การ จดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้องมี ราย ได้ เท่าไร

โดยเฉพาะฟรีแลนซ์พอเสร็จปุปรับเงิน ผู้จ้างก็จะให้ ทำการหัก ณ ที่จ่าย เพื่อนำส่งให้สรรพากร หรือหากคุณทราบดีว่าตัวเองนั้นมี “รายได้เกิน 1.8 ล้าน คิดอยากที่จะยื่นภาษีแต่ปรากฏโดนภาษีย้อนหลัง นั้นเพราะเอกสารในการ หัก ณ ที่จ่ายผู้จ้างงานได้มีการนำส่งเงินภาษีปกติ แต่ด้วยข้อมูลในนั้นมีข้อมูลของคุณบันทึกไว้ เมื่อสรรพากรตรวจสอบก็จะเจอ  แต่ในครั้งนี้ถือเป็นโชคดีของคุณมีการตรวจสอบแล้วว่า รายได้เกิน 1.8 ล้าน นั้นสามารถประเมินภาษีส่วนที่ต้องจ่ายเพิ่ม คือ ภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT นั่นเอง เนื่องจากตามที่กฎหมายมีการกำหนดนั้นว่าภายใน 30 วันคุณต้องยื่นจดภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยต้องนับตั้งแต่วันที่รายได้เกิน (มาตรา 85 ในประมวลรัษฎากร) แต่สำหรับในกรณีที่คุณจะไม่ได้จ่ายก็คือไม่มีการคิด VAT ภาระทางภาษีจะเป็นของผู้จ้างงานทันที

จากข้อมูลดังกล่าวที่เราได้นำเสนอไปนั้นสามารถยกตัวอย่างได้คือ เช่น ใน 1 ปี คุณมีรายได้มากถึง 2 ล้านบาท แต่ยังไม่ได้ทำการยื่นภาษีแต่อย่างใด แน่นอนคุณต้องถูกเรียกภาษีย้อนหลัง คุณอาจจะคิดว่าจะถูกเรียกจากยอดเงิน 2 ล้านบาทความจริงนั้นไม่ใช่ทางสรรพากรจะคำนวณจาก รายได้เกิน 1.8 ล้าน คิดออกมาได้เป็นจำนวนเงิน 200,000 บาท ยอดที่ต้องชำระอยู่ที่ 14,000 บาท (อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%) นอกจากหากมีรายได้หลังจากนั้นแล้วไม่ทำการจดจะถูกคำนวณ VAT ไม่ว่าจำนวนเงินนั้นเท่าไหร่ ไม่เพียงเท่านี้ยังต้องถูกปรับอีกหากล่าช้าในจำนวนเงินที่สูงขึ้นไปอีก

สารบัญ

Add a header to begin generating the table of contents

หากยังไม่จดภาษีจะต้องทำบัญชีตลอดเพื่อดู รายได้เกิน 1.8 ล้าน หรือยัง

เชื่อว่าคนส่วนใหญ่จะยังไม่จดภาษีอาจจะเนื่องด้วยไม่แน่ใจว่าตัวเองจะมี รายได้เกิน 1.8 ล้าน หรือไม่ แต่ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใดหากคุณยังไม่ทำการยื่น VAT จำเป็นต้องคอยจดหรือทำบัญชีตลอดว่ารายได้ของตัวเองหรือร้านค้านั้นถึงเกณฑ์รายได้เกิน 1.8 ล้านตามที่กฎหมายกำหนดหรือยัง ฉะนั้นอย่าได้ละเลยการทำบัญชีรายรับรายจ่าย อนาคตจะเกิดปัญหาหากปล่อยไว้เช่นนี้เรื่อย ๆ อย่างเคสที่เรานำมาเสนอในข้างต้น 

โดนภาษีย้อนหลังแน่หากยังไม่ไปจดทะเบียน VAT

ไม่ว่าคุณจะประกอบธุรกิจหรืออาชีพใด แม้กระทั่งฟรีแลนซ์อย่าได้ชะล่าใจในเรื่องการจดทะเบียนVAT เพราะการทำให้ถูกต้องอย่างการเสียภาษีตามที่กฎหมายกำหนดมาถือเป็นเรื่องที่ประชาชนพึงกระทำ หากไม่อยากเกิดความวุ่นวายตาม จะต้องรีบไปจดภาษีให้เรียบร้อยการที่คุณอ้างว่าธุรกิจพึ่งเริ่มไม่สามารถกล่าวอ้างได้และเชื่อว่าคุณคงทราบแล้วว่าภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT มีความสำคัญมากในการดำเนินธุรกิจไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ โดย รายได้เกิน 1.8 ล้าน เป็นจำนวนที่กฎหมายกำหนดมาแล้วไม่อาจขัดได้ ระยะเวลาที่เหมาะสมคือภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันที่รายได้เกิน 

อย่างไรก็ตามหากกิจการหรือบุคคลใดมี รายได้เกิน 1.8 ล้าน ไม่เกินนี้จะได้รับการยกเว้นคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม หากในปีต่อ ๆ ไปรายได้เกินนี้โดยนับเป็นปีต่อปีเท่านั้น จะต้องทำการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสินค้า การทำธุรกิจหรือประกอบอาชีพและอื่น ๆ คุณอาจจะไม่เชื่อว่าเริ่มคำนวณตั้งแต่บาทแรก โดยเราจะยกตัวอย่างว่ารูปแบบใดบ้างที่มีผลทางกฎหมายกรณีที่ไม่จดทะเบียน VAT ดังนี้

1.คุณต้องเป็นคนดำเนินการชำระภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยตัวเอง ในกรณีผู้ที่เปิดกิจการไม่สามารถเรียกเก็บได้จากลูกค้าได้ หากคุณไม่ได้ทำการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไม่สามารถออกใบกำกับภาษีได้

 2.หากไม่ได้มีการจดทะเบียนเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ช่วงระยะเวลาที่ไม่ได้จดต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นจำนวนเงิน 1 พันบาท ต่อเดือนและต้องเสียเพิ่มอีก 1.5  ต่อเดือน 

3.ในกรณีที่ไม่ใช้ภาษีซื้อไม่สามารถนำมาหักออกเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มได้ อย่างกรณีที่ผู้ประกอบอยากจะนำภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกผู้ประกอบการอื่นที่ทำการจดทะเบียนแล้วมาหักภาษีให้ตัวเอง ไม่สามารถทำได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม

รวมเหตุผลที่ต้องระวังก่อนโดนภาษีย้อนหลัง

การตัดสินใจทำธุรกิจใด ๆ ก็ตามจำเป็นต้องมีความรับผิดชอบทั้งพนักงานหลายสิบชีวิต ทั้งทางกฎหมาย แม้ว่ารายได้ปีนี้ของคุณจะเกิน รายได้เกิน 1.8 ล้าน มานิดหนึ่งก็ควรที่ดำเนินการยื่นจดภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่หากคุณยังดึงดันที่จะจ่ายปิดบังหรือหลบเลี่ยง หากมีการตรวจสอบแล้วพบว่าคุณรายได้เกิน 1.8 ล้านนั้นได้กระทำผิดจริงจากที่จะได้เสียแค่นิดเดียวอาจจะถูกเรียกคืนมากขึ้นหลายเท่า ในกรณีที่ร้ายแรงกว่านั้นก็คือคุณอาจจะถึงขั้นล้มละลายมีเคสเช่นนี้อยู่จริง ฉะนั้นคุณรายได้เกิน 1.8 ล้าน ควรทำให้ถูกต้องเพื่อว่ากิจการของคุณจะได้ดำเนินไปอย่างราบรื่น โปร่งใส และยาวนานไปตลอดจนธุรกิจประสบความสำเร็จ ฉะนั้นหากใครที่กำลังจะเริ่มกิจการหรืออาชีพใหม่รายได้เกิน 1.8 ล้าน ลองศึกษากันว่ามีเรื่องอะไรบ้างที่ต้องระวัง

1.สรรพากรตรวจเจอจับจริง หากตอนนี้กิจการของคุณกำลังดำเนินไปได้ดีมียอดขายทะลุมากกว่า รายได้เกิน 1.8 ล้าน แต่คุณไม่ไปดำเนินการยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่มต่อกรมสรรพากร จะโดนตรวจสอบแน่นอนโดยเฉพาะการขายสินค้าออนไลน์อย่าพึ่งคิดตัวเองจะรอด จริงอยู่ว่าที่ผ่านมากรมสรรพากรยังไม่ได้มีการตรวจสอบอย่างเข้มงวดเท่าตอนนี้ จึงทำให้ผู้ประกอบการหลายคนไม่ได้เสียภาษีหรือรายได้เกิน 1.8 ล้าน เนื่องด้วยตอนนั้นยังไม่มีการจริงจังมากเท่าที่ควร ฉะนั้นในเวลานี้ผู้ใดที่กำลังประกอบธุรกิจออนไลน์จงเตรียมพร้อมรับมือกับภาษีที่ต้องจ่ายและไปยื่นให้ถูกต้อง 

2.หากปิดบังยืดเยื้อจะได้เสียมากกว่าเดิม ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้ประกอบการหรือไม่ เชื่อว่าต้องทราบเกี่ยวกับภาษีย้อนหลังแน่นอน มีบทลงโทษที่จริงจัง ชัดเจนหากมีการตรวจพบว่าคุณปิดบัง หลีกเลี่ยงจากที่จะได้จ่ายตามที่กฎหมายกำหนดกลับต้องได้จ่ายเพิ่มมากขึ้น เพราะมีการกำหนดมาแล้วว่าหาก รายได้เกิน 1.8 ล้าน เกินกว่านี้จะต้องทำการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อ หากพบว่าไม่ปฏิบัติตามจะต้องถูกเรียกค่าเบี้ยปรับและเงินเพิ่มสมทบเข้าไปอีก 

3.ทำให้ถูกตั้งแต่เริ่มแรกดีที่สุด เชื่อว่าเริ่มแรกอาจจะยุ่งยากสักหน่อยเพราะไหนจะต้องเตรียมเอกสาร ทำบัญชีรายรับรายจ่าย เป็นแค่ช่วงนี้เท่านั้นหากคุณวางแผนการเงินดีมาแต่ต้นก็ไม่ต้องกังวลอะไร รวมไปถึงการยื่นขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในกรณีที่คุณมี รายได้เกิน 1.8 ล้าน บาทต่อปี

 4.เรื่องภาษีไม่ใช่เรื่องยาก ไม่ว่าคุณจะทำธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลล้วนต้องศึกษาเกี่ยวกับงานบัญชี สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้อย่างเช่น เมื่อจดทะเบียนเป็นบุคคลรายได้นั้นจะเข้าบุคคลและภาษีที่จะต้องเสียได้ส่วนบุคคล ซึ่งในการคำนวณภาษีจากเดิมในส่วนของรายได้สามารถนำมาหักค่าใช้จ่ายได้ถึง 80% แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นไปหักสูงสุดได้แค่ 60% แต่เราไม่แนะนำให้จดทะเบียนธุรกิจรูปแบบนี้ 

บทสรุป

หากตอนนี้ธุรกิจของใครที่ยังไม่ได้เข้าระบบอย่างถูกต้องตามกฎหมายให้รีบดำเนินการ อย่าได้ละเลยและคิดไปเองว่าพึ่งเริ่มธุรกิจยังไม่ทราบว่าผลประกอบการจะได้กำไรที่เท่าไหร่ ตอนนี้อาจจะยังไม่มีการตรวจสอบหรือยังไม่เจอข้อมูลก็อย่าพึ่งได้ชะล่าใจจนไม่ให้ความสำคัญในเรื่องภาษี หากคุณไม่อยากเกิดความยุ่งยากตามมาให้เริ่มทำให้ถูกต้อง ณ ตอนนี้เลย แม้ธุรกิจของคุณในเวลานี้ไม่ใหญ่สำหรับกฎหมายแล้วหากมีการเปิดหน้าร้านก็ถือว่าธุรกิจนั้นต้องมีรายได้ หากมากกว่า รายได้เกิน 1.8 ล้าน ต่อปีถือว่าต้องทำการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แม้ว่าคุณจะพยายามหลีกเลี่ยงเท่าไหร่ก็ไม่อาจหนีพ้นจากการตรวจสอบที่เข้มงวดขึ้น จนคุณเองไม่เป็นอันดำเนินกิจการไปได้มันคงไม่ดีแน่หากว่าต้องทำธุรกิจไปอย่างหวาดระแวง จู่ ๆ โดนภาษีย้อนหลังแบบไม่ทันตั้งตัวหากธุรกิจยังคงมีผลกำไรมีความสามารถในการจ่ายภาษีได้ก็ดีไป แต่หากว่าในเวลานั้นธุรกิจกำลังอยู่ในช่วงเกิดปัญหาไม่แน่ว่าแค่เรื่องภาษีอาจทำให้กิจการปิดตัวลงเพียงเพราะไม่มีเงินจ่ายภาษีย้อนหลัง ซึ่งในปัจจุบันเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง

กิจการมีรายรับจากการขายสินค้า จำนวนเท่าใด จะต้องเข้าระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม

ผู้ประกอบการมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท/ปี มีหน้าที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) หากมีรายได้ไม่เกินไม่มีหน้าที่ต้องจด แต่หากต้องการจดก็สามารถจดได้เหมือนกัน ยกเว้นกรณีขายสินค้าหรือบริการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากรไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

เมื่อผู้ประกอบการมีรายได้จากการขายสินค้าเกิน 1.8 ล้านบาท ผู้ประกอบการจะต้องทำอย่างไรบ้าง

กรณีที่บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลที่ขายสินค้าหรือ ให้บริการในราชอาณาจักร มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี ให้ยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เกิน 1.8 ล้านบาท โดยสามารถขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ทางเว็บไซต์กรมสรรพากร ดังนี้ เข้าเว็บไซต์ www.rd.go.th เลือก “บริการอิเล็กทรอนิกส์” การค้านวณภาษี

รายได้กี่บาทถึงจดทะเบียน บริษัท

เนื่องจากกฎหมายมีการกำหนดให้ผู้มีรายได้จากการขายหรือให้บริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ยื่นแบบ ภ.พ.01) ภายใน 30 วัน นับจากวันที่มี รายได้เกิน 1.8 ล้าน ซึ่งถ้าหากใครรู้ตัวเร็วรีบยื่นจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ก่อนหมดเวลากำหนด ก็หายห่วงเรื่องการถูกปรับภาษีย้อนหลัง และหลังจากวันที่ยื่นขอ ...

มีรายได้เท่าไรไม่ต้องเสียภาษี

ก่อนอื่นที่ต้องรู้เลย ก็คือ ตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ใช้ในการคำนวณภาษีกำหนดว่า บุคคลที่มีเงินได้สุทธิไม่เกิน 150,000 บาท ต้องยื่นภาษี แต่ไม่ต้องเสียภาษี นั่นหมายความว่า บุคคลที่มีเงินได้สุทธิตั้งแต่ 150,001 บาทขึ้นไปนั้นต้องเสียภาษี พี่ทุยจะมาอธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ