งาน นิ ว เม ติก ส์ และ ไฮ ด รอ ลิ ก. ส์ เบื้องต้น เฉลย

แผนการจดั การเรียนรู้

วชิ า นิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
รหสั วิชา 30102-2007

นายศภุ กฤต บญุ เรือง
แผนกวชิ าชา่ งกลโรงงาน
วิทยาลัยการอาชพี ขนุ หาญ

คำนำ

แผนการจดั การเรยี นรู้ มุง่ เนน้ ฐานสมรรถนะและบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วชิ างานนิว
แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007 เล่มน้ีไดจ้ ัดทำขน้ึ เพ่ือใช้เป็นคู่มอื ประกอบการสอน
หรือเป็นแนวทางการสอนในรายวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
พทุ ธศักราช 2563 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การจัดทำได้มีการพัฒนาเพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 14 หน่วย การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคุณธรรม
จริยธรรม ไว้ในหน่วยการเรียนรู้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา มีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรียน พร้อมเฉลย มีใบงาน กิจกรรมปฏิบัติ และสื่อการเรียนการสอนต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียน
มากยง่ิ ข้ึน

ผู้จัดทำหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีคงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อครู -อาจารย์และ
นักเรียน หากมขี อ้ เสนอแนะประการใด ผจู้ ัดทำยินดีนอ้ มรับไว้เพ่ือปรบั ปรุงแกไ้ ขในครงั้ ต่อไป

ศุภกฤต บุญเรือง

สารบัญ

หนา้
คำนำ ............................................................................................................................................. ค
สารบัญ ......................................................................................................................................... ง
หลักสตู รรายวชิ า ........................................................................................................................... จ
หน่วยการเรียนรู้ ............................................................................................................................ ฉ
หน่วยการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับสมรรถนะรายวชิ า....................................................................... ช
โครงการจัดการเรียนรู้ .................................................................................................................. ซ
สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ ..................................................................................... ฌ
ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า ................................................................................................... ย
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 หลกั การเบื้องต้นของระบบนิวแมตกิ ส์................................................ 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 ระบบการผลิตและจ่ายลม.................................................................... 9
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์..................................................... 15
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 วาล์วควบคุมทศิ ทาง............................................................................ 19
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 วาลว์ ควบคมุ ลมไหลทางเดยี ว.............................................................. 25
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 วาลว์ ควบคมุ อตั ราการไหล.................................................................. 30
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 วาล์วควบคุมความดัน........................................................................ 35
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 8 วาล์วหนว่ งเวลา................................................................................... 40
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 ตวั นับ.................................................................................................. 44
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 การเขียนวงจรนิวแมติกส์................................................................... 48
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 พื้นฐานระบบไฮดรอลกิ ส์................................................................ 52
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 อปุ กรณ์ต้นกำลังระบบไฮดรอลกิ ส์.................................................... 57
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 13 อปุ กรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส์................................................ 62
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 วาล์วไฮดรอลิกส์.............................................................................. 66

หลกั สตู รรายวชิ า

ชื่อวิชา นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวส.

จุดประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้

1. เขา้ ใจหลกั การทาํ งานของระบบนวิ แมตกิ ส์ ระบบไฮดรอลิกส์ และระบบควบคุม
2. สามารถออกแบบ ติดต้ัง บาํ รุงรักษาระบบนิวแตกิ ส์และระบบไฮดรอลกิ ส์ แบบเชิงกลและแบบไฟฟา้
ในงานอุตสาหกรรม
3. มีเจตคตทิ ี่ดใี นการสืบเสาะหาความรเู้ ก่ียวกบั การทาํ งานของระบบนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์
มกี ิจนสิ ยั ในการทํางานด้วยความรอบคอบและปลอดภยั

สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรูเ้ กÉี ยวกบั การออกแบบและติดต้ังระบบนิวแมติกส์ หลกั การทาํ งานของระบบนวิ แม
ติกสอ์ ปุ กรณ์ในระบบนิวแมติกส์ ป้ัมลม วาลว์ อปุ กรณ์ รวมท้ังระบบสุญญากาศ

2. เขยี นผังวงจรนวิ แมติกสแ์ ละการแสดงการเคล่ือนที่
3. ออกแบบ เขียนวงจรนิวแมติกสค์ วบคุมการทาํ งานด้วยรีเลย์ไฟฟ้าและโปรแกรมเมเบลิ
คอนโทรลเลอร์ (PLC)
4. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การออกแบบและตดิ ต้ังระบบไฮครอลกิ ส์ หลักการทํางานของระบบไฮดรอลิกส์
อปุ กรณ์ในระบบไฮครอลกิ ส์ น้ำมนั ไฮดรอลกิ ส์ ชดุ ตน้ กําลงั วาลว์
5. ออกแบบ เขียนวงจรไฮดรอลิกส์ ควบคมุ ดว้ ยรีเลย์ไฟฟา้ และโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (PLC)
6. บํารงุ รักษาและแกไ้ ขปญั หาของระบบนวิ แมติกสแ์ ละระบบไฮดรอลิกส์ส

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบและติดต้ังระบบนิวแมติกส์ หลกั การทํางานของระบบนิวแมติกส์ อุปกรณ์
ในระบบนิวแมติกส์ ปั้มลม วาล์ว อุปกรณ์ รวมทั้งระบบสุ ญญากาศ การเขียนผังวงจร นิวแมติกส์ และการ
แสดงการเคล่ือนที่ การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์แบบทํางานต่อเน่ือง ออกแบบอุปกรณ์ไฟฟ้า
ออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์ที่ควบคุมการทํางานด้วยรีเลย์ไฟฟ้า โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (PLC)
การบาํ รงุ รักษาและแก้ไขปญั หาของระบบนวิ แมติกส์

ศึกษาและปฏิบตั ิการออกแบบและติดตั่งระบบไฮครอลกิ ส์ หลักการทํางานของระบบไฮดรอลกิ ส์อปุ กรณ์
ในระบบไฮครอลิกส์ น้ำมันไฮดรอลิกส์ ชุดต้นกําลัง วาล์ว และอุปกรณ์ การเขียนผังวงจรไฮดรอลิกส์ การ
ออกแบบ เขียนวงจรไฮดรอลิกส์ควบคุมด้วยรีเลย์ไฟฟ้า โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (PLC) การบํารุงรักษา
และแก้ไขปญั หาของระบบไฮดรอลิกส

หน่วยการเรยี นรู้

ช่ือวิชา นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007

ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวส.

หน่วยท่ี ชื่อหนว่ ย จำนวน ท่มี า
คาบ A B C D E F G
1
2 หลกั การเบ้ืองต้นของระบบนวิ แมติกส์ 8 ✓ ✓✓ ✓
3
4 ระบบการผลติ และจา่ ยลม 4 ✓✓✓✓
5
6 อุปกรณ์ทำงานในระบบนวิ แมติกส์ 4 ✓ ✓✓ ✓
7
8 วาล์วควบคุมทิศทาง 8 ✓ ✓✓ ✓
9
10 วาลว์ ควบคมุ ลมไหลทางเดยี ว 4 ✓ ✓✓ ✓
11
12 วาล์วควบคุมอัตราการไหล 4 ✓ ✓✓ ✓
13
14 วาลว์ ควบคุมความดัน 4 ✓ ✓✓ ✓

วาลว์ หน่วงเวลา 4 ✓ ✓✓ ✓

ตวั นับ 4 ✓ ✓ ✓ ✓

การเขียนวงจรนวิ แมติกส์ 4 ✓ ✓✓ ✓

พนื้ ฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ 4 ✓✓ ✓✓✓

อปุ กรณ์ต้นกำลังระบบไฮดรอลกิ ส์ 8 ✓✓ ✓✓✓

อปุ กรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลกิ ส์ 4 ✓✓ ✓✓✓

วาล์วไฮดรอลกิ ส์ 4 ✓✓ ✓✓✓

วัดผลและประเมินผลปลายภาคเรียน 4

รวม 72

หมายเหตุ A = หลกั สูตรรายวชิ า B = หนังสอื นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม

C = หนงั สอื นวิ แมตกิ ส์อตุ สาหกรรม D = หนงั สอื คัมภีร์ระบบนวิ แมตกิ ส์

E = หนังสือความรพู้ น้ื ฐานไฮดรอลิกส์ F = หนงั สอื ระบบไฮดรอลิกส์และการควบคุม

G = หนังสอื คูม่ ือไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรมเคร่ืองจักรกลและการเกษตร

หนว่ ยการเรยี นรูท้ สี่ อดคลอ้ งกับสมรรถนะรายวชิ า

ช่ือวิชา นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชั้น ปวส.

ความสอดคลอ้ งกับสมรรถนะรายวชิ า

หน่วยท่ี ชอื่ หน่วย จำนวน แสดงความรู้เ ่กียว ักบหลักการของระบบ
คาบ ินวแมติกส์และไฮดรอ ิลกส์ตามคู่มือ
ต่อวงจรควบคุมการทำงานระบบ
นิวแมติกส์
่ตอวงจรควบคุมการทำงานระบบ
ไฮดรอลิกส์
ิตด ้ัตงระบบนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์
ควบคุมด้วย ืมอและระบบ ัอตโนมัติ

1 หลักการเบอื้ งต้นของระบบ 8✓

นวิ แมติกส์

2 ระบบการผลิตและจ่ายลม 4✓

3 อปุ กรณ์ทำงานในระบบนิวแมตกิ ส์ 4 ✓

4 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 8✓

5 วาล์วควบคุมลมไหลทางเดียว 4✓

6 วาล์วควบคุมอตั ราการไหล 4✓

7 วาล์วควบคมุ ความดนั 4✓

8 วาลว์ หนว่ งเวลา 4✓

9 ตวั นับ 4✓

10 การเขยี นวงจรนวิ แมตกิ ส์ 4 ✓

11 พน้ื ฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ 4 ✓

12 อุปกรณต์ ้นกำลงั ระบบ 8 ✓

ไฮดรอลิกส์

13 อุปกรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลกิ ส์ 4 ✓

14 วาล์วไฮดรอลกิ ส์ 4 ✓

โครงการจดั การเรยี นรู้

ชือ่ วิชา นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวส.

สัปดาห์ หนว่ ย ช่อื หน่วย/รายการสอน ปฏบิ ัติ จำนวน
ที่ ท่ี คาบ
8
1-2 1 หลกั การเบื้องตน้ ของระบบนวิ แมตกิ ส์ แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 1 4
4
3 2 ระบบการผลติ และจ่ายลม แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 2 4

4 3 อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมตกิ ส์ แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 4

5-6 4 วาลว์ ควบคมุ ทิศทาง แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 4 4

ใบงานท่ี 1-4 4

7 5 วาลว์ ควบคมุ ลมไหลทางเดยี ว แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 5 4

ใบงานที่ 5-6 4

8 6 วาล์วควบคมุ อตั ราการไหล แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 6 4

ใบงานที่ 7 4
8
9 7 วาลว์ ควบคุมความดนั แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 7 4
4
ใบงานท่ี 8 4
72
10 8 วาลว์ หนว่ งเวลา แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 8

ใบงานท่ี 9

11 9 ตัวนับ แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 9

ใบงานท่ี 10

12 10 การเขียนวงจรนวิ แมติกส์ แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 10

ใบงานท่ี 11

13 11 พน้ื ฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 11

14-15 12 อุปกรณ์ตน้ กำลงั ระบบไฮดรอลกิ ส์ แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 12

16 13 อปุ กรณท์ ำงานในระบบไฮดรอลกิ ส์ แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 13

17 14 วาล์วไฮดรอลิกส์ แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 14

18 วัดผลและประเมินผลปลายภาคเรยี น

รวม

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ

ช่อื วิชา นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ สอ์ ุตสาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้นั ปวส.

ชือ่ เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
หน่วยที่ 1 หลักการเบ้ืองต้นของระบบนิวแมติกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

1.1 ความหมายของระบบนิวแมตกิ ส์ แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการเบื้องตน้ ของระบบ
1.2 ประวัตคิ วามเปน็ มาของระบบ นิวแมติกส์
นวิ แมติกส์
1.3 ขอ้ ดีขอ้ เสยี ของระบบนิวแมตกิ ส์ จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
1.4 กฎเบือ้ งต้นของระบบนิวแมตกิ ส์ ดา้ นความรู้
1.5 คุณสมบัติทางฟิสิกสข์ องอากาศ 1. บอกความหมายของนวิ แมตกิ ส์
2. บอกประโยชนข์ องระบบนวิ แมติกส์ 3.
เปรียบเทยี บข้อดี ข้อเสยี ของระบบ

นิวแมติกสก์ ับระบบอน่ื ๆ
4. บอกความหมายของความดนั อุณหภูมิ

ความชนื้
5. เปรยี บเทยี บคา่ ความดนั อุณหภมู ิ ระหวา่ ง

หน่วย
6. คำนวณหาปริมาณไอนำ้ ในอากาศ และความช้ืน

สมั พทั ธ์
7. อธบิ ายความสัมพธั ์ของความดนั อุณหภมู ิ และ

ปรมิ าตรของอากาศ
8. คำนวณหาค่าความดัน ปรมิ าตรและอุณหภมู ิ

ของอากาศ

แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 1 ดา้ นทกั ษะ
1. นำตวั อกั ษรหนา้ ข้อความดา้ นขวามือ มาเติมลง
หนา้ ตัวเลขด้านซ้ายมือให้สมั พนั ธก์ นั
2. ทำเครื่องหมายถูก ✓ หน้าข้อที่ถกู หรอื ผิด
 หน้าขอ้ ทีผ่ ิด
3. แสดงวธิ ีทำเพื่อหาคำตอบ

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอื่ สตั ย์ สจุ รติ
ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บัน
ความร่วมมือ
ความมมี ารยาท

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ช่ือวิชา นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้ัน ปวส.

ช่อื เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หน่วยที่ 2 ระบบการผลติ และจา่ ยลม สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

2.1 โครงสร้างระบบการผลิตและจ่ายลม แสดงความรู้เกย่ี วกบั ระบบการผลติ และจ่ายลม
2.2 เครือ่ งอัดอากาศ
2.3 ถังเกบ็ ลม จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)
2.4 มอเตอร์ไฟฟา้ ดา้ นความรู้
2.5 เครอื่ งระบายความร้อน
2.6 เคร่ืองกำจัดความชนื้ 1. บอกส่วนประกอบของระบบการผลิตและใช้
2.7 เกจความดัน ลม
2.8 อุปกรณ์กรองลมท่อลมหลกั
2.9 อปุ กรณร์ ะบายน้ำ 2. บอกหนา้ ทแี่ ละการทำงานของเครือ่ งอัด
2.10 วาล์วนริ ภัย อากาศ
2.11 วาล์วกนั กลับ
2.12 ทอ่ ส่งจา่ ยลม 3. ระบชุ ือ่ และหน้าท่ีของอปุ กรณใ์ นระบบผลิต
2.13 ชุดปรับคณุ ภาพลมอดั และจา่ ยลม

แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 2 ด้านทกั ษะ
1. บอกช่ือส่วนประกอบในระบบการผลิตลมและ
จา่ ยลม

ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซื่อสตั ย์ สจุ ริต
ความมีนำ้ ใจและแบง่ บัน
ความรว่ มมอื
ความมมี ารยาท

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ

ช่อื วิชา นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สอ์ ุตสาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ
หน่วยที่ 3 อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

3.1 อปุ กรณ์ทีเ่ คล่ือนทเ่ี ปน็ เส้นตรง แสดงความรู้เกยี่ วกับอุปกรณ์ทำงานในระบบ
3.2 อุปกรณ์ทีเ่ คลื่อนทเี่ ปน็ เส้นรอบวง นิวแมติกส์

จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance
Objectives)

ดา้ นความรู้
1. บอกลักษณะโครงสรา้ งและการทำงานของ
ลกู สูบลมชนิดทำงานทางเดยี ว
2. บอกลักษณะโครงสรา้ งและการทำงานของ
ลูกสูบลมชนดิ ทำงานสองทาง
3. บอกอุปกรณ์ทำงานในลกั ษณะหมุนแกว่ ง
4. บอกอุปกรณท์ ำงานในลักษณะหมนุ รอบ

แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 3 ดา้ นทกั ษะ
1. นำตวั อักษรหน้าสญั ลกั ษณข์ องอุปกรณ์
ทำงานเตมิ ลงหนา้ ขอ้ ให้ถูกตอ้ ง
2. นำตวั เลขจากรปู เติมหน้าข้อให้ถูกต้อง

ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซ่ือสัตย์ สจุ ริต
ความมีนำ้ ใจและแบง่ บัน
ความรว่ มมอื
ความมมี ารยาท

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

ชอื่ วิชา นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อตุ สาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชัน้ ปวส.

ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ

หนว่ ยที่ 4 วาล์วควบคมุ ทศิ ทาง สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

4.1 สัญลักษณ์ของวาล์วควบคุม แสดงความรู้เกี่ยวกับวาล์วควบคมุ ทิศทาง

ทศิ ทาง จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance
4.2 การอ่านโค้ดสัญลกั ษณ์วาลว์ Objectives)
4.3 การตั้งช่อื รูลม
4.4 การบงั คบั การเลอ่ื นของวาลว์ ด้านความรู้
4.5 การอ่านสัญลักษณ์ของวาล์วควบคุม 1. อา่ นความหมายของลกั ษณะของ

ทศิ ทาง วาล์วควบคมุ ทิศทาง
4.6 โครงสรา้ งของวาล์วควบคุมทศิ ทาง 2. อา่ นโค้ดสญั ลกั ษณว์ าลว์
3. อ่านสัญลักษณ์วาลว์ ควบคมุ ทิศทาง

แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 4 ดา้ นทักษะ
ใบงานที่ 1-4 1. เลือกทำเครื่องหมาย  ในช่อง

ความหมายให้ถกู ต้อง
2. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคมุ กระบอก

สบู ทางเดยี วแบบ Direct control
3. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคมุ กระบอกสูบ

ทางเดียวแบบ Indirect control
4. ต่อวงจรและทดสอบการควบคุมกระบอกสบู

สองทางแบบ Direct control
5. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคุมกระบอกสูบ

สองทางแบบ Indirect control

ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอ่ื สัตย์ สจุ รติ
ความมีนำ้ ใจและแบ่งบัน
ความร่วมมือ
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยุดนงิ่ ท่ีจะแก้ปญั หา
ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ

ช่อื วิชา นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ สอ์ ุตสาหกรรม รหัสวชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น
ปวส.

ชื่อเรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หน่วยที่ 5 วาล์วควบคุมลมไหลทางเดียว สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

5.1 วาล์วกนั กลับ แสดงความร้เู ก่ียวกับวาลว์ ควบคุมลมไหลทาง
5.2 วาลว์ กนั กลับสองทาง เดยี ว
5.3 วาลว์ ความดันสองทาง
5.4 วาล์วเรง่ ระบาย จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance
Objectives)

ดา้ นความรู้
1. บอกโครงสรา้ งสญั ลักษณ์และการทำงาน
ของวาล์วกันกลับ
2. บอกโครงสรา้ งสัญลักษณ์และการทำงาน
ของวาล์วกันกลบั สองทาง
3. บอกโครงสร้างสัญลักษณ์และการทำงาน
ของวาล์วความดนั สองทาง
4. บอกโครงสร้างสัญลักษณ์และการทำงาน
ของวาลว์ เรง่ ระบาย

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 5 ดา้ นทักษะ
ใบงานที่ 5-6 1. เลือกทำเครื่องหมาย  ในช่องให้ถูกต้อง
2. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
ทำงานระบบนิวแมตกิ ส์ด้วยวาล์วกนั กลบั สองทาง
3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การทำงาน
ดว้ ยวาล์วความดนั สองทาง

ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซ่ือสัตย์ สจุ ริต
ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บัน
ความร่วมมือ
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยดุ นิง่ ท่ีจะแกป้ ัญหา
ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ชอ่ื วิชา นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหัสวชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น
ปวส.

ชอ่ื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หน่วยท่ี 6 วาลว์ ควบคุมอัตราการไหล สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

6.1 วาลว์ ควบคุมอตั ราการไหล 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับวาลว์ ควบคมุ อัตราการ
สองทิศทาง ไหล

6.2 วาล์วควบคมุ อัตราการไหลทางเดยี ว 2. อ่านวงจรควบคมุ การไหลระบบนวิ แมติกส์
6.3 การควบคุมความเร็วกระบอกสบู ทาง
เดียว จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance
6.4 การควบคุมความเรว็ กระบอกสบู สอง Objectives)
ทาง
ด้านความรู้
1. บอกโครงสรา้ งและการทำงานของวาล์ว
ควบคุมอัตราการไหลสองทิศทาง
2. บอกโครงสร้างและการทำงานของวาลว์
ควบคุมอัตราการไหลทศิ ทางเดียว
3. อ่านสญั ลักษณก์ ารควบคุมความเร็ว
กระบอกสบู ทางเดียว
4. อ่านสญั ลกั ษณก์ ารควบคมุ ความเรว็
กระบอกสูบสองทาง

แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 6 ด้านทกั ษะ
ใบงานที่ 7 1. นำตัวเลข 1–5 ไปจบั คูก่ บั อกั ษร ก–จ
หน้าสญั ลกั ษณ์ให้ถูกต้อง
2. ทำข้อความ /เข้า/ออก/เข้า และออก/
เตมิ ลงในคำตอบให้ถกู ต้อง
3. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ ความเร็ว
ของลูกสูบ

ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซื่อสัตย์ สจุ รติ
ความมนี ้ำใจและแบ่งบนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยดุ นิ่งทจี่ ะแกป้ ัญหา
ใชอ้ ุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ

ชื่อวิชา นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น
ปวส.

ช่อื เรื่อง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
หนว่ ยที่ 7 วาลว์ ควบคมุ ความดัน สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

7.1 วาลว์ ลดความดัน แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั วาลว์ ควบคมุ ความดันได้
7.2 วาลว์ ระบายความดัน
7.3 วาล์วจัดลำดับ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)
ด้านความรู้
1. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของวาล์วลด

ความดนั
2. บอกสัญลกั ษณ์และการทำงานของวาลว์

ระบายความดัน
3. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของวาล์ว

จดั ลำดบั

แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 7 ด้านทกั ษะ
ใบงานที่ 8 1. นำตวั อักษรจับคูก่ บั ตวั เลขให้ถกู ต้อง
2. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
ทำงานดว้ ยวาลว์ ควบคมุ ความดัน

ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอ่ื สตั ย์ สุจรติ
ความมนี ้ำใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไม่หยดุ น่ิงทจ่ี ะแกป้ ัญหา
ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ช่อื วิชา นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั
ปวส.

ช่อื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
หนว่ ยท่ี 8 วาล์วหน่วงเวลา สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

8.1 วาล์วหน่วงเวลาแบบปกติปิด แสดงความรเู้ ก่ยี วกับวาลว์ หนว่ งเวลา
8.2 วาล์วหนว่ งเวลาแบบปกตเิ ปดิ
จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance
Objectives)

ด้านความรู้
1. บอกสัญลักษณแ์ ละการทำงานของวาลว์
หน่วงเวลาแบบปกตปิ ดิ
2. บอกสญั ลักษณ์และการทำงานของวาลว์
หน่วงเวลาแบบปกติเปิด

แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 8 ดา้ นทกั ษะ
ใบงานที่ 9 1. ทำเครอ่ื งหมายถูก ✓ หน้าขอ้ ที่ถูก หรือ
ผดิ  หนา้ ขอ้ ที่ผิด
2. ต่อวงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
ทำงานด้วยวาลว์ หนว่ งเวลา

ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซื่อสัตย์ สุจรติ
ความมนี ้ำใจและแบ่งบนั
ความรว่ มมือ
ความมมี ารยาท
ไม่หยุดนง่ิ ที่จะแก้ปญั หา

ใช้อปุ กรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ชือ่ วิชา นิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สอ์ ตุ สาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้ัน
ปวส.

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ
หนว่ ยที่ 9 ตวั นับ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

9.1 ตัวนบั ชนดิ นับอย่างเดียว แสดงความรู้เกี่ยวกบั ตัวนบั
9.2 ตัวนบั ชนดิ ตงั้ จำนวนได้
จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance
แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 9 Objectives)
ใบงานที่ 10
ด้านความรู้
1. บอกสญั ลักษณแ์ ละการทำงานของตวั นบั
ชนดิ นบั อยา่ งเดียว
2. บอกสญั ลกั ษณแ์ ละการทำงานของตัวนับ
ชนิดต้งั จำนวนได้

ด้านทักษะ
1. ทำเครอื่ งหมาย ✓ หน้าขอ้ ท่ีถกู หรอื
 หนา้ ข้อทผ่ี ิด
2. บอกความหมายสญั ลักษณ์
3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคุมการ
ทำงานด้วยตวั นับ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ช่ือวิชา นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ สอ์ ุตสาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น
ปวส.

ชอื่ เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
หนว่ ยท่ี 10 การเขียนวงจรนิวแมติกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

10.1 การกำหนดไดอะแกรมวงจร 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับการเขยี นวงจร
นวิ แมตกิ ส์ นวิ แมตกิ ส์

10.2 การกำหนดโคด้ อปุ กรณ์ 2. อา่ นและเขยี นวงจรระบบนวิ แมตกิ สต์ าม
หลกั การและกระบวนการ

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance
Objectives)

ดา้ นความรู้
1. อ่านความหมายไดอะแกรมของวงจร
นิวแมติกส์
2. อ่านและกำหนดโคด้ อุปกรณ์แบบตวั อกั ษร
และแบบตวั เลข

แบบฝึกหดั หน่วยที่ 10 ด้านทักษะ
ใบงานท่ี 11 1. บอกความหมายของโค้ดได้
2. ทำระบบการกำหนดโค้ดแบบตวั อกั ษรและ
ตัวเลขกำหนดลงในวงจรนิวแมตกิ ส์
3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ
ก่งึ อัตโนมตั /ิ อตั โนมัติ

ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอื่ สัตย์ สจุ ริต

ความมีนำ้ ใจและแบ่งบนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยุดนงิ่ ทจี่ ะแก้ปัญหา

ใชอ้ ุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ชอื่ วิชา นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ สอ์ ตุ สาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชน้ั
ปวส.

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
หนว่ ยที่ 11 พนื้ ฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

11.1 ความหมายของระบบไฮดรอลิกส์ แสดงความร้พู น้ื ฐานของระบบไฮดรอลิกส์
11.2 คุณสมบัติของของเหลว
11.3 เคร่ืองจักรระบบไฮดรอลิกส์ จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance
11.4 โครงสร้างระบบไฮดรอลิกส์ Objectives)

ดา้ นความรู้
1. บอกความหมายของระบบไฮดรอลกิ ส์
2. บอกคุณสมบตั ิของของเหลวในระบบ
ไฮดรอลกิ ส์
3. ยกตัวอย่างเครื่องจักรระบบไฮดรอลิกส์
4. บอกสว่ นประกอบพนื้ ฐานในระบบ
ไฮดรอลิกส์

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 11 ดา้ นทกั ษะ
1. นำตวั อักษรหนา้ ข้อความเตมิ หนา้ ตัวเลขให้
สัมพันธก์ ัน

ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต
ความมีน้ำใจและแบง่ บัน
ความรว่ มมอื
ความมมี ารยาท

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ

ชอ่ื วิชา นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น
ปวส.

ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
หนว่ ยที่ 12 อปุ กรณต์ ้นกำลังระบบไฮดรอลิกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

12.1 ถังพักนำ้ มนั ไฮดรอลิกส์ แสดงความรเู้ กี่ยวกบั อุปกรณ์ต้นกำลังใน
12.2 ป๊ัมไฮดรอลกิ ส์ ระบบไฮดรอลิกส์
12.3 ถังสะสมความดนั
จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance
Objectives)

ด้านความรู้
1. บอกหนา้ ที่และส่วนประกอบของถังพัก
น้ำมันไฮดรอลิกส์
2. บอกสญั ลักษณ์และการทำงานของปั๊มแบบ
เฟืองแบบใบพดั และแบบลูกสูบ
3. บอกหนา้ ทีป่ ระโยชนแ์ ละชนดิ ของถังสะสม
ความดนั

แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 12 ดา้ นทกั ษะ
1. ตอบคำถามที่กำหนดใหไ้ ด้
2. นำตวั อกั ษรหน้ารูปภาพจับคู่กบั ตวั เลข
หนา้ ขอ้ ความ
3. ทำเคร่ืองหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ที่ถูก หรือ

 หน้าข้อทผี่ ดิ
4. จบั ครู่ ะหว่างสัญลกั ษณ์ของปั๊มไฮดรอ-ลกิ ส์

กบั คำอธบิ ายชนิดของปั๊มให้ถูกต้อง

ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา

ความสนใจใฝ่รู้
ความซอื่ สัตย์ สุจริต
ความมีนำ้ ใจและแบง่ บนั
ความร่วมมือ
ความมมี ารยาท

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ

ช่อื วิชา นิวแมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหัสวชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชน้ั
ปวส.

ชือ่ เรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
หนว่ ยที่ 13 อุปกรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

13.1 กระบอกสบู ไฮดรอลิกส์ แสดงความร้เู กี่ยวกับอปุ กรณ์ทำงานใน
13.2 มอเตอร์ไฮดรอลิกส์ ระบบไฮดรอลิกส์

จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance
Objectives)

ดา้ นความรู้
1. บอกลักษณะและการทำงานของกระบอก
สบู ไฮดรอลิกส์
2. บอกลกั ษณะและการทำงานของ
มอเตอร์ไฮดรอลิกส์

แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 13 ดา้ นทักษะ
1. จบั คู่ระหว่างสัญลกั ษณ์และคำอธิบาย
2. เขียนเครอ่ื งหมาย ✓ หนา้ ข้อที่ถูก หรอื
 หนา้ ข้อทีผ่ ดิ
3. จบั คู่ภาพโครงสรา้ งมอเตอรไ์ ฮดรอลิกส์
กับชื่อท่ีกำหนด

ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอื่ สตั ย์ สจุ ริต
ความมีน้ำใจและแบง่ บนั
ความรว่ มมอื
ความมมี ารยาท

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ

ชือ่ วิชา นิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สอ์ ุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชัน้
ปวส.

ชอ่ื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
หนว่ ยที่ 14 วาลว์ ไฮดรอลิกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

14.1 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง แสดงความรูเ้ กย่ี วกับวาล์วไฮดรอลิกส์
14.2 วาล์วกนั กลบั
14.3 วาลว์ ควบคมุ อตั ราไหล จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance
14.4 วาลว์ แบง่ นำ้ มนั Objectives)
14.5 วาล์วควบคมุ ความดนั
ดา้ นความรู้
1. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของวาล์ว
ควบคุมทิศทาง
2. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของ
วาลว์ กันกลบั
3. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของ
วาล์วควบคุมอตั ราไหล
4. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของวาล์ว
แบง่ นำ้ มัน
5. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของ
วาลว์ ควบคุมความดนั

แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 14 ดา้ นทักษะ
1. นำตัวเลขช่อื วาล์วจับคกู่ ับสัญลกั ษณใ์ ห้
ถกู ต้อง

ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซือ่ สตั ย์ สุจริต

ความมนี ้ำใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวิชา

ชอื่ วิชา นิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชน้ั
ปวส.

พุทธิพิสัย

พฤติกรรม ความรู้ความจำ
ความเข้าใจ
ชอ่ื หนว่ ย ประยุกต์-นำไปใ ้ช
บทที่ 1 หลักการเบือ้ งตน้ ของระบบ ิวเคราะห์
นวิ แมติกส์ สูงก ่วา
บทที่ 2 ระบบการผลติ และจ่ายลม ทักษะพิสัย
บทที่ 3 อปุ กรณก์ ารทำงานในระบบ จิตพิสัย
นวิ แมติกส์ รวม
บทที่ 4 วาล์วควบคมุ ทศิ ทาง ลำ ัดบความสำคัญ

221 4 4 13 4

211 5 4 13 4
122 6 4 15 2

123 6 4 16 1

บทที่ 5 วาล์วควบคมุ ลมไหลทางเดียว 1 2 3 6 4 16 1
6 4 16 1
บทที่ 6 วาล์วควบคมุ อัตราการไหล 123 6 4 16 1
6 4 16 1
บทที่ 7 วาลว์ ควบคมุ ความดนั 123 5 4 14 3
7 4 16 1
บทที่ 8 วาล์วหน่วงเวลา 123 4 4 12 5
5 4 14 3
บทที่ 9 ตวั นบั 122
5 4 14 3
บทท่ี 10 การเขียนวงจรนิวแมติกส์ 122
6 4 15 2
บทท่ี 11 พ้ืนฐานระบบไฮดรอลิกส์ 121 79 56

บทท่ี 12 อุปกรณ์ตน้ กำลงั ระบบ 122

ไฮดรอลิกส์

บทที่ 13 อุปกรณ์ทำงานในระบบ 122

ไฮดรอลกิ ส์

บทท่ี 14 วาลว์ ไฮดรอลกิ ส์ 122

รวม 16 27 30

ลำดบั ความสำคญั 321

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 หน่วยที่ 1

ชื่อวิชา นวิ เมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อุตสาหกรรม เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
รหสั วชิ า 30102-2007
สอนคร้ังที่ 1-2/18
ชอื่ หน่วย หลกั การเบื้องตน้ ของระบบนิวแมตกิ ส์ จำนวน 8 คาบ
ชอ่ื เร่ือง หลกั การเบื้องตน้ ของระบบนิวแมติกส์

หัวข้อเรอ่ื ง แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 1
1.1 ความหมายของระบบนิวแมตกิ ส์
1.2 ประวตั คิ วามเป็นมาของระบบ

นวิ แมตกิ ส์
1.3 ขอ้ ดีข้อเสยี ของระบบนิวแมติกส์
1.4 กฎเบ้ืองต้นของระบบนวิ แมติกส์
1.5 คณุ สมบัติทางฟิสิกสข์ องอากาศ

แนวคดิ สำคญั
นิวแมติกส์เป็นระบบส่งกำลังโดยอาศัยลมเป็นตัวกลาง โดยแนวคิดของเทชิเบียส ชาวกรีก เมื่อ

2000 ปีก่อน และใน ค.ศ. 1883 ถูกใช้ในระบบเบรกลมรถไฟของเยอรมัน หลังจากน้ันได้ถูกพัฒนาอย่าง
ต่อเน่ืองและใช้มากในอุตสาหกรรม มีข้อดีในเรื่องไม่ระเบิด ประหยัดค่าใช้จ่าย ระบบนิวแมติกส์จะอาศัย
ความสัมพันธร์ ะหว่างความดัน แรง อุณหภูมิ ปริมาตรและความชืน้

สมรรถนะย่อย
แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลักการเบ้อื งต้นของระบบนิวแมติกส์

จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ด้านทกั ษะ
ด้านความรู้ 1. นำตัวอักษรหน้าข้อความดา้ นขวามือ มา

1. บอกความหมายของนวิ แมติกส์ เตมิ ลงหน้าตัวเลขดา้ นซา้ ยมือให้สัมพันธ์
2. บอกประโยชน์ของระบบนิวแมตกิ ส์ กนั
3. เปรยี บเทียบข้อดี ข้อเสยี ของระบบนิวแมติกส์
2. ทำเครอ่ื งหมายถกู ✓ หนา้ ข้อท่ีถูก หรอื
กับระบบอนื่ ๆ ผดิ  หนา้ ข้อทผี่ ิด
4. บอกความหมายของความดัน อุณหภูมิ ความช้นื
5. เปรียบเทียบค่าความดัน อุณหภูมิ ระหวา่ งหน่วย 3. แสดงวธิ ีทำเพื่อหาคำตอบ
6. คำนวณหาปริมาณไอน้ำในอากาศ และความ

ชืน้ สมั พทั ธ์
7. อธิบายความสัมพธั ข์ องความดัน อุณหภมู ิ และ

ปริมาตรของอากาศ
8. คำนวณหาคา่ ความดัน ปริมาตรและอุณหภมู ิ

ของอากาศ

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่ง

บัน ความร่วมมอื ความมมี ารยาท

เนื้อหาสาระ
1.1 ความหมายของระบบนวิ แมตกิ ส์
ความหมายของระบบนิวแมติกส์ล้วนเก่ียวข้องกับอากาศทั้งสิ้น เพราะลักษณะการทำงานของ

ระบบนิวแมติกส์ เป็นการนำลมมาใช้เป็นพลังงานขับดันให้อุปกรณ์ต่าง ๆ เคลื่อนท่ี เช่น ใช้ส่งกำลังให้วาล์ว
เลอ่ื นไป–มา เพื่อควบคมุ ให้ลูกสูบเล่ือนเข้า–ออก หรอื ควบคมุ ใหม้ อเตอร์ลมหมุนทวน–ตามเข็มนาฬิกา เปน็ ตน้

1.2 ประวตั คิ วามเปน็ มาของระบบนวิ แมติกส์
เม่ือ 2000 ปกี ่อน เทซิเบยี ส (Ktesibios) ชาวกรีกใช้การอัดลมเปน็ ตน้ กำลงั ยงิ อาวุธ
ค.ศ. 1883 ใช้ในระบบเบรกลมในรถไฟของเยอรมัน
ค.ศ. 1835 ใชใ้ นระบบสง่ เอกสารทางทอ่ ลมของออสเตรีย

1.3 ขอ้ ดี ข้อเสียของระบบนิวแมตกิ ส์
ข้อดขี องระบบนิวแมตกิ ส์
1. ไม่มีการระเบิด หรือลุกไหม้เป็นเปลวไฟ จึงประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการป้องกันความ

ปลอดภัย
2. ความเร็วของเครื่องมือทใี่ ชร้ ะบบนวิ แมติกส์ ให้ความเรว็ ในการทำงานสงู 1–2 m/s
3. เมื่ อ ใช้ งาน แ ล้ ว ส าม ารถ ระบ าย ล ม อ อ ก สู่ บ รรย าก าศ ได้ ทั น ที โด ย ไม่ ต้ อ งเ ดิ น

ท่อทางนำกลับมาใช้อีก
4. สามารถนำลมทีอ่ ัดตัวแล้วเกบ็ ไวใ้ นถังและนำไปใช้งานไดท้ ันที
5. ถา้ ใช้งานอุปกรณ์นวิ แมติกสจ์ นเกนิ กำลงั อุปกรณ์ก็ยังมคี วามปลอดภัย
6. สามารถปรับความเร็วในการทำงานได้โดยใช้อปุ กรณ์ควบคุมความเร็ว และสามารถทำให้รอบ

ในการทำงานสูงถึง 8,000 รอบต่อวินาที
7. สามารถปรบั ความดันลมอัดให้มคี ่ามากน้อยไดต้ ามต้องการ โดยใชอ้ ุปกรณค์ วบคมุ ความดัน
8. ความสะอาดของระบบนิวแมติกสด์ ีมาก เพราะมชี ุดปรบั คณุ ภาพลมก่อนนำไปใชง้ าน
9. ระยะชักของก้านสูบสามารถปรบั แตง่ ระยะชักใหส้ ัน้ หรือยาวได้ตามต้องการ

10.สามารถทำงานไดท้ ีร่ ะดับความแตกตา่ งของอณุ หภูมิ
ขอ้ เสียของระบบนวิ แมติกส์
1. บางคร้ังมีการเพมิ่ อุปกรณ์นิวแมติกสเ์ ข้ามาในวงจรโดยไม่คำนึงถึงความสามารถของเครื่องอัด
ลม ซึ่งอาจจะทำใหเ้ ครอื่ งจกั รทำงานคลาดเคล่ือนได้
2. ลมที่ได้มาจากการอัดตัวในระบบนิวแมติกส์จะมีความชื้นปนอยู่ และเม่ือความดันลดลง
จะทำใหเ้ กดิ หยดน้ำขน้ึ ได้
3. การทำงานของระบบนิวแมติกส์มักจะมีเสียงดัง เพราะจะต้องมีการระบายลมทิ้งออกสู่
บรรยากาศ จึงจำเปน็ จะตอ้ งมีตัวเก็บเสียง
4. ความดันของลมอดั ในระบบนิวแมติกสจ์ ะเปลีย่ นแปลงไปตามอุณหภูมิ ถา้ อณุ หภมู ิสูง ความดัน
กจ็ ะสูง และถ้าอุณหภูมติ ่ำความดนั กจ็ ะต่ำลงดว้ ย
5. ถ้าต้องการแรงในการใช้งานมากเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบจะต้องมีขนาดโตข้ึน เพื่อท่ีจะให้
ได้แรงตามตอ้ งการ ซง่ึ ลกู สูบในระบบนวิ แมตกิ สจ์ ะมีขนาดจำกดั
1.4 กฎเบอ้ื งต้นของระบบนวิ แมติกส์
1.4.1 ความดนั อากาศ คือ แรงดันของอากาศที่กระทำต่อวัตถุในแนวตั้งฉาก หน่วยวัดแรงดันอากาศ
สากล นิยมใช้กนั มีอย่ดู งั นี้
Pa = ปาสคาล
N/m2 = นวิ ตนั /ตารางเมตร
kg/cm2 = กิโลกรัม/ตารางเซนตเิ มตร
PSI = ปอนด/์ ตารางน้วิ
bar = บาร์
1.4.2 ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure) หมายถึง แรงดันของอากาศท่ีกดลงมายัง
พ้ืนโลก เน่ืองจากพื้นโลกสูงต่ำไม่เท่ากัน ความดันบรรยากาศจึงเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ที่ระดับความสูง
เพิ่มขึ้นความดันบรรยากาศจะลดลง ดงั นนั้ จึงไดก้ ำหนดเอาระดบั น้ำทะเลเป็นระดบั มาตรฐานในการวัดค่าความ
ดนั บรรยากาศ ซึง่ มคี ่า 14.7 PSI หรอื 1.033 kg/cm2 หรือ 1.014 bar
1.4.3 ความดันสมบูรณ์ (Absolute Pressure) หมายถึง ความดันแท้จริงที่วัดเปรียบเทียบกับ
ความดนั สญุ ญากาศ ดงั นั้นความดนั บรรยากาศจงึ เป็นความดนั สัมบูรณ์ดว้ ย
1.4.4 ความดันเกจ (Gauge Pressure) หมายถึง ความดันท่ีวัดเปรียบเทียบกับความดัน
บรรยากาศ จะมีค่าเป็นบวกเม่ือมีความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศ และความดันเกจที่ต่ำกว่าความดัน
บรรยากาศ จะมีค่าเป็นลบ
1.4.5 ความสัมพันธ์ของความดัน ความดันบรรยากาศ ความดันสัมบูรณ์ และความดันเกจ มี
ความสมั พันธ์กัน ดงั แสดงด้วยสมการ

ความดันสัมบูรณ์ (Pa) = ความดันบรรยากาศ + ความดันเกจ (Pg)

1.4.6 อุณหภูมิ หมายถึง ระดับความร้อนของสารตัวกลางที่สภาวะต่าง ๆ หน่วยวัดอุณหภูมิที่
นิยมใช้ คอื องศาเคลวิน (K) กบั องศาเซลเซยี ส (oC) ทรี่ ะดบั อณุ หภูมิ

0oC = 273 K
–273oC = 0 K
การเปลยี่ นแปลงค่าอณุ หภมู ทิ กุ 1oC จะทำให้เกิดการเปลยี่ นแปลง 1 K เช่นกนั
1.4.7 ความช้ืน หมายถึง ปริมาณของไอน้ำทปี่ ะปนอยู่ในอากาศ ความชน้ื สามารถรวมตัวกันและ
กล่ันตัวเป็นหยดน้ำได้ ซ่ึงข้ึนอยู่กับอุณหภูมิและสภาวะของอากาศในขณะนั้น ๆ หน่วยวัดความช้ืนวัดเป็นกรัม
ตอ่ ลูกบาศก์เมตร (g/m3)
1.4.8 ความชื้นอ่ิมตัว หมายถึง ระดับความช้ืนสูงสุดท่ีอากาศสามารถดูดซับไว้ได้ ณ ระดับอุณหภูมิ
หนึ่ง เชน่ ทร่ี ะดบั อณุ หภูมิ 51oC อากาศสามารถดดู ซับความชื้นไดส้ ูงสุด 86.9 g/m3 เปน็ ตน้
1.4.9 ความชืน้ สัมบูรณ์ หมายถงึ ความชน้ื ทมี่ ีอยจู่ ริงในอากาศ
1.4.10 ความช้ืนสัมพัทธ์ หมายถึง สัดส่วนของความช้ืนสัมบูรณ์ต่อความช้ืนอิ่มตัว สามารถเขียน
เปน็ สมการได้ดังนี้

ความช้ืนสัมพทั ธ์ = ความช้ืนสมั บูรณ์  100
ความช้ืนอ่ิมตวั

ความช้นื สมั พทั ธ์มีหน่วยเป็น เปอรเ์ ซน็ ต์
1.5 คณุ สมบัติทางฟสิ กิ สข์ องอากาศ

1.5.1 กฎของบอยล์ (Boyle’s Law) จากกฎของบอยลจ์ ะไดส้ มการดังน้ี
P1 x V1 = P2 x V2
P1 = ความดนั เร่มิ ต้น (bar)
V1 = ปริมาตรเริม่ ตน้ (m3)
P2 = ความดนั สดุ ทา้ ย (bar)
V2 = ปรมิ าตรสุดท้าย (m3)

1.5.2 กฎของชารล์ (Charl’s Law) จากกฎของชารล์ จะได้สมการดังน้ี
VT21 = VT22
V1 = ปริมาตรเรม่ิ ตน้ (m3)

V2 = ปริมาตรสุดทา้ ย (m3)

T1 = อณุ หภมู เิ ริม่ ตน้ (K)

T2 = อุณหภมู ิสุดทา้ ย (K)

1.5.3 กฎของเกย์ลูสแซก (Gay–Lussac’s Law) จากกฎของลสู แซกจะไดส้ มการดังน้ี

PP21 = TT22
P1 = ความดันเร่ิมตน้ (bar)

P2 = ความดนั สดุ ทา้ ย (bar)

T1 = อณุ หภมู ิเริม่ ตน้ (K)

T2 = อุณหภมู สิ ดุ ทา้ ย (K)

1.5.4 กฎท่ัวไปเก่ียวกับก๊าซ เป็นการรวมเอากฎของบอยล์และชาร์ลเข้าด้วยกันภายใต้สภาวะใด

ๆ ท่กี า๊ ซเปลย่ี นแปลงท้ังความดนั อุณหภูมิ และปรมิ าตร จะได้สมการดังน้ี
P1 V1
 = P2  V2
T1 T2

P1 = ความดันเรมิ่ ตน้ (bar)

V1 = ปรมิ าตรเรมิ่ ต้น (m3)

P2 = ความดันสดุ ท้าย (bar)

V2 = ปริมาตรสดุ ท้าย (m3)

T1 = อุณหภมู เิ ริม่ ต้น (K)

T2 = อณุ หภูมสิ ุดท้าย (K)

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 1/18, คาบท่ี 1-4/56)
1. ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับคำอธิบายรายวิชา จดุ ประสงค์รายวิชา การวัดผลและประเมินผลการ

เรยี น คุณลกั ษณะนิสัยทต่ี ้องการให้เกิดขน้ึ และขอ้ ตกลงในการเรียน
2. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 1 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
3. แบง่ นักเรยี นเปน็ กล่มุ กล่มุ ละ 5 คน
4. ครูใหน้ กั เรยี นดเู นื้อหาหน่วยท่ี 1
5. ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรียน
5.1 ครนู ำรูปภาพเกีย่ วกับการใชป้ ระโยชน์จากลมมาให้นักเรยี นดู
5.2 ครตู ง้ั คำถามใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบ แล้วรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกบั การใชป้ ระโยชน์จากลม
5.3 ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นข้อ 1-4
6. ขั้นสอน
6.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาจากเนอื้ หาในหนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื งหลกั การเบื้องต้นของระบบนวิ แมติกส์
6.2 แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหน้าช้ันเรียนเพ่ือสรุปเก่ียวกับการใช้

ประโยชน์จากลม ประวัติความเปน็ มาของระบบนิวแมติกส์ และเปรียบเทียบข้อดี ขอ้ เสยี ของระบบนิวแมตกิ ส์
6.3 ครูให้ความร้เู พมิ่ เติมโดยใช้สอ่ื PowerPoint

6.4 นักเรยี นทำแบบฝกึ หัดตอนที่ 1 และตอนท่ี 2
7. ข้ันสรุป

ครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมและร่วมกันอภิปรายสรุปบทเรยี น

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 2/18, คาบท่ี 5-8/56)
1. เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี นโดยการเรยี กช่ือและสำรวจ
2. ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
2.1 ครทู บทวนเน้ือหาทีเ่ รยี นในครัง้ ท่ี 1
2.2 ครแู จง้ จุดประสงคก์ ารเรยี นขอ้ 5-8
3. ข้ันสอน
3.1 นกั เรียนศึกษาเน้ือหาจากหนังสือในหัวขอ้ กฎเบื้องต้นของระบบนิวแมติกส์ และคุณสมบัติทาง
ฟิสิกสข์ องอากาศ
3.2 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องกฎเบื้องต้นของระบบนิวแม-
ตกิ ส์ และคณุ สมบัติทางฟสิ ิกสข์ องอากาศ
3.3 สมุ่ ตวั อยา่ งให้นกั เรียนออกมาทำการคำนวณตามโจทย์ท่ีครูกำหนดให้
3.4 นักเรยี นทำแบบฝกึ หัดตอนท่ี 3
4. ขั้นสรปุ ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั และร่วมกนั อภปิ รายสรุปบทเรยี น
5. ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1. สื่อการเรียนรู้
1.1 หนังสือเรยี น หน่วยที่ 1 เร่ือง หลกั การเบอ้ื งตน้ ของระบบนิวแมตกิ ส์
1.2 PowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยที่ 1
1.3 แบบฝกึ หดั ตอนท่ี 1-3
1.4 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน
2. แหลง่ การเรยี นรู้
2.1 หนังสือเกี่ยวกับระบบนิวแมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
2.2 อนิ เทอรเ์ น็ต

การวดั ผลและประเมนิ ผล
1. การวัดผลและการประเมินผล
1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ

70 ผา่ นเกณฑ์

1.2 ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
1.3 สงั เกตการปฏิบัตกิ จิ กรรมกล่มุ โดยใช้แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
1.4 ตรวจแบบฝึกหดั
2. เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ
70 ผา่ นเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
2.4 แบบฝึกหดั ต้องไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานท่ีมอบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียนไม่มี

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 1
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 1

เอกสารอา้ งองิ
1. หนังสือเรยี นวิชานิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์อตุ สาหกรรม รหัสวิชา 2100-1009
บริษทั ศนู ยห์ นังสือเมืองไทย จำกัด
2. เว็บไซต์และสอื่ สงิ่ พมิ พท์ ่เี ก่ียวข้องกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

บันทกึ หลงั การสอน

1. ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่ีพบ
.......................................................................................................... ....................................................................
....................................................................................................................................... .................................
................................................................................................................................................ ...........................
....................................................................................................... .......................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................................. ..............................

3. แนวทางการแกป้ ญั หา
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. ..............................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชอ่ื ...............................................
ครผู ู้สอน

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 หน่วยท่ี 2

ชอ่ื วิชา นิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สอ์ ุตสาหกรรม เวลาเรียนรวม 72 คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007
สอนคร้งั ท่ี 3/18
ชอื่ หน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม จำนวน 4 คาบ
ชอื่ เร่ือง ระบบการผลิตและจา่ ยลม

หัวข้อเรือ่ ง แบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
2.1 โครงสรา้ งระบบการผลติ และจา่ ยลม
2.2 เครอ่ื งอัดอากาศ
2.3 ถงั เก็บลม
2.4 มอเตอร์ไฟฟ้า
2.5 เครอื่ งระบายความรอ้ น
2.6 เครอื่ งกำจัดความชนื้
2.7 เกจความดนั
2.8 อุปกรณ์กรองลมท่อลมหลกั
2.9 อุปกรณ์ระบายน้ำ
2.10 วาลว์ นิรภยั
2.11 วาลว์ กนั กลับ
2.12 ทอ่ สง่ จ่ายลม
2.13 ชุดปรบั คณุ ภาพลมอดั

แนวคิดสำคญั
ระบบการผลิตและจ่ายลมจะมสี ่วนประกอบในระบบทีส่ ำคัญ คือเครื่องอัดอากาศ มอเตอร์ไฟฟ้า ถัง

เก็บลม สวิตช์ความดนั อุปกรณร์ ะบายนำ้ วาล์วนิรภยั อปุ กรณก์ ำจดั ความช้ืนและอปุ กรณก์ รองลม

สมรรถนะย่อย ดา้ นทักษะ
แสดงความรู้เกยี่ วกับระบบการผลติ และจา่ ยลม 1. บอกชื่อสว่ นประกอบในระบบการผลติ ลม

จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ และจ่ายลม
ด้านความรู้

1. บอกส่วนประกอบของระบบการผลติ และใชล้ ม
2. บอกหน้าท่ีและการทำงานของเคร่ืองอัดอากาศ
3. ระบชุ อ่ื และหนา้ ทขี่ องอุปกรณใ์ นระบบผลติ

และจ่ายลม

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่ง

บัน ความร่วมมือ ความมมี ารยาท

เนือ้ หาสาระ
2.1 โครงสรา้ งระบบการผลติ และจ่ายลม
ส่วนประกอบของระบบการผลิตและการใช้ลม
1. ระบบการผลติ และส่งจา่ ยลมอัด
- เครื่องอดั อากาศ (Air Compressor)
- มอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor)
- สวิตช์ความดัน (Pressure Switch)
- วาลว์ ปอ้ งกนั การไหลย้อนกลับ (Check Valve)
- ถงั เก็บลม (Air Tank)
- เกจวัดความดนั (Pressure Gauge)
- อุปกรณร์ ะบายน้ำ (Water Drain)
- วาล์วนริ ภยั (Safety Valve)
- อุปกรณก์ ำจดั ความชนื้ (Air Dryer)
- อปุ กรณก์ รองลม (Air Filter)
2. ระบบการใช้ลมอดั
- ทอ่ ส่งจ่ายลม (Ducting Work)
- อปุ กรณ์ระบายนำ้ (Water Drain)
- ชดุ ปรบั คุณภาพลม (Service Unit)
- วาล์วควบคมุ ทิศทาง (Directional Control Valve)
- อปุ กรณท์ ำงาน (Working Element)
- อปุ กรณ์ควบคุมความเร็ว (Speed Control)
2.2 เครื่องอัดอากาศ
เครื่องอัดอากาศ (Air Compressor) มีหน้าท่ีเปล่ียนพลังงานกลให้อยู่ในรูปของพลังงานนิวแม

ตกิ ส์ โดยท่ีตัวเคร่ืองอัดจะดูดอากาศเข้ามาทางทอ่ ดูดแลว้ อัดให้มีความดันเพิ่มขึน้ จากนั้นจึงส่งอากาศที่ถูกอัดแล้ว
ไปเกบ็ ยังถงั พักลม กอ่ นท่จี ะถูกสง่ ไปใชง้ านในระบบนิวแมติกส์ต่อไป

2.3 ถังเก็บลม

หน้าที่ของถังเกบ็ ลม คือ เก็บรกั ษาแรงดันลมใหม้ ีค่าเหมาะสมตอ่ การใชง้ าน เก็บรกั ษาปริมาณลม
ให้เพียงพอต่อการใช้งาน แยกไอน้ำที่ปะปนมากับลมอัดให้กล่ันตัวเป็นหยดน้ำ ระบายความร้อนลมอัด และ
ติดตั้งอปุ กรณป์ ระกอบ เชน่ เกจวดั ความดัน วาล์วระบายน้ำ วาลว์ นิรภัย วาลว์ ปิด-เปิด เปน็ ตน้

2.4 มอเตอรไ์ ฟฟ้า
มอเตอร์ไฟฟ้าในการผลิตลม มีหน้าท่ีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล เพ่ือหมุนขับเครื่อง

อัดอากาศให้เปล่ียนเป็นพลังงานลมอัด ขนาดของกำลังขับ (HP) มอเตอร์ไฟฟ้า จะเปล่ียนไป ตามความจุของถัง
เกบ็ ลมอดั

2.5 เครือ่ งระบายความร้อน
มหี น้าท่ี ลดอุณหภูมิลมอัด ลดความชนื้ และลดฝุ่นละออง

2.6 เครอ่ื งกำจดั ความชืน้
เครื่องกำจัดความช้ืน (Air Dryer) มีหน้าท่ีกำจัดความช้ืนท่ีเหลือมาจากเคร่ืองระบายความร้อน

และถงั เก็บลมอดั ซ้ำอีก
2.7 เกจความดัน
เกจวัดความดัน (Pressure Gauge) มีหน้าท่ีแสดงระดับความดันลมอัด มีหน่วยเป็น bar และ

PSI
2.8 อุปกรณก์ รองลมท่อลมหลกั
อุปกรณ์กรองลมท่อลมหลัก (Main Line Filter) มีหน้าท่ีจับฝุ่นละออง น้ำ และน้ำมัน ในท่อลม

หลกั
2.9 อปุ กรณร์ ะบายน้ำ
อุปกรณ์ระบายน้ำ มีหน้าท่ีระบายน้ำออกจากอุปกรณ์ท่ีเกิดจากการกลั่นตัวของไอน้ำออกสู่

ภายนอก
2.10 วาลว์ นริ ภัย
วาล์วนิรภัย (Safety Valve) มีหนา้ ทก่ี ำจัดความดนั ในถังเก็บลมไม่ให้เกินค่าทกี่ ำหนด
2.11 วาล์วกนั กลับ
วาล์วกันกลับ (Check Valve) มีหน้าทีป่ อ้ งกันการไหลย้อนกลบั ของลมในระบบผลิตลมอัด
2.12 ทอ่ สง่ จ่ายลม
การตดิ ตัง้ ทอ่ ลม
1. วางท่อเมนในแนวนอน ให้ลาดเอียงไปทางปลายท่อเพ่ือให้น้ำท่ีกล่ันตัวไหลไปที่อุปกรณ์

ระบายน้ำได้
2. ตอ่ ท่อแยกลมออกจากท่อเมนทางด้านบนเพอ่ื ป้องกนั นำ้ เข้าไปในระบบ
3. ตดิ ตัง้ อปุ กรณร์ ะบายน้ำท่ีปลายท่อลมท่สี ง่ จ่ายไปยังจดุ ตา่ ง ๆ

2.13 ชุดปรับคุณภาพลมอัด

ชุดปรับคุณภาพลมอัด (Service Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการทำความสะอาด ปรับแต่งค่า
ความดัน รวมทั้งบางกรณีอาจมีการผสมน้ำมันหล่อลื่นเข้าไปในลมอัดด้วย เพื่อยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ นิว
แมตกิ ส์

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 3/18, คาบที่ 9-12/56)
8. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยท่ี 2 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
9. แบง่ นกั เรยี นเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 5 คน
10. ครูให้นักเรยี นดเู นื้อหาหน่วยที่ 2
11. ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้

ข้อสรุป
12. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนท้ังทฤษฎีและปฏบิ ัติ
13. ขนั้ สอน
13.1 ครอู ธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นักเรียนศึกษาจากเนอื้ หาในหวั ขอ้ เร่ือง
13.2แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหน้าชัน้ เรียนเพื่อสรุป
13.3ครใู หค้ วามรูเ้ พ่ิมเติมโดยใช้สื่อ PowerPoint
13.4นักเรยี นทำแบบฝึกหดั
14.ขน้ั สรปุ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมและร่วมกนั อภปิ รายสรุปบทเรยี น
15. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน

ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
3. สือ่ การเรียนรู้
3.1 หนงั สอื เรยี น หน่วยที่ 2 เร่อื ง ระบบการผลติ และจ่ายลม
3.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยที่ 2
3.3 แบบฝึกหัด
3.4 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น
4. แหลง่ การเรยี นรู้
4.1 หนงั สือเก่ียวกบั ระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
4.2 อินเทอรเ์ นต็

การวดั ผลและประเมินผล
3. การวัดผลและการประเมนิ ผล
3.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ

70 ผา่ นเกณฑ์
3.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น

3.3 สงั เกตการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่ม
3.4 ตรวจแบบฝึกหดั
4. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
4.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ
70 ผ่านเกณฑ์
4.2 แบบทดสอบหลังเรยี น ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
4.3 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
4.4 แบบฝกึ หัดตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานที่มอบหมาย
งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเนอ้ื หา รวมทง้ั ความสมบรู ณข์ องแบบฝึกหัด

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการนำเสนองานกลมุ่
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 2
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 2

เอกสารอ้างองิ
1. หนังสือเรยี นวชิ านิวแมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหสั วชิ า 2100-1009
บริษทั ศนู ยห์ นังสือเมืองไทย จำกดั
2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่อื สิง่ พิมพ์ท่เี กี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

บันทกึ หลงั การสอน

1. ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่ีพบ
.......................................................................................................... ....................................................................
....................................................................................................................................... .................................
................................................................................................................................................ ...........................
....................................................................................................... .......................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................................. ..............................

3. แนวทางการแกป้ ญั หา
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. ..............................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชอ่ื ...............................................
ครผู ู้สอน

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 หน่วยท่ี 3

ช่ือวิชา นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม เวลาเรยี นรวม 72
รหัสวชิ า 30102-2007 คาบ
สอนครัง้ ท่ี 4/18
ช่ือหน่วย อปุ กรณท์ ำงานในระบบนวิ แมติกส์ จำนวน 4 คาบ
ช่ือเรื่อง อุปกรณท์ ำงานในระบบนวิ แมติกส์

หวั ข้อเรอ่ื ง แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 3
3.1 อปุ กรณ์ทเ่ี คล่ือนท่ีเปน็ เส้นตรง
3.2 อปุ กรณ์ท่ีเคลื่อนท่ีเป็นเสน้ รอบวง

แนวคดิ สำคญั
อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์และแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะการทำงาน คือ

อุปกรณท์ ่ีทำให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง ซึ่งเป็นลูกซบู ทำงานทางเดียวและสองทาง และอุปกรณ์ท่ีทำให้
เกิดการเคลอื่ นท่ีในแนวเสน้ รอบวง ซงึ่ เปน็ การทำงานในลักษณะหมนุ แกว่งและหมนุ รอบ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เก่ยี วกบั อปุ กรณ์ทำงานในระบบนวิ แมติกส์

จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ด้านทักษะ
ด้านความรู้ 1. นำตวั อกั ษรหน้าสญั ลักษณข์ องอปุ กรณ์

1. บอกลักษณะโครงสรา้ งและการทำงานของ ทำงานเตมิ ลงหนา้ ขอ้ ให้ถูกต้อง
ลกู สูบลมชนดิ ทำงานทางเดียว 2. นำตวั เลขจากรปู เติมหนา้ ข้อให้ถกู ต้อง

2. บอกลักษณะโครงสรา้ งและการทำงานของ
ลูกสบู ลมชนิดทำงานสองทาง

3. บอกอปุ กรณ์ทำงานในลักษณะหมุนแกว่ ง
4. บอกอุปกรณ์ทำงานในลักษณะหมนุ รอบ

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่ง

บัน ความร่วมมอื ความมีมารยาท

เนื้อหาสาระ

3.1 อุปกรณ์ท่เี คลื่อนท่ีเปน็ เสน้ ตรง
อุปกรณ์ที่เคล่ือนที่เป็นเส้นตรง (Linear Motion) ในระบบนิวแมติกส์อุปกรณ์ท่ีเคลื่อนที่เป็น

เสน้ ตรงจะนยิ มใช้ลูกสูบลม (Pneumatic Cylinder) เพราะใชง้ านงา่ ย โครงสรา้ งไม่ซับซอ้ น ลูกสูบสามารถแบ่ง
ได้ 2 ชนิด คือ ลูกสูบลมชนิดทำงานทางเดียว (Single Acting Cylinder) และ ลูกสูบลมชนิดทำงานสองทาง
(Double Acting Cylinder)

3.2 อปุ กรณ์ทเ่ี คล่ือนที่เปน็ เสน้ รอบวง
อุปกรณท์ เ่ี คลือ่ นทเ่ี ป็นเสน้ รอบวง (Rotary Motion) แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ชนิด
1. อปุ กรณ์ทำงานในลกั ษณะของการหมุนแกว่ง (Oscillation Motion)
2. อปุ กรณ์ทำงานในลกั ษณะหมุนรอบ (Rotary Motion)

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 4/18, คาบที่ 13-16/56)
16. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยที่ 3 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
17. แบง่ นักเรียนเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 5 คน
18. ครูใหน้ ักเรียนดูเน้อื หาหนว่ ยท่ี 3
19. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูต้ังคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้

ขอ้ สรุป
20. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรียนทง้ั ทฤษฎีและปฏบิ ัติ
21. ขัน้ สอน
21.1 ครูอธิบาย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศึกษาจากเน้อื หาในหวั ขอ้ เรอ่ื ง
21.2แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหนา้ ชน้ั เรียนเพอื่ สรุป
21.3ครูใหค้ วามรเู้ พิม่ เติมโดยใช้สอื่ PowerPoint
21.4นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดตอนท่ี 1 และ ตอนที่ 2
22.ขน้ั สรปุ ครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมและรว่ มกนั อภิปรายสรปุ บทเรยี น
23. ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
5. สอ่ื การเรียนรู้
5.1 หนังสอื เรยี น หนว่ ยที่ 3 เรือ่ ง อปุ กรณ์ทำงานในระบบนวิ แมติกส์
5.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 3
5.3 แบบฝกึ หดั
5.4 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน

6. แหลง่ การเรียนรู้

6.1 หนงั สือเกี่ยวกบั ระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
6.2 อินเทอร์เนต็

การวดั ผลและประเมนิ ผล
5. การวดั ผลและการประเมินผล
5.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ

70 ผ่านเกณฑ์
5.2 ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน
5.3 สงั เกตการปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่ โดยใช้แบบประเมินผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่ม
5.4 ตรวจแบบฝึกหดั

6. เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล
6.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ

70 ผา่ นเกณฑ์
6.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.3 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่าน

เกณฑ์
6.4 แบบฝึกหดั ตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานทม่ี อบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทบทวนเนื้อหา รวมท้ังความสมบรู ณ์ของแบบฝึกหัด

ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสำเร็จของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 3
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 3

เอกสารอ้างอิง
1. หนังสือเรียนวิชานวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหัสวิชา 2100-1009
บริษทั ศูนยห์ นังสอื เมืองไทย จำกดั
2. เวบ็ ไซต์และสื่อสง่ิ พมิ พ์ท่เี ก่ียวข้องกบั เนื้อหาบทเรยี นตามบรรณานกุ รม

บันทกึ หลงั การสอน

1. ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่ีพบ
.......................................................................................................... ....................................................................
....................................................................................................................................... .................................
................................................................................................................................................ ...........................
....................................................................................................... .......................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................................. ..............................

3. แนวทางการแกป้ ญั หา
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. ..............................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชอ่ื ...............................................
ครผู ู้สอน

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 หน่วยท่ี 4

ชอ่ื วิชา นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม เวลาเรียนรวม 72 คาบ
รหสั วชิ า 30102-2007
สอนคร้ังท่ี 5–6/18
ชอื่ หน่วย วาล์วควบคมุ ทิศทาง จำนวน 8 คาบ
ช่ือเรอ่ื ง วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง

หัวข้อเรือ่ ง

4.1 สญั ลกั ษณ์ของวาลว์ ควบคมุ ทิศทาง แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 4

4.2 การอา่ นโคด้ สญั ลักษณว์ าลว์ ใบงานท่ี 1-4

4.3 การต้ังชอ่ื รลู ม

4.4 การบงั คบั การเลื่อนของวาลว์

4.5 การอา่ นสญั ลักษณ์ของวาล์วควบคุมทิศทาง

4.6 โครงสรา้ งของวาล์วควบคุมทิศทาง

แนวคิดสำคญั

สัญลักษณ์ของวาล์วควบคุมทิศทางมีใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็วต่อการนำไปใช้และทำความเข้าใจ

วาล์วควบคุมทิศทางมีหน้าท่ีควบคุมการไหลของลมให้เป็นไปตามท่ีต้องการ เช่น ปิด-เปิด หรือเปลี่ยนทิศทาง

ลมเพอ่ื ให้อปุ กรณท์ ำงานและเคล่ือนทไี่ ปตามทิศทางที่ต้องการ

สมรรถนะย่อย

แสดงความรเู้ กีย่ วกับวาล์วควบคมุ ทิศทาง

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ ดา้ นทักษะ
1. เลือกทำเครื่องหมาย  ในชอ่ ง
ดา้ นความรู้
1. อา่ นความหมายของลกั ษณะของวาล์ว ความหมายให้ถกู ต้อง
2. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคมุ
ควบคุมทิศทาง
2. อา่ นโค้ดสญั ลกั ษณว์ าล์ว กระบอกสูบทางเดียวแบบ Direct control
3. อา่ นสญั ลกั ษณ์วาล์วควบคมุ ทิศทาง 3. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ

กระบอกสูบทางเดียวแบบ Indirect control
4. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ

กระบอกสบู สองทางแบบ Direct control
5. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคุม

กระบอกสูบสองทางแบบ Indirect control

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน
ความร่วมมอื ความมีมารยาท ไมห่ ยดุ นงิ่ ทีจ่ ะแกป้ ัญหา ใชอ้ ุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

เน้ือหาสาระ

4.1 สัญลักษณข์ องวาลว์ ควบคุมทศิ ทาง

ใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็วง่ายต่อการอ่าน และการทำความเข้าใจการทำงานของระบบนิวแม-

ติกสใ์ นวงการอตุ สาหกรรม

4.2 การอา่ นโคด้ สญั ลักษณว์ าลว์

- ตำแหนง่ ปกตเิ ปิด หมายถึง ในตำแหนง่ ทว่ี าล์วค้างอยูก่ ่อนลมผ่านออกได้ NO (Normally

Open)

- ตำแหน่งปกตปิ ดิ หมายถงึ ในตำแหน่งทีว่ าลว์ คา้ งอยู่ก่อนลมผ่านออกไมไ่ ด้ NC (Normally

Closed)

4.3 การตั้งช่อื รลู ม

การต้งั ชือ่ โดยทัว่ ไปนิยมใช้ 3 แบบ คือ แบบตวั เลข แบบตัวอักษร และแบบตวั ย่อ แตท่ ่ีพบเหน็

ในปัจจบุ นั จะเป็นแบบตวั เลขกับแบบตวั อักษร

4.4 การบงั คบั การเล่อื นของวาลว์

การบงั คบั การเล่อื นของวาล์วควบคุมทิศทาง แบ่งได้ 4 ประเภท ได้แก่ การเลอ่ื นโดยใช้มนษุ ย์

การเลื่อนโดยใช้กลไก การเล่ือนโดยใช้ลม และการเลอื่ นโดยใช้ไฟฟา้

4.5 การอ่านสัญลักษณ์ของวาลว์ ควบคุมทิศทาง

ตวั อย่างการอา่ นสญั ลักษณ์ของวาลว์ ควบคุมทิศทาง 2(A)
อ่านว่า วาล์ว 2/2 ปกติเปิดเลื่อนวาล์ว โดยมือกด

กลับโดยสปริง (2/2 D.C. Valve Normally Open Set

by Push Reset by Spring.) 1(P)
4.6 โครงสร้างของวาล์วควบคุมทศิ ทาง

โครงสร้างของวาล์วควบคุมทิศทาง วาล์วควบคุมทิศทางแบ่งลักษณะโครงสร้างออกเป็น 2

ประเภท คือ

- แบบนั่งบ่า (Poppet Valve)

แบบลกู บอล (Ball Seat Valve)

แบบแผ่นกลม (Dise Seat Valve)

- แบบเล่อื น (Slidc Valve)

แบบลูกสบู เลื่อน (Piston Slide Valve)

แบบลูกสูบและแผ่นเลือ่ น (Piston Flat Slide Valve)

แบบแผ่นหมนุ (Plate Slide Valve or Rotary Slide Valve)

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 5/18, คาบที่ 17-20/56)
24. นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยที่ 4 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
25. แบง่ นกั เรยี นเป็นกลมุ่ กล่มุ ละ 5 คน
26. ครูใหน้ กั เรยี นดเู นือ้ หาหนว่ ยท่ี 4 หวั ข้อท่ี 4.1-4.3
27. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้

ข้อสรปุ
28. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรยี นท้งั ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิข้อ 1-3
29. ขัน้ สอน
29.1 ครอู ธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นักเรยี นศึกษาจากเนือ้ หาในหวั ข้อเรื่อง 4.1-4.3
29.2แตล่ ะกล่มุ ส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหน้าชั้นเรยี นเพ่ือสรุป
29.3ครูให้ความรูเ้ พิม่ เติมโดยใชส้ ื่อ PowerPoint
29.4นกั เรียนทำกิจกรรมตามใบงานที่ 1-2
29.5ขณะนักเรยี นทำกิจกรรมตามใบงานครจู ะสังเกตการทำงานกลุ่ม
30. ข้ันสรุป
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมและรว่ มกนั อภิปรายสรุปบทเรยี น

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 6/18, คาบที่ 21-24/56)
1. ครูทบทวนเนอื้ หา
2. แบ่งนักเรียนเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน
3. ครใู หน้ ักเรียนดเู นื้อหาหนว่ ยท่ี 4 หวั ข้อท่ี 4.4-4.6
4. ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น ครูตั้งคำถามใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั ตอบ แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายเพ่ือให้ไดข้ อ้ สรุป
5. ครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นท้ังทฤษฎแี ละปฏิบัติข้อ 4-6
6. ข้ันสอน
6.1 ครอู ธิบาย บรรยาย และถามตอบ นักเรยี นศึกษาจากเนือ้ หาในหวั ขอ้ เรือ่ ง 4.4-4.6
6.2 แต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนมากล่มุ ละ 1 คน มาอภิปรายหน้าชนั้ เรยี นเพอ่ื สรปุ
6.3 ครูใหค้ วามรเู้ พ่มิ เติมโดยใชส้ อ่ื PowerPoint
6.4 นกั เรียนทำกจิ กรรมตามใบงานท่ี 3-4
6.5 ขณะนักเรียนทำกิจกรรมตามใบงานครูจะสงั เกตการทำงานกลมุ่
6.6 นักเรียนทำแบบฝึกหดั และแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 4
7. ข้นั สรุป ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมและรว่ มกันอภิปรายสรปุ บทเรยี น
8. ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น