สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

20 Questions  |  By Kopwit | Last updated: Mar 22, 2022 | Total Attempts: 12182

สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ
สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ
Settings

Feedback

During the Quiz End of Quiz

Difficulty

Sequential Easy First Hard First

สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

.


  • 1. 

    ข้อใดกล่าวถึงแนวคิดเชิงคำนวณได้ไม่ถูกต้อง

    • A. 

      เป็นการคิดเหมือนหุ่นยนต์

    • B. 

      เป็นการแก้ปัญหาแบบมีลำดับขั้นตอน

    • C. 

      มีแนวคิดเชิงนามธรรมเป็นหนึ่งในทักษะย่อย

    • D. 

      วิธีการแก้ปัญหาที่มนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจร่วมกันได้

  • 2. 

    การที่มุ่งเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็นสอดคล้องกับแนวคิดใด

    • A. 

      แนวคิดเชิงนามธรรม

    • B. 

      แนวคิดการแยกย่อย

    • C. 

      แนวคิดการจดจำรูปแบบ

    • D. 

      แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

  • 3. 

    การแก้ปัญหาโดยการออกแบบกระบวนการทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอนสอดคล้องกับแนวคิดใด

    • A. 

      แนวคิดเชิงนามธรรม

    • B. 

      แนวคิดการแยกย่อย

    • C. 

      แนวคิดการจดจำรูปแบบ

    • D. 

      แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

  • 4. 

    ข้อใดไม่ใช่ทักษะย่อยของแนวคิดเชิงคำนวณ

    • A. 

      แนวคิดเชิงรูปธรรม

    • B. 

      แนวคิดเชิงนามธรรม

    • C. 

      แนวคิดการจดจำรูปแบบ

    • D. 

      แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

  • 5. 

    ข้อใดสอดคล้องกับแนวคิดการแยกย่อย

    • A. 

      การเข้าใจรูปแบบ

    • B. 

      การแยกแยะปัญหา

    • C. 

      การคัดเลือกวัสดุที่นำมาใช้ทำชิ้นงาน

    • D. 

      การหาแนวคิดรวมยอดของแต่ละปัญหาย่อย

  • 6. 

    ข้อใดไม่สอดคล้องกับขั้นตอนกำหนดปัญหา

    • A. 

      การประชุมทีมงานผู้พัฒนา

    • B. 

      วิเคราะห์ความเป็นไปได้และวางแผน

    • C. 

      จัดทำเอกสารการวางแผนการดำเนินงาน

    • D. 

      ไม่สามารถปรับปรุงแก้ไขแผนการดำเนินงานได้

  • 7. 

    ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับขั้นตอนกับการวิเคราะห์ระบบ

    • A. 

      วิเคราะห์ความเป็นไปได้และวางแผน

    • B. 

      ในขั้นนี้ไม่จำเป็นต้องระบุวิธีการทำงาน

    • C. 

      เป็นขั้นตอนการทำความเข้าใจกับระบบงาน

    • D. 

      มีขั้นตอนย่อย 2 ขั้นตอน คือ สัมภาษณ์ผู้ใช้งาน และวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ

  • 8. 

    หลักการคิดเชิงคำนวณสามารถนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ใดได้บ้าง

    • A. 

      การค้นหาสินค้าในห้างสรรพสินค้า

    • B. 

      การวางแผนเปิดร้านอาหารในงานเทศกาลโรงเรียน

    • C. 

      การคำนวณสถิติการทำประตูของนักกีฬาฟุตบอล

    • D. 

      ถูกทุกข้อ

  • 9. 

    มุ่งเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น

    • A. 

      แนวคิดการแยกย่อย

    • B. 

      แนวคิดการจดจำรูปแบบ

    • C. 

      แนวคิดเชิงนามธรรม

    • D. 

      แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

  • 10. 

    แก้ปัญหาโดยการออกแบบกระบวนการทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน

    • A. 

      แนวคิดการแยกย่อย

    • B. 

      แนวคิดการจดจำรูปแบบ

    • C. 

      แนวคิดเชิงนามธรรม

    • D. 

      แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

  • 11. 

    นักเรียนได้รับประโยชน์จากการใช้งานคอมพิวเตอร์ในด้านใดมากที่สุด

    • A. 

      ด้านการศึกษา ด้านความรู้ ด้านการใช้งาน

    • B. 

      ด้านการเงิน / การธนาคาร

    • C. 

      ด้านความบันเทิง

    • D. 

      ด้านสุขภาพและการออกกำลังกาย

  • 12. 

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    จากภาพ จงหาว่าเส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านเส้นทางใดที่สั้นที่สุด โดยแวะร้านขนมและเลือกเดินเฉพาะถนนที่มีร่มเงา

    • A. 

      โรงเรียน --> บ้าน

    • B. 

      โรงเรียน --> ห้องสมุด --> ร้านขนม --> บ้าน

    • C. 

      โรงเรียน --> ร้านขนม --> ห้องสมุด --> บ้าน

    • D. 

      โรงเรียน --> ห้องสมุด --> บ้าน

  • 13. 

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    จากภาพ เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุด โดยมีเงื่อนไขคือ

    1. แวะร้านขนม
    2. เลือกเดินเฉพาะถนนที่มีร่มเงา
    3. เส้นทางจากร้านขนม ไปยังห้องสมุด มีการก่อสร้าง ทำให้ไม่สามารถเดินได้

    ต้องเดินด้วยระยะทางกี่เมตร

    • A. 

      1600 เมตร

    • B. 

      2600 เมตร

    • C. 

      1500 เมตร

    • D. 

      2500 เมตร

  • 14. 

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    ลากเส้นตรงผ่านจุดทุกจุด โดยใช้จำนวนเส้นที่ลากน้อยที่สุด ข้อมูลใดไม่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา

    • A. 

      จุด

    • B. 

      จำนวนเส้นที่ลาก

    • C. 

      เส้นตาราง

    • D. 

      จำนวนจุด

  • 15. 

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    หากนักเรียนอยู่ที่ห้างอเดล มีชาวต่างชาติสอบถามเส้นทางไป สถานีจอแดน ข้อมูลใดที่จำเป็นในการแก้ปัญหา

    • A. 

      สายรถโดยสารประจำทางและสถานีทั้งหมดที่แต่ละสายวิ่งผ่าน

    • B. 

      ระยะทางระหว่างสถานี

    • C. 

      ตำแหน่งที่ตั้งของสถานี

    • D. 

      ราคาของแต่ละสาย

  • 16. 

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    หากนักเรียนอยู่ที่ห้างอเดล มีชาวต่างชาติสอบถามเส้นทางไป สถานีจอแดน ต้องเดินทางอย่างไร

    • A. 

      •ขึ้นรถโดยสารประจำทาง สาย 1 (สีแดง) จากสถานีห้าง อเดล ไปลงสถานี ศาลาไทย •แล้วต่อรถโดยสารประจำทาง สาย 3 (สีเขียว) ไปลงสถานี จอแดน

    • B. 

      •ขึ้นรถโดยสารประจำทาง สาย 1 (สีแดง) จากสถานีห้าง อเดล ไปลงสถานี ศาลาไทย •แล้วต่อรถโดยสารประจำทาง สาย 2 (สีน้ำเงิน) ไปลงสถานี จอแดน

    • C. 

      •ขึ้นรถโดยสารประจำทาง สาย 1 (สีแดง) จากสถานีห้าง อเดล ไปลงสถานี อารีย์ •แล้วต่อรถโดยสารประจำทาง สาย 3 (สีเขียว) ไปลงสถานี จอแดน

    • D. 

      •ขึ้นรถโดยสารประจำทาง สาย 1 (สีแดง) จากสถานีห้าง อเดล ไปลงสถานี อารีย์ •แล้วต่อรถโดยสารประจำทาง สาย 2 (น้ำเงิน) ไปลงสถานี จอแดน

  • 17. 

    แนวคิดเชิงนามธรรมคืออะไร

    • A. 

      กระบวนการคิดเพื่อแยกข้อดีข้อเสีย

    • B. 

      กระบวนการคิดเพื่อแยกสาระสำคัญออกจากรายละเอียด

    • C. 

      กระบวนการคิดเพื่อแยกสัตว์ออกจากสวนสัตว์

    • D. 

      ถูกทุกข้อ

  • 18. 

    หากเราต้องการจะหาบ้านเพื่อนใน Google maps ข้อมูลใดที่ไม่จำเป็นต่อการหา

    • A. 

      สีของหลังคาบ้าน

    • B. 

      ชื่อถนน

    • C. 

      อำเภอ

    • D. 

      เบอร์โทรศัพท์

  • 19. 

    ชนชาติใดใช้เวลาเข้าอินเทอร์เน็ตต่อวันมากที่สุดในโลก

    • A. 

      ไทย

    • B. 

      อังกฤษ

    • C. 

      อเมริกา

    • D. 

      จีน

  • 20. 

    ข้อใดไม่ใช่ 3 องค์ความรู้ ของวิชาวิทยาการคำนวณ

    • A. 

      การคิดเชิงคำนวณ

    • B. 

      ใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม

    • C. 

      ทางเลือกในการบูรณาการเข้ากับวิชาอื่นได้ด้วย

    • D. 

      เน้นการใช้เทคโนโลยีมือถือ

ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว

Questions: 10  |  Attempts: 3079   |  Last updated: Mar 22, 2022

  • Sample Question

    การเรียกใช้งานโปรแกรม Captivate ข้อใดถูกต้อง

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Start>All Program>Adobe>Captivate

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Start>Adobe>Captivate

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Start>Captivate

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Start>All Program>Captivate

ข้อสอบเอกวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา...

Questions: 22  |  Attempts: 385   |  Last updated: Mar 22, 2022

  • Sample Question

    แรงยึดเหนี่ยวทางเคมีข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Hydrogen bond

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Dipole-dipole interation

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Covelent bond

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Vanderwaal force

Play this Past Simple And Past Continuous Tense to test as well as enhance your English grammar knowledge. This test is for you to understand what past simple and past continuous tenses are. Many people get confused between the...

Questions: 10  |  Attempts: 11045   |  Last updated: Jun 3, 2022

  • Sample Question

    We ...... at the movie last night.

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Was

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Were

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Are

    สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ

    Were being

สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคํานวณ
Back to top

จุดประสงค์ของการใช้แนวคิดเชิงคํานวณคือข้อใด

แนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนวทางหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง การคิดเชิงคำนวณ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลำดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้น รวมทั้ง ...

ข้อใดคือองค์ประกอบหลักสำคัญของระบบการจดจำรูปแบบ

องค์ประกอบหลักสำคัญของระบบการรู้จำแบบ ลักษณะเด่น (features) เป็นข้อมูลที่ป้อนให้ ตัวแยกประเภท เพื่อที่ตัวแยกประเภททำการแยก ข้อมูล หรือ วัตถุ ออกเป็นประเภท ได้ตามที่ผู้ออกแบบได้คาดหมายเอาไว้ ตัวแยกประเภท (classifiers) เป็นผู้ตัดสินใจแยกกลุ่ม ของวัตถุ ตามข้อมูลลักษณะเด่น โดยทั่วไปนิยมแบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน ได้แก่

การแตกปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยมีผลดีอย่างไร

การแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนทำได้ยาก การแบ่งปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อย ๆ ทำให้มีความซับซ้อนของปัญหาลดลง ช่วยให้การวิเคราะห์และพิจารณารายละเอียดขอปัญหาทำได้อย่างถี่ถ้วน ส่งผลให้สามารถออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหาย่อยแต่ละปัญหาได้ง่ายขึ้น

แตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนๆ คือข้อใด

การแตกปัญหาออกเป็นปัญหาย่อย หรือเรียกว่า ฟังก์ชัน โดยฟังก์ชันคือการนาปัญหาใหญ่ มาแบ่ง ออกเป็นส่วนๆ สาหรับส่วนไหนที่จะต้องใช้งานบ่อย ถ้าสร้างขึ้นในรูปแบบฟังก์ชันจะสามารถเรียกใช้งานได้เลย ไม่ต้องสร้างขึ้นใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน ช่วยให้สามารถประหยัดเวลา และเกิดความสะดวกมากยิ่งขึ้น ฟังก์ชัน ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ...