โครงการในพระราชดาริมีกี่ลักษณะ อะไรบ้าง

        นอกจากโปรดเกล้าฯ ให้มีหน่วยแพทย์พระราชทานแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริว่า ชาวบ้านควรมีความรู้ทางการสาธารณสุขตามสมควร เพื่อช่วยเหลือตนเองในท้องถิ่นที่ขาดแคลนสถานพยาบาล เมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๕ จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีการฝึกอบรม “หมอหมู่บ้าน” คัดเลือกอาสาสมัครมารับการฝึกอบรมสาธารณสุขมูลฐาน เช่น การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โภชนาการสำหรับแม่และเด็ก การป้องกันโรคอย่างง่ายๆ สถานที่ฝึกอบรม ได้แก่ โรงพยาบาลประจำจังหวัดในจังหวัดที่พระราชนิเวศน์ตั้งอยู่ คือ โรงพยาบาลสกลนคร โรงพยาบาลนราธิวาส และโรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่

การดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ให้เป็นไปตามแนวพระราชดำริ และบรรลุวัตถุประสงค์ มีหลักการสำคัญ ดังนี้

    ๑. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า    โครงการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มุ่งช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ที่ราษฎรกำลังประสบอยู่ในขณะนั้น ซึ่งเป็นการแก้ไขอย่างรีบด่วน เช่น กรณีเขตพื้นที่อำเภอ ละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ง เป็นเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชาและเป็นพื้นที่ยากจนในเขตอิทธิพลของ ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ที่ขบวนการพัฒนาของ รัฐยังเข้าไปไม่ถึง ในช่วงระยะเวลานั้น ภายหลังจากมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เข้าไปดำเนินการแล้ว ปัญหาความมั่นคงที่เคยมีอยู่ก็ลดน้อยถอยลง และหมดสิ้นไปในที่สุด แม้กระทั่งปัจจุบัน โครงการที่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า และจะมีผลระยะ ยาวต่อไปคือ การแก้ไขปัญหาจราจร และการป้อง กันน้ำท่วมในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นต้น    ๒. การพัฒนาต้องเป็นไปตามขั้นตอน    พระองค์ทรงเน้นการพัฒนาที่สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ในลักษณะของการพึ่งตนเอง โดยทรงมีพระราชประสงค์ที่จะช่วยเหลือราษฎรตามความจำเป็นและเหมาะสมกับสถานภาพ เมื่อราษฎรสามารถพึ่งตนเองได้ ก็จะสามารถออกมาสู่สังคมภายนอกอย่างไม่ลำบาก    ๓. การพึ่งตนเอง
    เมื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้แล้ว ก็จะเป็นการพัฒนาเพื่อให้ประชาชนอยู่ในสังคมได้ตามสภาพ ในลักษณะของการพึ่งตนเอง ตัวอย่างโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่เน้นหลัก "การพึ่งตนเอง" เพื่อพัฒนาแก้ไข ปัญหาความยากจนของราษฎร เช่น โครงการธนาคารข้าว โครงการธนาคารโค-กระบือ และโครงการพัฒนาที่ดินตาม พระราชประสงค์ "หุบกระพง" อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งดำเนินการเพื่อให้ประชา ชนมีที่อยู่อาศัยทำกิน และรวมตัวกันในรูปของกลุ่มสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน และการทำมาหากินร่วมกัน เป็นต้น นอกจากนั้น โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราช ดำริ ในระยะหลังก็ล้วนแต่เพื่อให้ประชาชนสามารถช่วยตัวเองได้ เพราะเป็นโครงการ ที่ สนับสนุนให้ประชาชนสามารถประกอบอาชีพให้ได้ผล และมีประสิทธิภาพ เช่น การ พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร การให้การอบรมความรู้สาขาต่าง ๆ ทั้งด้านการเกษตร และศิลปาชีพพิเศษ เป็นต้น    ๔. การส่งเสริมความรู้ และเทคนิควิชาการสมัยใหม่ที่เหมาะสม    ด้วยพระราชประสงค์ที่ต้องการให้ราษฎรได้รับในสิ่งที่ขาดแคลน และต้องมีตัวอย่างของความสำเร็จ จึงทรงพระราชทานพระราชดำริให้จัดตั้ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อใช้เป็นสถานที่ศึกษา ทดลอง วิจัย และแสวงหาความรู้สมัยใหม่ที่ราษฎรรับได้ และนำไปดำเนินการเองได้ โดยต้องเป็นวิธีการที่ประหยัด เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม    ๕. การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ    จากการพัฒนาประเทศในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมลงโดยมิได้มีการฟื้นฟูขึ้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงสนพระราชหฤทัยในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างยิ่ง เพราะมีผลโดยตรงต่อการพัฒนาการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ของราษฎรในพื้นที่ต่างๆ    ๖. การส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม    จากการที่โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศได้เปลี่ยนไป สู่การผลิตที่มีภาคอุตสาหกรรม และบริการเป็นหลัก ทำให้สังคมไทยเริ่ม เปลี่ยนจากสังคมชนบท สู่ความเป็นสังคมเมืองมากขึ้น ปัญหาที่เกิดตามมาคือปัญหาทางด้านความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริที่จะแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการ กำจัดน้ำเสีย ใน กรุงเทพมหานคร และในเมืองหลัก ในต่างจังหวัดด้วยวิธีการต่าง ๆ
        จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้พระราชทานพระราชดำริให้สร้างอ่างเก็บน้ำเขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ เพื่อบรรเทาความแห้งแล้ง เดือดร้อนของราษฎรและ
สร้างเสร็จ ใช้ประโยชน์ได้ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ นับเป็นโครงการพระราชดำริทางด้านชลประทานแห่งแรกของพระองค์

ลักษณะโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 

๑) โครงการตามพระราชประสงค์
        หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข
ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี
ต่อมาเมื่อทรงแน่พระทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดี เป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงโปรดเกล้าฯให้รัฐบาลเข้ามารับงานต่อภายหลัง

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๑) โครงการตามพระราชประสงค์
        หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข
ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี
ต่อมาเมื่อทรงแน่พระทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดี เป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงโปรดเกล้าฯให้รัฐบาลเข้ามารับงานต่อภายหลัง

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น

ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

ลักษณะสำคัญของโครงการตามพระราชดำริมีกี่ประการ

หลักการที่สำคัญของโครงการพระราชดำริ.
การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ... .
การพัฒนาต้องเป็นไปตามขั้นตอน ... .
การพึ่งตนเอง ... .
การส่งเสริมความรู้ และเทคนิควิชาการสมัยใหม่ที่เหมาะสม ... .
การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ... .
การส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม.

โครงการตามพระราชดําริ มีอะไรบ้าง

โครงการแกล้งดิน.
โครงการปลูกหญ้าแฝก.
โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน.
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน.
ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล.
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่.
โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา.
โครงการฝนหลวง.

โครงการในพระราชดําริ ร.10 มีกี่โครงการ

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 5,151 โครงการ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ ดูโครงการทั้งหมด ค้นหาโครงการฯ แผนที่โครงการ โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริทั้งหมด จำนวน 5,151 โครงการ ภาค กลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ เหนือ ใต้ อื่นๆ รวมทั้งสิ้น จำนวนโครงการ 855 โครงการ 1,295 โครงการ 1,960 โครงการ 994 โครงการ 47 โครงการ ...

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริมีคุณลักษณะสำคัญอย่างไร

หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี