ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

คอมพิวเตอร์ มีอาการเสียงร้องดัง ติ๊ด ติ๊ด ติ๊ด ๆ ๆ ๆ

ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

BIOS Award 
เสียง Beep สั้นๆ 1ครั้ง (Beep) > เครื่องทำงานปกติ
เสียง Beep สั้นๆ 2-3 ครั้ง (Beep Beep) > เครื่องทำงานผิดปกติ แรมหรือแมนบอร์ดอาจมีปัญหา Post ไม่ผ่าน
ไม่มีเสียง (...) > แหล่งจ่ายไฟหรือแมนบอร์ดมีปัญหา
เสียง Beep สั้นๆ หลายครั้งอย่างต่อเนื่อง (Beep Beep Beep Beep Beep) > แหล่งจ่ายไฟหรือเมนบอร์ดมีปัญหา
เสียง Beep ยาวๆ 1 ครั้ง และสั้นๆ 1 ครั้ง (Beep...Beep) > เมนบอร์ดมีปัญหา
เสียง Beep ยาวๆ 1 ครั้ง และสั้นๆ 2 ครั้ง (Beep...Beep Beep) > การ์ดจอเสียบไม่แน่น หรือเสีย
เสียง Beep ยาวๆ หลายครั้งอย่างต่อเนื่อง (Beep...Beep...Beep...Beep...Beep...) > แรมเสียบไม่แน่น หรือหน้าสัมผัสสกปรก

BIOS AMI
จำนวนเสียง 1 ครั้ง > เครื่องทำงานปกติ POST ผ่าน
จำนวนเสียง 2 ครั้ง > หน่วนความจำส่วนแรกสุด (64kb) มีปัญหา ตรวจสอบพาริตี้ไม่ผ่าน
จำนวนเสียง 3 ครั้ง > การทดสอบการอ่าน/เขียนข้อมูลในหน่วยความจำมีปัญหา
จำนวนเสียง 4 ครั้ง > วงจรตั้งเวลาตัวหลักเมนบอร์ดมีปัญหา
จำนวนเสียง 5 ครั้ง > CPU มีปัญหา
จำนวนเสียง 6 ครั้ง > ตัวชิบที่ควบคุมการทำงานของคีย์บอร์ดเสีย
จำนวนเสียง 7 ครั้ง > เกิดปัญหาในการเปลี่ยนโหมดการทำงานของ CPU
จำนวนเสียง 8 ครั้ง > หน่วยความจำบนการ์ดจอมีปัญหา (การ์ดจอเสีย) เสียบไม่แน่น หรือหน้าสัมผัสสกปรก
จำนวนเสียง 9 ครั้ง > BIOS มีปัญหา
จำนวนเสียง 10 ครั้ง > CMOS มีปัณหา ไม่สามารถอ่านเขียน CMOS ได้
จำนวนเสียง 11 ครั้ง > หน่วยความจำแคชมีปัญหา

โดย นายกุลางกูร พัฒนเมธาดา


ร่วมแสดงความคิดเห็น




บทความวิกิฮาวนี้จะแนะนำวิธีการหาสาเหตุแล้วซ่อมแซมคอมพิวเตอร์ Windows ที่ไม่ยอมบูทเครื่อง ส่วนใหญ่ที่คอมเปิดไม่ติดมักเป็นเพราะชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ แต่บางทีก็เป็นเพราะระบบเหมือนกัน

  1. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    1

    บางทีปัญหาที่เกิดจากชิ้นส่วนก็แก้ไม่ได้ในทันที. ถ้าทำยังไงคอมก็ไม่ยอมเปิดขึ้นมา ปกติถ้าเอาไปให้ช่างหรือร้านรับซ่อมช่วยตรวจอาการดู จะชัวร์กว่าพยายามซ่อมเอง[1]

    • โชคดีที่ส่วนใหญ่ปัญหาเรื่องชิ้นส่วนมักเกิดจากขั้วหลวมหรือชิ้นส่วนนั้นไม่ยอมทำงาน ไม่กระทบต่อฮาร์ดไดรฟ์ เลยทำให้ไฟล์ข้อมูลปลอดภัยดี

  2. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    2

    backup ข้อมูลในฮาร์ดไดรฟ์ของคอม. ก่อนจะลงมือซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงอะไรจริงจัง แนะนำให้ backup ไฟล์ซะก่อน โดยถอดฮาร์ดไดรฟ์จากคอม ไปเสียบกับคอมเครื่องอื่นแทน โดยใช้ adapter แปลง IDE เป็น USB (หรือใช้ adapter แปลง SATA เป็น USB แทน ถ้าเป็นฮาร์ดไดรฟ์รุ่นเก่าๆ) แล้วใช้คอมอีกเครื่อง backup ข้อมูลในฮาร์ดไดรฟ์ไว้

  3. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    3

    เช็คสายไฟ. อาจจะฟังดูเหมือนไม่มีอะไร แต่ขอให้เช็คสายไฟซ้ำอีกที ว่าเสียบแน่นแล้ว และปลั๊กนั้นมีไฟเข้า

    • เสียบปลั๊กไฟของคอมที่เต้ารับข้างผนัง จะได้เช็คว่าปลั๊กรางหรือปลั๊กไฟกันกระชากเป็นสาเหตุทำคอมไม่ติดหรือเปล่า
    • ถ้าใช้แล็ปท็อป ก็ต้องเช็คก่อนว่า adapter ที่เสียบไว้แน่นหนาดี

  4. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    4

    ลองเปลี่ยนหน้าจอ. ถ้าคอมเปิดแต่ไม่เห็นภาพอะไร เป็นไปได้ว่าหน้าจอผิดปกติ แบบนี้ให้เช็คว่าเสียบจอแน่นดีแล้ว หรือถ้าเป็นไปได้ให้ลองเปลี่ยนไปใช้จอใหม่

  5. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    5

    ถอดแบตเตอรี่ของแล็ปท็อป แล้วเสียบ adapter แทน. ถ้าเสียบปลั๊กไฟ ก็ใช้งานแล็ปท็อปได้แม้ไม่มีแบตเตอรี่ ถ้าเปิดแล็ปท็อปติดหลังถอดแบต ก็แสดงว่าเป็นที่แบต แนะนำให้ซื้อแบตใหม่จากผู้ผลิตแล็ปท็อป

  6. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    6

    เปิดเคสคอม ถ้าใช้คอมตั้งโต๊ะ. ถ้าอยากเช็คขั้วต่างๆ ข้างใน ว่าแน่นหนาดีไหม และทดสอบ power supply ก็ต้องเปิดเคสออกมาก่อน

    • อย่าลืม ground ตัวเองโดยสวมสายรัดข้อมือป้องกันไฟฟ้าสถิตซะก่อน หรือแตะส่วนที่เป็นโลหะของเคสก่อนไปจับชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ในเคสคอม
    • ถึงจะเช็คปัญหาชิ้นส่วนของแล็ปท็อปได้ แต่ซ่อมเองไม่ได้แน่นอน ที่สำคัญคืออย่าไว้ใจช่างมือสมัครเล่นให้ซ่อมแล็ปท็อปของคุณ แนะนำให้ยกไปให้ร้านหรือช่างที่เขามีความรู้ความเชี่ยวชาญจริงๆ จะดีกว่า

  7. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    7

    เช็คสาย power supply. เช็คว่าสายเสียบ power supply (กล่องที่สายไฟติดอยู่) กับเมนบอร์ดแน่นหนาดี

  8. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    8

    ทดสอบ power supply. ถ้า power supply เก่าก็มักล่มบ่อย แน่นอนว่าควรทดสอบดูให้รู้แน่ชัด power supply นี่แหละที่มักเป็นต้นเหตุเวลาคอมบูทไม่ขึ้น

  9. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    9

    บางทีก็ต้องเปลี่ยน power supply. ถ้า power supply ไม่ยอมทำงานหลังทดสอบ ก็ต้องเปลี่ยนใหม่ คอมถึงจะกลับมาใช้งานได้ตามปกติ

  10. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    10

    เช็คว่ามีสกรูหลวมไหม. ถ้าสกรูเคสคอมหลวม ระวังเมนบอร์ดจะช็อตได้ ให้ลองขยับแผ่นหลังของเคสไปมา ว่ามีเสียงโลหะกลิ้งไปมาไหม ถ้ามี ให้ใช้นิ้วไม่ก็แหนบยาวๆ คีบสกรูออกมาจากเคส

  11. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    11

    เช็คสายต่างๆ. เช็คว่าเปลือกหุ้มสายไฟลอกหรือเปล่า เพราะถ้าเหลือแต่สายไฟเปลือย ไฟจะช็อตได้ ต้องรีบเปลี่ยนสายเก่าหรือชำรุด

  12. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    12

    ถอดแล้วประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ใหม่. ลองถอดแล้วประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ในเคสคอมซะใหม่ เช่น การ์ดจอ, แท่ง RAM และสายอื่นๆ ถ้าอะไรหลวม ก็เป็นสาเหตุทำคอมเปิดไม่ติดได้ทั้งนั้น[2]

    • ให้ลองถอดแล้วประกอบ processor คืนที่ด้วย แต่ขั้นตอนจะซับซ้อนอยู่สักหน่อย ถ้าไม่ชำนาญอาจมีปัญหาหนักกว่าเดิม รวมถึงเสี่ยงทำ processor เสียหาย แบบนั้นทำคอมเจ๊งได้เลย

  13. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    13

    ลองถอดการ์ดจอ. ถ้าใช้การ์ดจอแยก (dedicated graphics card) ให้ลองถอดออก แล้วเสียบหน้าจอที่ช่อง display ของเมนบอร์ด เพราะบางทีการ์ดจอเสียหายแล้วทำให้คอมไม่ยอมบูทได้

    • บางทีก็ต้องติดตั้งการ์ดจอใหม่เลย

  14. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    14

    ถอดทุกอุปกรณ์ที่ไม่จำเป็น. ลองบูทเครื่องโดยเสียบไว้เฉพาะชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ที่จำเป็นจริงๆ หรือก็คือให้ลองถอดการ์ดจอ ไดรฟ์อื่นๆ ที่เสียบต่อไว้ PCI expansion card และ RAM เพิ่มเติม พอถอดออกทุกอย่างแล้ว ให้ลองเปิดคอมดู

    • ถ้าคอมทำงานตามปกติหลังเหลือแต่อุปกรณ์ที่จำเป็น ให้ค่อยๆ ประกอบชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์กลับมาทีละชิ้น จะได้หาเจอว่าคอมผิดปกติเพราะชิ้นส่วนไหน

  15. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    15

    ปล่อยเป็นหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญ. ถ้าเหลือแต่อุปกรณ์หลักที่จำเป็นแล้วคอมยังเปิดไม่ติด ให้ลองเปลี่ยนอุปกรณ์สำคัญนั้นซะใหม่ เอาไปให้ช่างซ่อม หรืออัพเกรดคอมซะเลย

    โฆษณา

  1. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    1

  2. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    2

    กด Shift ค้างไว้ตอนคอมบูทเครื่อง. เพื่อเปิดเมนูตัวเลือกขั้นสูง (advanced options)

    • เมนู advanced options จะเป็นจอน้ำเงิน มีข้อความสีขาวพร้อมตัวเลือกต่างๆ ถ้าเมนูนี้ไม่เปิดขึ้นมา ให้ลองรีสตาร์ทตอนกด Shift ค้างไว้

  3. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    3

    คลิก Troubleshoot. ปกติตัวเลือกนี้จะอยู่ในหน้าจอ "Choose an option"

  4. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    4

    คลิก Advanced options. ทางด้านบนของหน้าจอ

  5. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    5

    คลิก Start-up Repair. ทางซ้ายของหน้าจอ

  6. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    6

    เลือกชื่อบัญชี. คลิกชื่อบัญชีตัวเอง กลางหน้าจอ

  7. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    7

    ใส่รหัสผ่าน. พิมพ์รหัสผ่านที่ใช้ล็อกอินเข้าคอม แล้วคลิก Continue

    • ถ้าไม่ได้ตั้งรหัสผ่านไว้ ให้คลิก Continue

  8. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    8

    ให้ Windows สแกนคอม. อาจจะต้องรอหลายนาทีหน่อย

  9. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    9

    ทำตามขั้นตอนที่ปรากฏในหน้าจอ. แล้วแต่ว่าปัญหาของคอมคืออะไร จะมีให้ทำตามขั้นตอนเพื่อแก้ไข แต่ปกติคอมจะสแกนและแก้ไขปัญหาเอง

  10. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    10

    รีเซ็ตคอม. ถ้าใช้ Start-Up Repair แล้วยังมีปัญหา ให้ลง Windows ใหม่ น่าจะช่วยได้ แต่อย่าลืม backup ไฟล์ต่างๆ ที่สำคัญไว้ แล้วทำตามขั้นตอนต่อไปนี้[3]

    • เปิดเมนู "Choose an option" อีกรอบ โดยรีสตาร์ทตอนกด Shift ค้างไว้
    • คลิก Troubleshoot
    • คลิก Reset this PC
    • คลิก Keep my files
      • ถ้าใช้ตัวเลือกนี้แล้วไม่ได้ผล ให้รีเซ็ตคอมอีกรอบโดยใช้ตัวเลือก Remove everything แทน
    • ยืนยันตัวเลือก แล้วทำตามขั้นตอนในหน้าจอ

  11. ถ้านักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วมีไฟเข้าเครื่อง

    11

    ลง Windows ใหม่ด้วยไฟล์ที่ดาวน์โหลดมาหรือแผ่นติดตั้ง. ถ้าตัวเลือก repair ที่ว่ามาไม่ได้ผล ก็เหลือทางเดียวคือต้องลง Windows ใหม่เลย โดยใช้ไดรฟ์ USB หรือแผ่นติดตั้ง ที่ใช้ลง Windows แต่แรก แต่คอมก็จะถูกฟอร์แมตใหม่ ข้อมูลทุกอย่างในฮาร์ดไดรฟ์จะถูกลบหายไป เพราะงั้นแนะนำให้เก็บไว้เป็นตัวเลือกสุดท้ายเท่านั้น[4]

    • อ่านวิธีการติดตั้ง Windows 10
    • อ่านวิธีการติดตั้ง Windows 7
    • สำหรับ Windows 8 ให้ลองหาอ่านวิธีการติดตั้งในเน็ตเพิ่มเติม

    โฆษณา

เคล็ดลับ

  • ถ้าไม่เคยซ่อมคอมหรือเครื่องใช้ไฟฟ้ามาก่อน แนะนำให้ยกเครื่องไปให้ช่างที่เขาเชี่ยวชาญดูให้จะดีกว่า เพราะไฟช็อตขึ้นมาจะอันตรายต่อทั้งชิ้นส่วนภายในและตัวคุณเอง
  • ปัญหาคอมบูทไม่ขึ้น เป็นได้ตั้งแต่เรื่องฝุ่นสะสม ไปจนถึงไฟล์ระบบเสียหาย เพราะงั้นถ้าไม่เชี่ยวชาญจริงๆ บางทีก็ระบุสาเหตุตรงจุดได้ยาก

โฆษณา

คำเตือน

  • ให้สวมสายรัดข้อมือป้องกันไฟฟ้าสถิต หรือ ground ตัวเองก่อน โดยแตะเคสส่วนที่เป็นโลหะตอนเสียบคอมไว้
  • ต้องปิดเครื่องและถอดปลั๊กไฟออกเสมอ ก่อนแตะต้องชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ในเคสคอม

โฆษณา

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 104,609 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม