การจัดทําแผนปฏิบัติการ มีกี่ขั้นตอน

แผนภูมิแกนต์ คือ แผนภูมิที่มีการระบุหัวข้อกิจกรรม หรือการดําเนินงานต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหนึ่งช่วงเวลาของการวางแผนงาน ซึ่งจะมีการแสดงระยะเวลาของแต่ละกิจกรรมให้อยู่ในรูปของเส้นแถบ (Bar) แนวนอน

Gantt Chart ใช้ทำอะไร ?

เมื่อไรจึงจะใช้แผนภูมิแกนต์
1. เมื่อต้องการวางแผนกิจกรรมการทํางานที่มีระยะเวลาในการปฏิบัตินาน และคาดว่าจะมีความซับซ้อน
2. เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของกิจกรรม
3. เมื่อต้องการติดตามความก้าวหน้าของการดําเนินงานเทียบกับเวลาที่ได้วางแผนเอาไว้
4. เมื่อต้องการดูว่าในการดําเนินโครงการมีกิจกรรมอะไรบ้างที่จะต้องทําในช่วงเวลาเดียวกัน
5.เมื่อต้องการจัดลําดับขั้นตอนการทํางาน

ก่อนที่จะลงมือสร้างแผนภูมิแกนต์ควรมีการแยกย่อยงานในโครงการเพื่อได้ข้อมูลที่จําเป็นต่อการ
นําไปสร้าง โดยมีลําดับขั้นตอน ดังนี้

  1. แยกย่อยแผนงานของโครงการออกเป็นกิจกรรมหรืองานย่อย ๆ เพื่อให้เหมาะต่อการจัดการในเรื่อง
    ของเวลา งบประมาณ และความสามารถในการทําให้เสร็จทันเวลาที่กําหนดไว้
  2. พิจารณาว่าใครควรเป็นผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมหรืองานของโครงการ
  3. เมื่อได้ผู้ที่รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมแล้ว ให้ตกลงกันถึงเนื้องาน ระยะเวลา (อาจกําหนดวันส่งงาน)
    และงบประมาณ
  4. จากนั้นให้พิจารณาดูภาพรวมทั้งหมดอีกครั้งว่าสิ่งที่ตกลงกันไว้นั้นยังคงอยู่ในกรอบที่ได้ถูกกําหนดมา
    ตั้งแต่ตอนแรกหรือไม่

ตัวอย่าง Gantt Chart

ตัวอย่างกิจกรรมและระยะเวลาในการสร้างอุปกรณ์แจ้งเตือนการลืมปิดไฟ

การจัดทําแผนปฏิบัติการ มีกี่ขั้นตอน

เมื่อได้ข้อมูลจากการวิเคราะห์โครงการข้างต้น จึงลงมือสร้างแผนภูมิแกนต์

วิธีการสร้างแผนภูมิแกนต์

  1. สร้างตารางที่แถว (Row) ด้านบนสุดของตารางแบ่งเป็นช่องของเวลา อาจใช้เป็นชั่วโมง วัน เดือนหรือ
    ปี ขึ้นอยู่กับวางแผนกิจกรรมว่าจะมีรายละเอียดเพียงใด กําหนดระยะห่างของเวลาตามเวลาในการ
    ดําเนินงาน
  2. ในสดมภ์ (Column) ด้านซ้ายสุดของตารางให้บันทึกกิจกรรมหรืองานตามลําดับขั้นตอนก่อนหลังใน
    การปฎิบัติในช่วงระยะเวลาของโครงการ
  3. ในสดมภ์ด้านขวาสุดของตารางอาจใส่ชื่อผู้รับผิดชอบของแต่ละกิจกรรมที่ตกลงกันไว้
  4. เมื่อได้กิจกรรมและระยะเวลาแล้ว จึงระบุระยะเวลาในการวางแผน (Plan) โดยเริ่มจากกิจกรรมหรือ
    งานแรกก่อน ให้กําหนดวันเริ่มงานและระบุระยะเวลาในการปฏิบัติงานด้วยการวาดรูปสี่เหลี่ยมหรือ
    ลากเส้นแนวนอนลงในช่องถัดจากงานที่เริ่มทําวันแรก แล้วขยายสี่เหลี่ยมหรือเส้นออกไปทางขวามือ
    ตามระยะเวลาปฏิบัติงานนั้น ๆ
  5. ในกรณีที่กิจกรรมหรืองานต่อไปจะเริ่มได้เมื่อกิจกรรมแรกสิ้นสุดก่อนนั้น ให้วาดสี่เหลี่ยมหรือลากเส้น
    แนวนอนของกิจกรรมที่สองต่อจากจุดสิ้นสุดของกิจกรรมแรก และอาจวาดลูกศรเชื่อมระหว่าง
    จุดสิ้นสุดของกิจกรรมแรกกับจุดเริ่มต้นของกิจกรรมที่สองด้วย
  6. ในการติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีการดําเนินการจริงอาจให้วาดเส้นหนาทึบลงกลาง
    ช่องสี่เหลี่ยมเพื่อแสดงว่างานได้ดําเนินไปถึงขั้นไหนแล้วหรือลากเส้นแนวนอนที่มีลักษณะแตกต่างจาก
    เส้นที่ใช้วางแผน เช่น ใช้เส้นประหรือสีที่แตกต่าง
  7. อาจใช้การลากเส้นประในแนวตั้งเพื่อแสดงวันหรือเวลาที่งานกําลังดําเนินอยู่ในปัจจุบัน หรือการทํา
    เครื่องหมายเน้นให้เห็นงานที่ควรจะเสร็จก่อนหน้านี้ แต่ยังทําไม่เสร็จ
  8. ในการทําแผนภูมิแกนต์ อาจทําในลักษณะย้อนหลัง โดยเริ่มจากกําหนดเวลาที่ต้องเสร็จสิ้นโครงการ
    ว่ามีเวลาอยู่เท่าใด จึงนําเวลาย้อนกลับมาเพื่อดูความเป็นไปได้ในการทําโครงงานนี้ที่ใช้วางแผนในการ
    ดําเนินการในแต่ละกิจกรรม

ตัวอย่างแผนภูมิแกนต์การปฏิบัติงานสร้างอุปกรณ์แจ้งเตือนการลืมปิดไฟ

การจัดทําแผนปฏิบัติการ มีกี่ขั้นตอน

การจัดทําแผนปฏิบัติการ มีกี่ขั้นตอน
gantt chart

คำค้น : คือ ตัวอย่าง template excel templates template คือ อะไร template excel excel template โครงการ คืออะไร excel template ตัวอย่าง วิธี ทํา online excel ฟรี online example google sheets example แบบฟอร์ม google sheet examples excel examples of a project management project management with project management free for project management ตาราง free แผนภูมิ ตัวอย่าง งาน วิจัย free online google sheets template online free template google sheets online free free online free online ตัวอย่าง ธุรกิจ online free google sheet google sheets template powerpoint google sheet template การ ทํา excel template free

 

ที่มา:

http://designtechnology.ipst.ac.th/wp-content/uploads/sites/83/2019/01/%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87-gantt-chart.pdf

การทำข้อสอบผิดในขั้นตอนการเตรียมตัวสอบก็เพื่อให้เรากลับไปทบทวนในบท หรือเนื้อหาที่เรายังอ่านไม่ครอบคลุม

การจัดทําแผนปฏิบัติการ มีกี่ขั้นตอน

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี

คู่มือเตรียมสอบเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน 2566 เนื้อหาพร้อมแนวข้อสอบ 374 ข้อ ราคา 480.- จัดส่งฟรี

สั่งซื้อ
แจ้งโอน
แอด
ทัก

  • 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษา และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 ใครเป็นผู้รักษาการ

    • นายกรัฐมนตรี
    • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
    • ปลัดกระทรวงมหาดไทย
    • อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
  • 2. นิยามคำว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงินฯ พ.ศ. 2547 ไม่รวมถึง

    • กทม
    • อบต.
    • อบจ.
    • เทศบาล
  • 3. นิยามคำว่า ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงินฯ พ.ศ. 2547 หมายถึงใคร

    • นายก
    • รองนายก
    • ปลัด
    • เจ้าหน้าที่วิเคราะห์
  • 4. ข้อใดถือว่าเป็นตู้นิรภัย

    • กำปั่น
    • ตู้เหล็ก
    • หีบเหล็ก
    • ถูกทุกข้อ
  • 5. อนุมัติฎีกา หมายความว่า

    • อนุมัติให้จ่ายเงินจากองค์กรปกครองส่วนท้อง
    • อนุญาตให้จ่ายเงินจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
    • ฎีกาให้จ่ายเงินจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
    • แจ้งให้จ่ายเงินจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  • 6. แผนพัฒนา หมายถึง แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพัฒนากี่ปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    • 3 ปี
    • 4 ปี
    • 5 ปี
    • 6 ปี
  • 7. แผนการใช้จ่ายเงินเป็นแผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานผู้เบิกในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหน่วยงานผู้เบิกได้ยื่นต่อหน่วยงานคลัง ทุกระยะตามข้อใด

    • 1 เดือน
    • 3 เดือน
    • 6 เดือน
    • 1 ปี
  • 8. ทุนสํารองเงินสะสม ต้องเป็นยอดเงินสะสมจํานวนร้อยละเท่าใดของยอดเงินสะสมประจําปีทุกสิ้นปีงบประมาณ

    • ร้อยละ 10
    • ร้อยละ 20
    • ร้อยละ 25
    • ร้อยละ 40
  • 9. เงินที่เหลือจ่ายจากเงินรายรับตามงบประมาณรายจ่ายประจําปีและหรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม เรียกว่า

    • เงินคงเหลือ
    • เงินสะสม
    • เงินงบประมาณ
    • หนี้
  • 10. ใบเสร็จรับเงินทุกฉบับให้มีสําเนาเย็บติดไว้กับเล่มอย่างน้อยกี่ฉบับ

    • 1 ฉบับ
    • 2 ฉบับ
    • 3 ฉบับ
    • 4 ฉบับ
  • 11. เมื่อสิ้นปีให้หัวหน้าหน่วยงานที่รับใบเสร็จรับเงินไปดําเนินการจัดเก็บเงินแจ้งให้หัวหน้าหน่วยงานคลังทราบว่า อย่างช้าไม่เกินวันที่

    • 30 พฤศจิกายน
    • 31 ธันวาคม
    • 31 มกราคมของปีถัดไป
    • 31 ตุลาคมของปีถัดไป
  • 12. ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการเก็บรักษาเงินไว้ ณ สํานักงานอย่างน้อยกี่คน

    • 2 คน
    • 3 คน
    • 5 คน
    • 7 คน
  • 13. เงินรายรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เก็บรักษาไว้ให้นําฝากธนาคารทั้งจํานวน ภายในใด

    • ภายในวันนั้น
    • ภายในวันพรุ่งนี้
    • ภายใน 3 วัน
    • ภายใน 7 วัน
  • 14. ก่อนการเบิกจ่ายเงินตามงบประมาณรายจ่ายประจําปีหรืองบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติม ให้หน่วยงานผู้เบิกยื่นแผนการใช้จ่ายเงินต่อหน่วยงานคลังทุกห้วงเวลาตามข้อใด

    • 1 เดือน
    • 3 เดือน
    • 6 เดือน
    • 1 ปี
  • 15. หน่วยงานใดกำหนดแบบการจัดทําแผนการใช้จ่ายเงิน

    • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
    • กระทรวงมหาดไทย (สำนักงานปลัด)
    • สำนักนายกรัฐมนตรี
    • หน่วยงานกำกหนดเอง
  • 16. เงินที่เบิกถ้าไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมดให้หน่วยงานผู้เบิกนําส่งคืนหน่วยงานคลังภายในกี่วัน นับจากวันที่ได้รับเงินจากหน่วยงานคลัง

    • 3 วัน
    • 10 วัน
    • 15 วัน
    • 30 วัน
  • 17. เงินประเภทใดซึ่งโดยลักษณะจะต้องจ่ายประจําเดือนในวันสิ้นเดือน ให้วางฎีกาภายในวันที่เท่าใดของเดือนนั้น

    • วันที่ 15
    • วันที่ 20
    • วันที่ 23
    • วันที่ 25
  • 18. การซื้อ เช่าทรัพย์สิน หรือจ้างทําของ ให้หน่วยงานผู้เบิกรีบดําเนินการวางฎีกาเบิกเงินโดยเร็วอย่างช้าไม่เกินกี่วัน

    • 3 วัน
    • 5 วัน
    • 7 วัน
    • 15 วัน
  • 19. ถ้าเห็นว่าการเบิกเงินไปชําระหนี้ผูกพันไม่ทันสิ้นปีให้ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติให้กันไว้เบิกในปีถัดไปได้อีกไม่เกินระยะเวลากี่ปี

    • 1 ปี
    • 2 ปี
    • 3 ปี
    • 4 ปี
  • 20. ให้วางฎีกากันเงินตามแบบที่กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนดก่อนวันสิ้นปีอย่างน้อยกี่วัน (อนุมัติให้กันไว้เบิกในปีถัดไป)

    • 15 วัน
    • 30 วัน
    • 45 วัน
    • 60 วัน
  • 21. ใครเป็นผู้ตรวจฎีกา

    • ปลัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
    • หัวหน้าหน่วยงานคลังหรือเจ้าหน้าที่การเงิน
    • หัวหน้าหน่วยงานคลัง
    • เจ้าหน้าที่การเงิน

Submit

การจัดทําแผนปฏิบัติการ มีกี่ขั้นตอน

BoxSet พิชิตข้อสอบท้องถิ่น 66

BoxSet พิชิตข้อสอบท้องถิ่น 66 วิดีโอติวภาค ก. กฎหมาย 11 ฉบับ จำนวน 29 ชั่วโมง พร้อมคู่มือเตรียมสอบภาค ก. วิชาความสามารถในการศึกษาวิเคราะห์และสรุปเหตุผล วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และเจาะข้อสอบกฎหมายภาค ก. ท้องถิ่น 1,000 ข้อ ราคา 1,990.- จัดส่งฟรี

การจัดทำแผนปฏิบัติการคืออะไร

แผนปฏิบัติการคือ เครื่องค้ำประกันว่าเป้าหมายในการทำงานในแต่ละปีมีโอกาสบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ พูดง่ายๆคือเป็นสิ่งยืนยันว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้นั้นมีความเป็นไปได้ เพราะมีแผนงานรองรับที่ชัดเจน และถ้าแผนปฏิบัติการดำเนินการได้สำเร็จก็จะส่งผลต่อความสำเร็จของเป้าหมายที่กำหนดไว้เช่นกัน แผนปฏิบัติการคือผลของการแปลงความคิดใน ...

วัตถุประสงค์ในการทำแผนปฏิบัติการมีอะไร

วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 1. เพื่อปรับทิศทางการพัฒนาหน่วยงาน และกำหนดแผนปฏิบัติราชการรายปีให้สามารถรองรับกับความต้องการความหวังของผู้รับบริหารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งปัจจุบันและอนาคต และความท้าทายต่างๆ ของการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและความท้าทายของโลก

แอกชั่นแพลนคือแผนกี่ปี

การกาหนดทิศทางการด าเนินงานขององค์กร ระยะ 5-10 ปีข้างหน้า โดยการ วิเคราะห์ทั้งปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกองค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวได้ กับการแข่งขัน และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จากนั้นจึงก าหนดกลยุทธ์ เพื่อกาหนดวิธีการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดขององค์กร

Action Plan มีอะไรบ้าง

หลักการเขียน Action Plan ที่ผมนิยมใช้ คือ วงล้อของเดมิ่ง หรือ Deming Circleซึ่งเป็นแนวคิดของ ดร.เดมิ่ง ซึ่งประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลักดังนี้ คือ PDCA คือ P (Plan) คือการวางแผน D (Do) คือการน าไปปฏิบัติ C. (Check) คือการตรวจสอบ และA (Action) คือการประเมินผลผลที่เกิดขึ้น เพราะคิดว่าเป็นหลักการที่เป็นเหตุ เป็นผลดี มี