๒ และทําเป็นเอกสารตามแบบที่ กําหนด ในใบงานที่ ๓ “ปฏิทินการเรียนรู้ รายบุคคล” - ครูและผู้เรียนสรุปปัจจัยที่ทําให้การเรียนรู้ด้วย ตนเองประสบความสําเร็จ - ครูมอบหมายภารกิจ ตามใบงานที่ ๔ และนัดหมาย ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการนําไปใช้(I : Implementation) - ฝึกปฏิบัติทักษะการพูด และการฟัง โดยใช้กิจกรรม แนะนําตนเอง (ใบงานที่ ๕) ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) - สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนและจด บันทึก - ขั้นตอนที่ ๓ หากพบวา ทักษะการพูดของผู้เรียน ่ คนใดควรปรับปรุง ให้ครูบันทึกผลพร้อม ทั้งฝึก ทักษะเพิ่มเติมให้เป็นรายบุคคลส่วนผู้เรียนที่มีทักษะ ดีอยู่แล้ว ครูส่งเสริมให้ดียิงขึ้น - จดบันทึกความกาวหน้าของผู้เรียนในแต่ละทักษะ เป็นรายบุคคล 10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียนทักษะการเรียนรู้ (ทร31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - สื่ออินเทอร์เน็ต - ห้องสมุดประชาชน - แหล่งเรียนรู้ในชุมชน 11. การวัดและประเมินผล 11.๑. สังเกต กระบวนการ มีส่วนร่วม 11.2. ผลงาน จากการเข้า ร่วม กระบวนการ กลุ่ม 11.๓. บันทึก ข้อตกลง 11.๔. ภาพ/ ร่องรอยการ จัดกิจกรรม 11.๕. สอบถาม กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................... ลงชื่อ…………………………………………….ครูผู้สอน (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครูกศน.ตําบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. . ลงชื่อ………………………………………………………ผู้อนุมัติแผน (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ กศน.ตําบลเมืองหงส์ ครั้งที่ 1 วันที่ 19 เดือน..พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ครูผู้สอนนายฤทธิชัย ลีแวง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 09.00-12.00 น. สาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ รหัสวิชา ทร31001 จํานวนผู้เรียนทั้งหมด ............... คนเข้าเรียน…………………คน ไม่เข้าเรียน……………………….คน 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การประเมินโดยใช้ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน พบว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียน มากกว่าก่อนเรียนจํานวน ........ คนคิดเป็นร้อยละ............ คะแนนการทดสอบหลังเรียน น้อยกว่าก่อนเรียนจํานวน ......... คนคิดเป็นร้อยละ............ 2. เนื้อหา/สาระ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ 3. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ (O) ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ขั้นที่ 2แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้(N) ...................................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................................................. ............................................... ......................................................................................................................................................... ................... ............................................................................................................... ............................................................. ขั้นที่ 3การปฏิบัติและการนําไปใช้(I) ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ขั้นที่ 4การประเมินผลการเรียนรู้(E) ............................................................................................................................. ............................................... ...................................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... 4. ปัญหา/อุปสรรค การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ลงชื่อ....................................................... (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครูผู้สอน วันที่.............../.................../............... ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... .......................................................... ลงชื่อ.................................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน ใบความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษา เรื่องการเรียนรู้ด้วยตนเอง จาก QR-Code ใบงานที่ 1 วิชาทักษะการเรียนรู้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง ให้ผู้เรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเองและตอบคําถามต่อไปนี้ 1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... 2. การเรียนรู้ด้วยตนเองมีความสําคัญอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... 3. ผู้เรียนคิดว่าการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถนําความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้หรือไม่อย่างไรพร้อม ยกตัวอย่าง ประกอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... 4. ให้ผู้เรียนข้อมูลที่ใช้ประกอบในการพัฒนางานและการศึกษาต่อ หรือการสมัครงานมา 1 อย่าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... 5. จากตัวอย่างข้อมูลนี้ ให้ผู้เรียนสรุปสาระสําคัญที่ได้จากการอ่านข้อมูล สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้………………………………………………………………….…………….......................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………...... แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ครั้งที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตําบลเมืองหงส์ 1. สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 26 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา 09.00-12.00 น. 2. วิชา ทักษะการเรียนรู้รหัสวิชา ทร31001 จํานวน 5 หน่วยกิต 3. มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ มาตรฐานที่ 1.3มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการจัดการความรู้ 4. หน่วยการเรียนรู้/เรื่องการใช้แหล่งเรียนรู้ และการจัดการความรู้ 5. สาระสําคัญ ความหมาย ความสําคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ การใช้ห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่สําคัญ รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเองบ่งชี้ข้อดีข้อเสียของแหล่งเรียนรู้ปฏิบัติการเรียนรู้กับแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ ได้เหมาะสม ความหมาย ความสําคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อ ยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทําสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ปฏิบัติการด้านทักษะ กระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทํา สารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว 6. เนื้อหา 1. ความหมาย ความสําคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ เข้าถึงสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่สําคัญ รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ต เพื่อการเรียนรู้ของตนเอง 2. ข้อควรคํานึงในการศึกษาเรียนรู้กับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งนวัตกรรมและเทคโนโลยี 3. ความหมาย ความสําคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทําสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ 4. ทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ 5. สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทําสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว 7. จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ดูจากผังการออกข้อสอบ) 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ การใช้ห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่ สําคัญ รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเอง 2. บ่งชี้ข้อดีข้อเสียของแหล่งเรียนรู้ 3. ปฏิบัติการเรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ต่างๆได้เหมาะสม 4. อธิบายความหมาย ความสําคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอด ความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทําสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ 5. ปฏิบัติการด้านทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ 6. สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทําสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว 8. การบูรณาการกับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เงื่อนไข 3 หลักการ การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ) ความรู้ - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการจัดการความรู้ คุณธรรม - มีความชื่อสัตย์สุจริตในการทํางาน - มีความสามัคคีในหมู่คณะ - มีความขยัน อดทน พอประมาณ - รู้จักการเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีให้เข้ากับยุคสมัย - ใช้ทรัพยากรกรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด มีเหตุผล - ได้มีการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเองบ่งชี้ข้อดีข้อเสียของแหล่งเรียนรู้ปฏิบัติการ เรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้เหมาะสม มีภูมิคุ้มกัน - สามารถจัดทําสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว วัตถุ - รู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ - มีทักษะในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยี และการดูแลรักษา สังคม - มีทักษะการอยู่ร่วมกันในกลุ่ม และทํางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข - ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน - รู้รักสามัคคี สิ่งแวดล้อม - รู้จักกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ วัฒนธรรม - การใช้ห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่สําคัญ รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ ของตนเองบ่งชี้ข้อดีข้อเสียของแหล่งเรียนรู้ปฏิบัติการเรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้เหมาะสม 9. กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้(O : Orientation) 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันกําหนดสภาพความจําเป็นที่ต้องเรียนรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 1) ทําไมต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง? 2) ทําไมต้องใช้แหล่งเรียนรู้? 3) ทําไมต้องจัดการความรู้? 2. ครูและผู้เรียนร่วมกันกําหนดกรอบ/เนื้อหา เกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ รวมทั้งการจัดการความรู้ ตามที่เรียนรู้ครั้งที่แล้ว 3. ครูและผู้เรียนร่วมกันวางแผนการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้(N : New ways of learning) 1. ครูให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองในหัวข้อที่กําหนดในใบงานที่ 1 เกี่ยวกับ - ความหมาย ความสําคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง - ความสําคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ส่งผลในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสรุปองค์ ความรู้จากการอ่าน - ความหมาย ความสําคัญ และการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ - ความหมาย ความสําคัญหลักการของกระบวนการจัดการความรู้ และการรวมกลุ่มเพื่อต่อ ยอดความรู้การพัฒนาขอบข่ายความรู้ต่างๆ เพื่อจัดทําระบบสารสนเทศได้ 2. ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมจากสื่ออินเตอร์เน็ต ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการนําไปใช้(I : Implementation) 1. ผู้เรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ละประมาณ 8 – 10 คน และมอบหมายให้ผู้เรียนในแต่ละกลุ่ม ร่วมกันสรุปจากใบงานที่ผู้สอนแจกให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองในหัวข้อกําหนดให้ 4 หัวข้อ ได้แก่ 1) ความหมาย ความสําคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเองลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความสําคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ส่งผลในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสรุปองค์ความรู้จากการอ่าน 2) ความหมาย ความสําคัญ และการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ 3) ความหมาย ความสําคัญหลักการของกระบวนการจัดการความรู้ และการรวมกลุ่มเพื่อต่อ ยอดความรู้ 4) การพัฒนาขอบข่ายความรู้ต่างๆ เพื่อจัดทําระบบสารสนเทศได้โดยให้แต่ละกลุ่มสรุปกลุ่ม ละ 1 หัวข้อและครูสรุปหลังจากแต่ละกลุ่มนําเสนอแต่ละหัวข้อแล้ว 2. ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันจัดทําแผนผังความคิด เรื่องข้อดี ข้อเสียของสิ่งที่ เกี่ยวข้องกับทักษะการเรียนรู้ทั้ง 3 เรื่อง ได้แก่ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ใน กระดาษบรู๊ฟ 3. ครูสรุปข้อดีข้อเสียจากข้อ 2 จากแผนผังความคิดในกระดาษบรู๊ฟ 4. ครูให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มโดยการจับคู่และให้แต่ละคู่ร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้ 3 เรื่อง ได้แก่ 1) สรุปวิธีการประมวลความรู้ที่ได้จากการอ่านการฟัง การสังเกต การจดบันทึกเป็น สารสนเทศ 2) วิธีการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้แต่ละประเภท 3) วิธีการจัดการความรู้ โดยการนํามาจัดทําเป็นสารสนเทศเพื่อนําไปใช้ 5. ครูสุ่มให้แต่ละคู่ออกมาเล่าเรื่องที่ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้คู่ละ 1 หัวข้อ ให้ครอบคลุมทั้ง 3 เรื่อง 6.ครูสรุปความคิดรวบยอดกับผู้เรียนเกี่ยวกับเนื้อหา การเรียนรู้ด้วยตนเอง การจัดการแหล่ง เรียนรู้ และการจัดการความรู้ ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันประเมินความรู้ ความเข้าใจและทักษะการนําไปใช้ตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ 2. ครูมอบหมายใบงานให้ผู้เรียนไปศึกษาด้วยตนเองเรื่อง คิดเป็นและการวิจัยอย่างง่าย เพื่อ นํามาพบกลุ่มในครั้งต่อไป และบันทึกร่องรอยการเรียนรู้ด้วยตนเองตามแบบบันทึกที่กําหนด 10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียนทักษะการเรียนรู้ (ทร31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - สื่ออินเทอร์เน็ต - ห้องสมุดประชาชน - แหล่งเรียนรู้ในชุมชน 11. การวัดและประเมินผล 11.1 วิธีการวัดและประเมินผล - ใบงาน 11.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล. - ผลจากการตรวจใบงาน 11.3 เกณฑ์การวัดและการประเมินผล - ใบงานคะแนนเต็ม 10 คะแนน กิจกรรมเสนอแนะ ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………………………………………….ครูผู้สอน (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครู กศน.ตําบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ………………………………………………………ผู้อนุมัติแผน (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ กศน.ตําบลเมืองหงส์ ครั้งที่ 2 วันที่ 26 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ครูผู้สอนนายฤทธิชัย ลีแวง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 09.00-12.00 น. สาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ รหัสวิชา ทร31001 จํานวนผู้เรียนทั้งหมด ............... คนเข้าเรียน…………………คน ไม่เข้าเรียน……………………….คน 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การประเมินโดยใช้ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน พบว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียน มากกว่าก่อนเรียนจํานวน ........ คนคิดเป็นร้อยละ............ คะแนนการทดสอบหลังเรียน น้อยกว่าก่อนเรียนจํานวน ......... คนคิดเป็นร้อยละ............ 2. เนื้อหา/สาระ ............................................................................................................................. ............................................... .......................................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................ ............................................................ 3. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ (O) ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ................................................................................................................................................................ ............ ........................................................................................................................... ................................................. ขั้นที่ 2แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้(N) ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ขั้นที่ 3การปฏิบัติและการนําไปใช้(I) ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................ ................ .................................................................................................................. .......................................................... ............................................................................................................................. ............................................... ขั้นที่ 4การประเมินผลการเรียนรู้(E) ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... 4. ปัญหา/อุปสรรค การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................... 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ลงชื่อ....................................................... (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครูผู้สอน วันที่.............../.................../............... ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ.................................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน ใบความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษา เรื่องการใช้แหล่งเรียนรู้ และการจัดการความรู้จาก QR-Code ใบงานที่ 1 เรื่อง การเรียนรู้ด้วยตนเอง ให้ผู้เรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเองและตอบคําถามต่อไปนี้ 1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง หมายถึง ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ………………………………………… 2. การเรียนรู้ด้วยตนเองมีความสําคัญอย่างไร ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ………………………………………… 3. ผู้เรียนคิดว่าการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถนําความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้หรือไม่อย่างไรพร้อม ยกตัวอย่าง ประกอบ ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ………………………………………… 4. ให้ผู้เรียนข้อมูลที่ใช้ประกอบในการพัฒนางานและการศึกษาต่อ หรือการสมัครงานมา 1 อย่าง ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ………………………………………… ใบงานที่ 2 เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้แหล่งเรียนรู้และตอบคําถามต่อไปนี้ 1. แหล่งเรียนรู้ หมายถึง ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………… 2. แหล่งเรียนรู้มีความสําคัญอย่างไร ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………… 3. แหล่งเรียนรู้แบ่งตามลักษณะได้ 6 ประเภท ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล/ธรรมชาติ/วัสดุ และ สถานที่/สื่อ/เทคนิค และกิจกรรม ให้ท่านบอกแหล่งเรียนรู้ที่ท่านรู้จักมา 2 แหล่ง ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………… 4. หากท่านต้องการใช้บริการห้องสมุดท่านจะต้องปฏิบัติตนอย่างไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………… 5. ให้ท่านอธิบายการใช้แหล่งเรียนรู้ที่ท่านสนใจนอกจากห้องสมุดมา 1 แห่ง ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………… 6. ให้ท่านอธิบายวิธีการค้นหาข้อมูลทาง Internet พร้อมเสนอตัวอย่างที่ได้จาการค้นหาข้อมูลจาก Internet มา 1 ตัวอย่าง ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......……………………………… ……………………………… ใบงานที่ 3 เรื่อง การจัดการความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการความรู้ และตอบคําถามต่อไปนี้ การจัดการความรู้ หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………… การจัดการความรู้ มีความสําคัญอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………… ผู้เรียนมีวิธีการจัดการความรู้อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………… 4. ชุมชนนักปฏิบัติ หรือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (CoPs) คืออะไร และมีความสําคัญอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………… 5. ให้ผู้เรียนศึกษา “โมเดลปลาทู” แล้ว อธิบาย “โมเดลปลาทู” ที่เปรียบเทียบการจัดการความรู้ เหมือนปลาทูตัวที่มี 3 ส่วน โดยตอบคําถามข้างล่างนี้ โมเดลปลาทู 1. ส่วน “หัวปลา” (knowledge Vision-KV) หมายถึง ....................................................................... 2. ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) หมายถึง ..................................................................... 3. ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) หมายถึง .................................................................... แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ต าบลเมืองหงส์ 1. สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 2 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2565 เวลา 09.00-12.00 น. 2. วิชา ทักษะการเรียนรู้รหัสวิชา ทร31001 จํานวน 5 หน่วยกิต 3. มาตรฐานที่ 1.4 มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการคิดเป็น มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการวิจัยอย่างง่าย 4. หน่วยการเรียนรู้/เรื่องการคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย 5. สาระสําคัญ ความหมาย ความสําคัญของการคิดเป็น การรวบรวมและวิเคราะห์สภาพปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูล ด้านตนเอง ด้านวิชาการ และด้านสังคม สิ่งแวดล้อม แนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข การ ประยุกต์ใช้อย่างมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน/สังคม และความหมายความสําคัญการ วิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการดําเนินงาน อธิบายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสถิติง่าย ๆ เพื่อการ วิจัยสร้างเครื่องมือการวิจัยอย่างง่าย ๆ ปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ และมีทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขียนรายงานวิจัย การนําเสนอและเผยแพร่งานวิจัย 6. เนื้อหา 1. ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/ การศึกษานอกระบบ ที่เชื่อมโยงมาสู่ปรัชญาคิดเป็น 2. ความหมาย ความสําคัญของ การคิดเป็นการรวบรวมและวิเคราะห์สภาพปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลด้านตนเอง ด้านวิชาการ และ ด้านสังคมสิ่งแวดล้อม 3. กระบวนการและเทคนิคการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล ทั้ง 3 ประการ ของ บุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อประกอบการคิด การตัดสินใจ 4. การกําหนดแนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหาอย่าง มีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุขอย่างยั่งยืนการประยุกต์ใช้อย่างมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน/สังคม 5. ความหมาย ความสําคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการดําเนินงาน 6. สถิติง่าย ๆ เพื่อการวิจัย 7. การสร้างเครื่องมือการวิจัย การเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ 8. ทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขียนรายงานวิจัย การนําเสนอและเผยแพร่งานวิจัย 7. จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ดูจากผังการออกข้อสอบ) 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ของการคิดเป็น 2. รวบรวมและวิเคราะห์สภาพปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูล ด้านตนเอง ด้านวิชาการ และด้านสังคม สิ่งแวดล้อม 3. กําหนดแนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมี ความสุข การประยุกต์ใช้อย่างมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน/สังคม 4. อธิบายความหมายความสําคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการดําเนินงาน 5. อธิบาย และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสถิติง่าย ๆ เพื่อการวิจัย 6. สร้างเครื่องมือการวิจัยอย่างง่าย ๆ 7. ปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยอย่าง ง่าย ๆ และมีทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขียนรายงานวิจัย การนําเสนอและเผยแพร่งานวิจัย 8. การบูรณาการกับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เงื่อนไข 3 หลักการ การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ) ความรู้ - มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการคิดเป็น - มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการวิจัยอย่างง่าย คุณธรรม - มีความชื่อสัตย์สุจริตในการทํางาน - มีความสามัคคีในหมู่คณะ - มีความขยัน อดทน พอประมาณ - รู้จักการเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีให้เข้ากับยุคสมัย - ใช้ทรัพยากรกรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด มีเหตุผล - ได้มีการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเองบ่งชี้ข้อดีข้อเสียของแหล่งเรียนรู้ปฏิบัติการ เรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้เหมาะสม มีภูมิคุ้มกัน - สามารถจัดทําสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว วัตถุ - รู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ - มีทักษะในการใช้อุปกรณ์เทคโลโลยี และการดูแลรักษา สังคม - มีทักษะการอยู่ร่วมกันในกลุ่ม และทํางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข - ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน - รู้รักสามัคคี สิ่งแวดล้อม - รู้จักกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ วัฒนธรรม - การใช้ห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่สําคัญ รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ ของตนเองบ่งชี้ข้อดีข้อเสียของแหล่งเรียนรู้ปฏิบัติการเรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้เหมาะสม 9. กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันบอกปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตหรือในชุมชนของตน หรือปัญหา ปัจจุบันที่มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินโดยตรงของผู้เรียน”โดยบันทึกในกระดาษบรู๊ฟ/ครูและผู้เรียน จัดลําดับความสําคัญของปัญหาที่นําเสนอ 2. ครูให้รู้เรียนร่วมกันหาวิธีแก้ปัญหาที่สําคัญที่สุดที่ได้จากการเสนอในขั้นต้น ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ 1. ครูมอบหมายให้ผู้เรียนไปแสวงหาความรู้เรื่องกระบวนการคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย ตาม ใบงานที่1,2 ที่มอบหมายไว้ในครั้งก่อน 2. ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมจากสื่ออินเตอร์เน็ต ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการนําไปใช้ 1. ครูให้ผู้เรียนนําเสนอผลการศึกษาเรื่อง “คิดเป็น” โดยใช้สุ่มถามเป็นรายบุคคลในแต่ละด้าน 2. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มศึกษากรณีตัวอย่าง 5 ตัวอย่างกลุ่มละ 1 ตัวอย่างตามใบงาน ที่ 3 (3.1 - 3.5) แล้วเสนอประเด็นข้อเรียนรู้ที่ได้จากการศึกษาต่อกลุ่มใหญ่ 3. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้พร้อมทั้งเสนอ Model คิดเป็นประกอบการอธิบาย คั่นด้วยกิจกรรมนันทนาการ 4. ครูแนะนําวิธีการแก้ปัญหาที่เชื่อถือได้อีกวิธีหนึ่ง คือ การวิจัยอย่างง่าย 5. ครูสุ่มถามผู้เรียนให้ตอบคําถามที่เกี่ยวกับการวิจัยอย่างง่ายตามที่ได้ศึกษาในใบงานที่ 2 และ นําเสนอการศึกษาด้วยตนเอง ในเรื่องการวิจัยอย่างง่าย ประมาณ 3 – 4 คน คนละ 1 ตัวอย่าง 6. ครูแนะนําวิทยากรรับเชิญให้ความรู้เรื่อง “วิจัยอย่างง่าย” และเชิญวิทยากรให้ความรู้ในเรื่อง ความหมาย ความสําคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการดําเนินงาน สถิติง่ายๆ เพื่อการ วิจัย การสร้างเครื่องการวิจัย การเขียนโครงการวิจัยอย่างง่ายๆ การนําเสนอและเผยแพร่งานวิจัย ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้ 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเรื่องการแก้ปัญหาโดยการวิจัยอย่างง่ายจากการสอนของวิทยากร 2. ครูมอบหมายให้ผู้เรียนจัดกลุ่มๆ ละ 3 คนไปแก้ปัญหาเรื่องที่กลุ่มสนใจโดยการวิจัยอย่างง่าย และเขียนรายงานส่งตามใบงานที่ 4 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียนทักษะการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - สื่ออินเทอร์เน็ต - ห้องสมุดประชาชน 10. การวัดและประเมินผล 10.1 วิธีการวัดและประเมินผล - ใบงาน 10.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล. - ผลจากการตรวจใบงาน 10.3 เกณฑ์การวัดและการประเมินผล - ใบงานคะแนนเต็ม 10 คะแนน กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ…………………………………………….ครูผู้สอน (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครู กศน.ตําบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ………………………………………………………ผู้อนุมัติแผน (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ กศน.ตําบลเมืองหงส์ ครั้งที่ 3 วันที่ 2 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 ครูผู้สอนนายฤทธิชัย ลีแวง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 09.00-12.00 น. สาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ รหัสวิชา ทร31001 จํานวนผู้เรียนทั้งหมด ............... คนเข้าเรียน…………………คน ไม่เข้าเรียน……………………….คน 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การประเมินโดยใช้ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน พบว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียน มากกว่าก่อนเรียนจํานวน ........ คนคิดเป็นร้อยละ............ คะแนนการทดสอบหลังเรียน น้อยกว่าก่อนเรียนจํานวน ......... คนคิดเป็นร้อยละ............ 2. เนื้อหา/สาระ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... 3. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ (O) ............................................................................................................................. ............................................... .................................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ขั้นที่ 2แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้(N) ............................................................................................................................. ............................................... ................................................................................................................................................................ ............ .......................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. ............................................... ขั้นที่ 3การปฏิบัติและการนําไปใช้(I) ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ขั้นที่ 4การประเมินผลการเรียนรู้(E) ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... 4. ปัญหา/อุปสรรค การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ................................................................................................................................................................ ............ ลงชื่อ....................................................... (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครูผู้สอน วันที่.............../.................../............... ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ................................................................................................................................................................ ............ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ลงชื่อ.................................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน ใบความรู้ที่ 1 ให้ผู้เรียนศึกษา เรื่องการคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย จาก OR-Code ใบงานที่ 1 เรื่อง คิดเป็น ค าสั่ง ให้ท่านคัดเลือกข่าวเกี่ยวกับสภาพสังคมปัจจุบันที่ท่านสนใจมา 1 ข่าว และดําเนินการ วิเคราะห์ว่าข่าวนี้ดี หรือไม่ เหมาะสม อย่างไร พร้อมให้เหตุผลในการวิเคราะห์ข่าวว่า ได้นําข้อมูลด้านตนเอง ด้านสังคมสิ่งแวดล้อม และด้านวิชาการ มาใช้ประกอบในการวิเคราะห์ เขียนตามแบบกําหนด เขียนหัวข้อข่าว…………………………………………………………………………………………………… รายละเอียดของข่าว (ตัดข่าวมาติดไว้) สังเคราะห์ข่าวได้ดังนี้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………….. (………………………………………………) ใบงานที่ 2 เรื่อง การวิจัยอย่างง่าย ชื่อสกุล ....................................................................... รหัสประจําตัว ............................... ............................ ให้ผู้เรียนศึกษาเรื่องการวิจัยอย่างง่าย และตอบคําถาม ต่อไปนี้ 1. การวิจัย หมายถึง ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ……………………………… 2. การวิจัย มีความสําคัญอย่างไร ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ……………………………… 3. องค์ประกอบในการวิจัยมีหัวข้ออะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ……………………………… 4. สถิติง่าย ๆ ที่ใช้เพื่อการวิจัย มีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ……………………………… 5. เครื่องมือการวิจัยที่นิยมใช้มาก ได้แก่ (1)…………………………………………………………….……………………………………………………….……………….… (2)………………………………………………………………………………………………………………………………………… (3)………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. จงบอกวิธีการเผยแพร่งานวิจัยมา 3 วิธี ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… 7. ประโยชน์ของการวิจัย ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตําบลเมืองหงส์ 1. สัปดาห์ที่ 5 วันที่ 9 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2565 เวลา 09.00-12.00 น. 2. วิชา เศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา ทช31001 จํานวน 1 หน่วยกิต 3. มาตรฐานที่ 4.1 มีความรู้ความเข้าใจ เจตคติที่ดีเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประยุกต์ใช้ ในการดําเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม 4. หน่วยการเรียนรู้/เรื่อง ชุมชนพอเพียงและการแก้ปัญหาชุมชน 5. สาระสําคัญ ความหมาย ความสําคัญของการบริหารจัดการชุมชน การวิเคราะห์ชุมชน ด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการแก้ไขปัญหาของชุมชน และการพัฒนา 6. เนื้อหา 1. ความหมาย ความสําคัญ การบริหารชุมชนพอเพียง 2. การบริหารจัดการชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ดูจากผังการออกข้อสอบ) 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญและการบริหารจัดการชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 2. สามารถบอกวิธีการในการบริหารจัดการชุมชนได้ 3. สามารถประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการรับการเปลี่ยนแปลงของชุมชนได้ ๘. การบูรณาการกับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เงื่อนไข 3 หลักการ การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ) ความรู้ - ความหมาย ความสําคัญ การบริหารชุมชนพอเพียง - การบริหารจัดการชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม - มีความมุ่งมั่นในการทํางาน - มีความสามัคคีในหมู่คณะ - มีความประนีประนอม นึกถึงผลประโยชน สวนรวมเปนหลัก พอประมาณ - รู้จักการผลิต การบริโภคที่พอประมาณ - ใช้หลักการเกษตรในที่ของตนได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด มีเหตุผล - ได้ความรู้เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง - สร้างครอบครัวให้อบอุ่นและบริหารจัดการชุมชนให้ยั่งยืน มีภูมิคุ้มกัน - สามารถสร้างรายได้และสามารถเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจได้ วัตถุ - รู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการและสิ่งแวดล้อม พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้าน สังคม - มีทักษะการอยู่ร่วมกันในกลุ่ม และทํางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข - ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน - แบ่งปันกัน - สิ่งแวดล้อม - รู้จักการจักการบริหารชุมชน - รู้จักคุณค่าของธรรมชาติใช้สิ่งที่ธรรมชาติให้มาให้เป็นประโยชน์ที่สุด วัฒนธรรม - รู้รักสามัคคี - สร้างความเข็มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน รักษาเอกลักษณ์และภูมิปัญญาไทย 9. กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้(O : Orientation) ครูผู้สอนและนักศึกษาสนทนาแลกเปลี่ยนถึงปัญหาของชุมชน ผลกระทบด้านต่างๆ ที่มีในปัจจุบันว่าเป็นอย่างไร ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้(N : New ways of learning) 1. ให้นักศึกษาทําแบบทดสอบก่อนเรียนด้วย Google form เพื่อทดสอบความรู้ เบื้องต้น 2. ให้นักศึกษาศึกษาเรื่องความสําคัญของชุมชนที่มีต่อตัวนักศึกษาและประชาชน จากหนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รหัส ทช31001 3. ครูใช้สื่อ You Tube เรื่อง ชุมชนพอเพียงและการแก้ปัญหาชุมชน เพื่ออธิบาย ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการนําไปใช้( I : Implementation) 1. ครูและนักศึกษาร่วมกันสรุปหลังจากทุกกลุ่มนําเสนอหน้าชั้นเรียน 2. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนของความรู้ที่ยังไม่ครบถ้วนเกี่ยวกับความหมาย ความสําคัญและกระบวนการของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้ ครูผู้สอนสรุปผลจากการนําเสนอ และเติมเต็มองค์ความรู้พร้อมมอบหมายงาน ความรู้เพิ่มเติมให้นักศึกษา 10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. หนังสือเรียน 3. ใบงาน 11. การวัดและประเมินผล 11.1 วิธีการวัดและประเมินผล - แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทํางานร่วมกับผู้อื่นของนักศึกษา รายบุคคล - ใบงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 11.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล. - ประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทํางานร่วมกับผู้อื่น ของนักศึกษารายบุคคล - ผลจากการตรวจใบงาน - คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 11.3 เกณฑ์การวัดและการประเมินผล - แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทํางานร่วมกับผู้อื่นของนักศึกษา รายบุคคล ระดับดี พอใช้ และควรปรับปรุง - ใบงานคะแนนเต็ม 10 คะแนน - แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เกณฑ์ผ่านและไม่ผ่าน กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ลงชื่อ…………………………………………….ครูผู้สอน (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครู กศน.ตําบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………………………ผู้อนุมัติแผน (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอจตุรพักตรพิมาน บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ กศน.ต าบลเมืองหงส์ ครั้งที่ 4 วัน/เดือน/ปีวันที่ 9 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2565 ครูผู้สอนนายฤทธิชัย ลีแวง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 09.00-12.00 น. สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา ทช31001 จํานวนนักศึกษาทั้งหมด ............... คนเข้าเรียน…………………คน ไม่เข้าเรียน……………………….คน 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การประเมินโดยใช้ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน พบว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียน มากกว่าก่อนเรียนจ านวน ........ คนคิดเป็นร้อยละ............ คะแนนการทดสอบหลังเรียน น้อยกว่าก่อนเรียนจ านวน ......... คนคิดเป็นร้อยละ............ 2. เนื้อหา/สาระ/รายวิชา ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... 3. กิจกรรมการเรียนการสอน ........................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ...................................... 4. ปัญหา/อุปสรรคการเรียนการสอน ................................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ................................................................... 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................ ................................... ลงชื่อ.........................................................(ผู้บันทึก) (นายฤทธิชัย ลีแวง) ครู กศน.ต าบล วันที่.............../.................../............... ความเห็น/ข้อเสนอของผู้บริหาร ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ลงชื่อ.................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผู้อ านวยการ กศน.อ าเภอจตุรพักตรพิมาน ใบความรู้ ที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความส าคัญ การบริหารชุมชนพอเพียง โครงสร้างของชุมชน ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. กลุ่มคน หมายถึง การที่คน 2 คนหรือมากกว่านั้นเข้ามาติดต่อเกี่ยวข้องกัน และมีปฏิสัมพันธ์ต่อ กันทาง สังคมในชั่วเวลาหนึ่งด้วย ความมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน 2. สถาบันทางสังคม เมื่อคนมาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มแล้ว และมีวิวัฒนาการไปถึงขั้นตั้งองค์กรทาง สังคมแล้ว ก็ จะมีการกําหนดแบบแผนของการปฏิบัติต่อกันของสมาชิกในกลุ่มเพื่อสามารถดําเนินการตามภารกิจ 3. สถานภาพและบทบาทสถานภาพ หมายถึง ตําแหน่งทางสังคมของคนในกลุ่มหรือสังคมบทบาท หมายถึง พฤติกรรมที่คนในสังคมต้องทําตามสถานภาพในกลุ่มหรือสังคมชุมชนที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ ชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีองค์ประกอบสําคัญหลายประการและสามารถพัฒนาหรือควบคุม องค์ประกอบเหล่านั้นได้ โดยมีนักวิชาการหลายท่านที่ได้ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบการพัฒนาชุมชนไว้ ตามแนวคิดการพัฒนาชุมชน ดังต่อไปนี้สนทยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ได้กล่าวถึงการพัฒนาชุมชนว่ามี องค์ประกอบ 2 ประการ สรุปได้ ดังนี้ 1. การเข้ามีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อที่จะปรับปรุงระดับความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น โดยจะต้อง พึ่งตนเองให้มาก ที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ และควรเป็นความริเริ่มของชุมชนเองด้วย 2. การจัดให้มีการบริการทางเทคนิคและบริการอื่นๆที่จะเร่งเร้าให้เกิดความคิดริเริ่ม การช่วยเหลือ ตนเอง ช่วยเหลือกันและกัน อันเป็นประโยชน์มากที่สุด คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2539 : 1 – 2) ได้กล่าวถึงลักษณะการพัฒนาคน และสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจถือว่าเป็นองค์การพัฒนาชุมชนด้วย สรุปได้ดังนี้ 1. การพัฒนาคนประกอบด้วย 4 ด้านดังนี้ ด้านจิตใจ ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านบุคลิกภาพ 2. การพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนา ประกอบด้วย 4 ด้านดังนี้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านครอบครัวและชุมชน ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหารจัดการและการเมือง สุพัตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ได้กล่าวถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมซึ่งเป็น องค์ประกอบการพัฒนาชุมชน ว่ามี 7 ประการดังนี้ 1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ หากมีความสมบูรณ์จะส่งผลให้ชุมชนมีการพัฒนาได้รวดเร็วและมั่นคง 2. การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร การเพิ่มประชากรที่มีคุณภาพสามารถทําให้เกิดการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่ทันสมัยขึ้น 3. การได้อยู่โดดเดี่ยวและติดต่อเกี่ยวข้อง ชุมชนใดที่มีการติดต่อกันทําให้การพัฒนาเป็นไปอย่าง รวดเร็ว 4. โครงสร้างของสังคมและวัฒนธรรม ชุมชนที่มีการเคารพผู้อาวุโสจะมีการเปลี่ยนแปลงน้อยค่านิยม ต่างๆ ช่วยให้รู้ว่าชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงเกิดการพัฒนาขึ้นมากน้อยเพียงไร 5. ทัศนคติและค่านิยม การมีค่านิยมด้านอาชีพ ด้านบริโภค เป็นส่วนของการจัดการ พัฒนาในชุมชนนั้นได้ 6. ความต้องการรับรู้ การยอมรับสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ จะเป็นเครื่องชี้ทิศทางและอัตราการเปลี่ยนแปลง ของชุมชน 7. พื้นฐานทางวัฒนธรรม ถ้ามีฐานที่ดีสิ่งใหม่ที่จะเกิดขึ้นย่อมดีตามพื้นฐานเดิมด้วย พลายพล คุ้มทรัพย์ (2533 : 44 – 47) ได้กล่าวถึงปัจจัยที่สามารถใช้ในการพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็น องค์ประกอบการพัฒนาชุมชน ว่าประกอบด้วย 3 ปัจจัย ดังนี้ 1. โครงสร้างทางสังคม ครอบครัวที่มีขนาดเล็กและมีโครงสร้างไม่ซับซ้อนจะส่งผลให้ชุมชนนั้นพัฒนา ได้ดีกว่าชุมชนที่มีโครงสร้างทางครอบครัวที่ซับซ้อน 2. โครงสร้างทางชนชั้น ในชุมชนที่มีโครงสร้างแบบเปิด ที่สามารถเปลี่ยนแปลงฐานะทางสังคมได้ง่าย ชุมชนนั้นจะเกิดการพัฒนา 3. ความแตกต่างทางเผ่าพันธุ์ เชื้อชาติ และศาสนา ความแตกต่างหากเกิดขึ้นในชุมชนใดย่อมเป็น อุปสรรคต่อการพัฒนา ตามลําดับความแตกต่าง ยุวัฒน์ วุฒิเมธี (2531 : 58 – 63) กล่าวถึงปัจจัยที่เกื้อกูลให้การพัฒนาชนบทบรรลุความสําเร็จจําเป็นต่อ การพัฒนา ว่าด้วยองค์ประกอบ และส่วนประกอบย่อยขององค์ประกอบ ดังนี้ 1. นโยบายระดับชาติ ฝุายบริหารจะสามารถดําเนินการแผนพัฒนาได้ต่อเนื่อง และมีเวลาพอที่จะเห็น ความถูกต้อง คุ้มค่า มีแนวทางประสานประโยชน์ระหว่างรัฐและเอกชน และความร่วมมือระหว่าง ประเทศจะต้องเกื้อกูลต่อการพัฒนา 2. องค์การบริหารการพัฒนาชนบท ที่มีองค์กรกลางทํา หน้าที่ประสานนโยบายแผนงานและโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพและมีอํานาจเด็ดขาดในการลงทุนในหน่วยปฏิบัติต้องดําเนินการตามนโยบาย แผนงาน และโครงการในแผนระดับชาติ และจัดงบประมาณการติดตามควบคุมที่มีประสิทธิภาพ 3. วิทยาการที่เหมาะสมและการจัดการบริการที่สมบูรณ์ เลือกพื้นที่และกลุ่มเปูาหมายที่สอดคล้องกับ ความเป็นจริง และเลือกวิทยาการที่ประชาชนจะได้รับให้เหมาะสม 4. การสนับสนุนระดับท้องถิ่น ความรับผิดชอบของการสนับสนุนงานในท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพจะ เกิดการพัฒนาอย่างแท้จริงในระยะยาว 5. การควบคุมดูแลและติดตามผลการปฏิบัติงาน ควรเป็นไปตามแผนงานและโครงการทุกระดับและ ครอบคลุมทุกพื้นที่ พร้อมทั้งให้สถาบันการศึกษาท้องถิ่นติดตามประเมินผล อัชญา เคารพาพงศ์ (2541 : 82 – 83) กล่าวถึงปัจจัยส่วนประกอบที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา สรุปได้ดังนี้ 1. ผู้นํา ได้แก่ ผู้นําท้องถิ่น ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการในหมู่บ้าน และจากองค์กรภาครัฐ มี ส่วนให้ชุมชนพัฒนาในทางที่ดีขึ้น เป็นประโยชน์ ชุมชนมีเจตคติที่ดียอมรับสิ่ง ใหม่และสร้างพลังต่อสู้ เพื่อการเปลี่ยนแปลง 2. สังคม – วัฒนธรรม การได้รับวัฒนธรรมจากสังคมเมืองมาปฏิบัติทําให้ชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลง 3. สิ่งแวดล้อม การปรับปรุงสภาพแวดล้อมภูมิศาสตร์ชุมชน ส่งผลให้ที่ดินอุดมสมบูรณ์ราคาสินค้า เกษตรดี ความเป็นอยู่สะดวกสบายกว่าเดิม 4. ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สําคัญในอดีตมีผลต่อการพัฒนาความสามัคคี รักพวกพ้อง ช่วยเหลือซึ่ง กันและกันปรียา พรหมจันทร์ (2542 : 25) ได้สรุปองค์ประกอบที่เป็นปัจจัยการพัฒนาชุมชนได้ดังนี้ 1. ด้านเศรษฐกิจ ชุมชนที่เศรษฐกิจดีการพัฒนาชุมชนสามารถพัฒนาได้ดีด้วย 2. ด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เป็นบริบทที่ปรับเปลี่ยนสภาพชุมชนไปตามปัจจัย 3. ด้านการเมือง หมายรวมถึงการเมืองระดับชาติและชุมชนระดับท้องถิ่น 4. ด้านประวัติศาสตร์ โดยอาศัยประสบการณ์และวิกฤตของชุมชนเป็นฐานและบทเรียนการพัฒนา ชุมนุมปัจจัยโดยตรง เช่น คน ทุน ทรัพยากร การจัดการ เป็นต้น และปัจจัยโดยอ้อม เช่น ภาวะ เศรษฐกิจ สังคมการเมือง การปกครอง เป็นต้น ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม (2549) ได้กล่าวถึงการสร้างและพัฒนาคนรุ่นใหม่เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น มีปัจจัย สําคัญ 4 ประการ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบการพัฒนาชุมชน ดังนี้ 1. สังคมดี สิ่งแวดล้อมดี มีโอกาสในอาชีพ และกิจกรรมที่หลากหลาย รวมไปถึงวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ความอบอุ่น ความสุข ความเจริญก้าวหน้าที่พึงคาดหวังในอนาคตด้วย 2. ระบบการศึกษาของชาติ มีเปูาหมายในการผลิตคนเพื่อการพัฒนาชุมชนหรือท้องถิ่น ให้เป็นที่พึง ปรารถนาของท้องถิ่นเพียงไร 3. รัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐ ที่เอื้อต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นให้เป็นที่พึงปรารถนาน่าอยู่ บทบาทของชุมชน มีสิ่งสําคัญ 3 ประการ คือ ความรักและความดี การเรียนรู้ที่มากกว่าความรู้ และ การจัดการกับปัจจัยชุมชนต่างๆ กิจกรรมที่ชุมชนต้องรับผิดชอบคือ - ตั้งคณะกรรมการบริหาร - ประเมินสภาพของชุมชน - เตรียมแผนการปฏิบัติ - หาทรัพยากรที่จําเป็น - ทํา ให้แน่ใจว่ากิจกรรมของชุมชนทั้งหมด จะต้องมีการติดตามและการบริหารที่มี ประสิทธิภาพสูงสุดสําหรับการปฏิบัติงาน กระบวนการชุมชน 1. วิเคราะห์ชุมชน 2. การเรียนรู้และการตัดสินใจของชุมชน 3. การวางแผนชุมชน 4. การดําเนินกิจกรรมชุมชน 5. การประเมินผลการดําเนินงานของชุมชน องค์ประกอบการขับเคลื่อนชุมชน 1. โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมของชุมชน 2. ความคิดพื้นฐานของประชาชน 3. บรรทัดฐานของชุมชน 4. วิถีประชาธิปไตย ใบความรู้ ที่ 2 เรื่องที่ 2 การบริหารจัดการชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวอย่างชุมชนพอเพียงที่ประสบความสําเร็จ กุดกะเสียน วันนี้ที่ยิ้มได้ “เวลาติดขัดก็ไปกู้...เขามาทําทุน พอหาได้ ขายได้ก็เอาไปฝาก...เขา” เขาในความหมาย ของคนในชุมชนกุดกะเสียน คือ สถาบันการเงินชุมชนกุดกะเสียนร่วมใจท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจเงินเฟูอพุ่ง ดอกเบี้ยเพิ่ม ทั้งเงินกู้ เงินฝาก (ติดลบเมื่อเทียบกับเงินเฟูอ)ทุกอย่างอยู่ในช่วงขาขึ้น(ราคา) จะมีที่ลดลงคงเป็น กําลังใจประชาชนโดยเฉพาะคนเมือง ยิ้มฝืนๆ เผชิญชะตาในยุคข้าว(แก้)ยาก น้ํามันแพงกันไปแตกต่างจากคน ในชุมชนบ้านกุดกะเสียน ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี หมู่บ้านรางวัลพระราชทาน “เศรษฐกิจพอเพียง อยู่เย็นเป็นสุข” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ซึ่งมีนายสมาน ทวีศรี กํานันตําบลเขื่องใน เป็นผู้นําสร้างรอยยิ้มให้คนในชุมชนจากหมู่บ้านที่มีอาชีพทํานาปีละ 2 ครั้ง แต่เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นที่ลุ่ม มี น้ําท่วมถึง ทําให้มี ปัญหาน้ําท่วมนา จึงต้องหาปลาแลกข้าว ต่อมาประกอบอาชีพค้าขายสีย้อมผ้า ทําให้มีปัญหาหนี้สินเพราะต้อง ไปกู้นายทุนดอกเบี้ยสูงแต่สภาพในปัจจุบันของกุดกะเสียน ผู้คนยิ้มแย้มแจ่มใจ เนื่องจากเศรษฐกิจของหมู่บ้าน ดีขึ้นมากสืบเนื่องจากการริเริ่มของผู้นําชุมชนที่เห็นปัญหาของหมู่บ้าน จึงได้ส่งเสริมให้มีการตั้ง กลุ่มออมทรัพย์ จนกระทั่งพัฒนามาเป็นธนาคารกุดกะเสียนร่วมใจ โดยการปล่อยสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยต่ําให้คนในชุมชนไป ประกอบอาชีพ อาชีพหลักทํานา ค้าขายเฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ไฟฟูา ชุดเครื่องนอน ชุดเครื่องครัวฯลฯ ทั้งมีการ รวมกลุ่มอาชีพ กลุ่มเลี้ยงโค กลุ่มทําน้ํายาล้างจาน กลุ่มน้ํายาสระผม กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มเกษตรกรทํานา กลุ่ม จักสาน หนึ่งในชุมชนตัวอย่างที่กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คัดเลือกมาเป็นต้นแบบในการ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน นายปรีชา บุตรศรี อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกล่าวว่า ประเด็นยุทธศาสตร์หนึ่งในการส่งเสริมการบริหารการจัดการชุมชน คือ การเพิ่มขีดความสามารถผู้นําชุมชน เพื่อให้ผู้นําชุมชนเป็นกําลังหลักในการบริหารจัดการชุมชนให้ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ในที่สุด เมื่อยอมรับว่าพลังงานเป็นเรื่องใกล้ตัวการจัดการพลังงานของชุมชนที่ช่วยเสริมสร้างความ เข้มแข็งชุมชนจึงเกิดขึ้นในหลายด้าน อาทิ 1. ด้านเทคโนโลยีพลังงานชุมชนเกิดผลชัดเจนในหลายตําบล ตัวอย่างเช่นชาว อบต.พลับพลาชัย จ.สุพรรณบุรี สิ่งที่เกิดคือความคึกคักของชุมชนกับการเลือกใช้เทคโนโลยีประหยัด พลังงาน การทําถ่านอัดแท่งจากขี้เถ้าแกลบดําของโรงไฟฟูาชีวมวลในพื้นที่คล้ายกันกับ อบต.นาหมอบุญจ. นครศรีธรรมราช ที่ อบต.และบรรดาแกนนําพร้อมใจกันผลักดันเต็มที่ ทั้งคน เครื่องมือ และงบประมาณทําให้ ยังคงใช้พลังงานเท่าเดิมแต่ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานกลับลดลงเรื่อยๆ โดยมีเทคโนโลยีเพื่อการจัดการพลังงานใน แบบเฉพาะของคนนาหมอบุญเป็นเครื่องมือ 2. ด้านการพัฒนาประชาธิปไตย (การมีส่วนร่วม) ตัวอย่างเช่น อบต.ถ้ํารงค์ อ.บ้านลาดจ.เพชรบุรี มี จุดเด่นของการขยายผลแผนพลังงานชุมชน ผ่านกระบวนการจัดทําแผนพลังชุมชนทุกด้านเกิดขึ้นจากการมี ส่วนร่วมของชาวชุมชน ที่มีกิจกรรมพลังงานแทรกอยู่ในวิถีชีวิตประจําวัน และวิถีอาชีพที่เห็นตรงกันว่าต้อง เป็นไปเพื่อการอนุรักษ์พลังงานด้วย เช่น กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชนที่ให้ใช้จักรยานแทนการใช้รถยนต์ 3. ด้านการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน (กลุ่มอาชีพด้านพลังงาน) มี 7ชุมชนที่ได้รับการนําเสนอว่าเกิด รูปธรรมจริง คือ อบต.หนองแซง อ.หันคา จ.ชัยนาท อบต.หนองโพรง อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรีอบต.ตาอ็อง อ.เมืองสุรินทร์ จ.สุรินทร์ อบต.กุดน้ําใส อ.น้ําพอง จ.ขอนแก่น อบต.ก้อเอ้ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี อบต.ทุ่ง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี อบต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาในทุกชุมชนเกิดอาชีพที่มาจากการต่อยอด เทคโนโลยีพลังงานชุมชนออกมาเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ทํารายได้เป็นอาชีพเสริม จากผลพวงการบริหาร จัดการพลังงานทดแทนในชุมชนไม่ว่าจะเป็นถ่านจากกิ่งไม้ที่เคยไร้ค่าถ่านผลไม้เหลือทิ้งในบรรจุภัณฑ์เก๋ๆ ใช้ ดูดกลิ่นในตู้เย็น น้ําส้มควันไม้ที่ใช้ประโยชน์ได้สารพัดที่สําคัญหลายชุมชนเกิดกลุ่มอาชีพช่างผลิตเตาเผาถ่าน เตาซูเปอร์อั้งโล่ประหยัดพลังงานเตาชีวมวล ในแบบที่ถูกประยุกต์ให้เหมาะกับการใช้ของแต่ละพื้นที่ จําหน่าย ให้กับคนในตําบลและนอกพื้นที่ 4. ด้านการศึกษา (กิจกรรมการเรียนการสอนด้านพลังงาน) ชุมชนส่วนใหญ่มองภาพความยั่งยืน ด้านการจัดการพลังงานชุมชน โดยมุ่งเปูาหมายไปที่การปลูกฝังเด็กและเยาวชน ในรั้วโรงเรียนและในชุมชน เกิดความรู้ ความเข้าใจว่าเรื่องพลังงานเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวันของทุกคน และมีพลังงาน หลายชนิดสามารถบริหารจัดการให้เกิดความยั่งยืนได้จากทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนสร้างพฤติกรรมการใช้ พลังงานอย่างรู้คุณค่า 5. ด้านการท่องเที่ยว (ศูนย์การเรียนรู้เพื่อเป็นที่ศึกษาดูงาน) มีตัวอย่างชุมชนที่ทําเรื่องนี้อย่าง เข้มข้น คือ อบต.ดอนหญ้านาง อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา เป็นชุมชนที่เน้นการเลือกนําเทคโนโลยี พลังงานไปใช้ให้สอดคล้องกับความต้องการที่หลากหลายของคนในชุมชน ซึ่งมีทั้งทํานา ทําสวน และค้าขาย รวมทั้งเดินหน้าสร้างจิตสํานึกผ่านการทํางานกับโรงเรียน และนักเรียนในพื้นที่หวังการเรียนรู้ที่ซึมลึกว่า พลังงาน คือ ส่วนหนึ่งของชีวิตที่ต้องใส่ใจและจัดการ จึงเกิดแหล่งเรียนรู้จากการ ทําจริงกระจายอยู่ทั่วชุมชน 6. ด้านสุขภาวะและสิ่งแวดล้อม ผลอีกด้านหนึ่งของการจัดการพลังงานชุมชนไปใช้อย่างมีเปูาหมาย ดังตัวอย่าง ต.คอรุม อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ ที่มีสํานักงานพลังงานภูมิภาคที่ 9 เข้ามาเสริมต่อแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง ที่ชุมชนทําอยู่เดิมอย่างเข้มแข็งนั้นให้มั่นคงยิ่งขึ้น มีการอบรมทําปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งการลดการใช้สารเคมี จะช่วยให้สุขภาพของคนในชุมชนและสิ่งแวดล้อมดีขึ้น มีจุดเผยแพร่ ศูนย์เรียนรู้พลังงาน มีการอบรมการทําไบ โอดีเซล อบรมเผาถ่าน เป็นต้น 7. ด้านบัญชีพลังงานครัวเรือน การทําบัญชีค่าใช้จ่ายด้านพลังงานถือเป็นหัวใจ หรือจุดเริ่มต้นของ การได้มาซึ่งข้อมูลในการสร้างความร่วมมือหาทางออกของการประหยัด ลดค่าใช้พลังงาน แทบทุกชุมชนใช้เป็น เครื่องมือ รวมทั้ง อบต.บางโปร่ง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ที่สํานักงานพลังงานภูมิภาคที่ 1 ได้เข้าไปเชื่อมต่อ แนวทางการพัฒนาชุมชนในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ในแบบเฉพาะของสังคมกึ่งเมืองกึ่งอุตสาหกรรม ที่มี ทรัพยากรที่จะแปลงมาเป็นพลังงานทดแทนได้นั้นมีน้อย ชุมชนจึงเดินหน้าด้วยการสร้างจิตสํานึกกับเครื่องมือ “บัญชีพลังงานครัวเรือน” ที่ไม่ต้องลงทุน เพราะทุกคนทําได้ด้วยตัวเองและทําได้ตลอดเวลานี่คือ การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการรู้จักการบริหารจัดการและการใช้พลังงานชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวิถี พลังงานชุมชนของคนพอเพียง ที่กําลังขยายผลออกไปอย่างกว้างขวาง และเราทุกคนสามารถมีส่วนร่วมได้ และเริ่มได้ตลอดเวลา เราสามารถช่วยจัดการกับปัญหาพลังงานให้หมดไปได้ เมื่อเรารู้จักพึ่งตนองและใช้ชีวิต ด้วยความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน อันเป็นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่จะนําไปสู่ การจัดการพลังงานชุมชนอย่างยั่งยืน ใบงานที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ใหนักศึกษาแบงกลุม แลกเปลี่ยนและวิเคราะหประเด็นภายในกลุมแลวเลือกผูแทนกลุม ออกมานําเสนอตามใบงานตอไปนี้ 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงอะไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. เศรษฐกิจพอเพียง ทานสามารถปรับใชในการดํา เนินชีวิต อยางไร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... ชื่อ........................................................................... กศน.ตําบล................. ระดับ............................. ใบงานที่ 2 กิจกรรมที่ 2 จากขอความตอไปนี้ใหผูเรียน วิเคราะหเขียนสงครูประจํากลุม และ นําเสนอเพื่อแลกเปลี่ยน “ การโฆษณาในจอทีวีและวิทยุปจจุบัน ถายังโฆษณากันอยางบาเลือดอยูอยางนี้จะไปสอนใหคนไมซื้อ ไมจาย และใหบริโภคตามความจํา เปนไดอยางไร ในเมื่อปลอยใหมีการกระตุนการบริโภคแบบเอาเปนเอาตายอ ยูเช นนี้ผูคนก็คิดวาอะไรที่ตัวเองตองการตองเอาใหได ความตองการถูกทําใหกลายเปนความจําเปนไปหมด ” ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................... ........................ ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................ .................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ชื่อ........................................................................... กศน.ตําบล................. ระดับ............ .................


Author

แผนการ สอน ก ศ น ทุก ระดับ

Top Search