กรุงธนบุรีเป็นราชธานีของไทยเป็นระยะเวลาเท่าใด

เมื่อกรุงศรีอยุธยา ถูกกองทัพพม่ายึด และเผาทำลายเมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2310 นับเป็นการเสียกรุงให้พม่าเป็นครั้งที่ 2

โดย...ส.สต

เมื่อกรุงศรีอยุธยา ถูกกองทัพพม่ายึด และเผาทำลายเมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2310 นับเป็นการเสียกรุงให้พม่าเป็นครั้งที่ 2 (กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2112 เหตุเพราะพระยาจักรีเป็นไส้ศึก) ก่อนกรุงศรีอยุธยาจะตกอยู่ในอำนาจพม่านั้น พระเจ้าตากพร้อมสมัครพรรคพวกได้ออกจากกรุงศรีอยุธยาไปทางตะวันออก ผ่านปราจีนบุรี ฉะเชิงเทราชลบุรี ระยอง แต่กว่าจะผ่านแต่ละเมืองไปถึงเมืองจันทบุรีก็มิใช่เรื่องง่ายๆ เพราะไม่มีใครไว้ใจใคร พระเจ้าตากจึงต้องใช้กำลังปราบปรามเรื่อยไป จนถึงเมืองจันทบุรีและตั้งหลักเพื่อรวบรวมกำลังพลที่นั่น เมื่อรวบรวมผู้คนและเสบียงอาหารได้แล้ว ก็จัดกำลังกองทัพเรือมาทางปากน้ำ เพื่อขับไล่พม่า ทำการสู้รบจนสามารถยึดกรุงศรีอยุธยาคืนจากพม่าได้เมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2310 หรือเพียง 7 เดือน ที่กรุงศรีอยุธยาตกอยู่ในอำนาจของพม่า

หนังสือเรื่องสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่ธนาคารกสิกรไทย พิมพ์แจกจ่ายเมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2548 ได้เล่าเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับวีรบุรุษของชาติไทยให้อ่านด้วยความภูมิใจอย่างย่อๆ แล้วได้กล่าวถึงการตั้งราชธานี ว่า

เมื่อพระเจ้าตากถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าเอกทัศ แล้วทรงมีพระประสงค์ที่จะปฏิสังขรณ์พระนครเพื่อตั้งเป็นเอกราช ดังเดิม จึงขึ้นช้างตรวจตราดูสภาพกรุงศรีอยุธยา เห็นว่าถูกเผาทำลายไปเป็นอันมาก ที่ยังดีอยู่ก็มีน้อย จึงสังเวชสลดใจ แต่แล้วในคืนหนึ่งขณะที่ประทับแรม ณ พระที่นั่งทรงปืน ภายในกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าตากทรงพระสุบินนิมิตไปว่า พระมหากษัตริย์แต่ก่อนมา ขับไล่ไม่ให้อยู่ รุ่งเช้าจึงตรัสเล่าให้ขุนนางทั้งปวงฟัง เราคิดสังเวชเห็นว่าบ้านเมืองจะรกร้างเป็นป่า จะมาช่วยปฏิสังขรณ์ ทำนุบำรุง ให้ดีดังเก่า เมื่อเจ้าของเดิมยังหวงแหนอยู่ เราชวนกันไปสร้างเมืองธนบุรีอยู่เถิด

ดังนั้น พระเจ้าตากจึงอพยพผู้คนลงมาทางชลมารค เพื่อตั้งราชธานีที่เมืองธนบุรี พร้อมทั้งตั้งสัตยาธิษฐานว่ารุ่งแจ้งที่ใดจะสร้างวัดที่นั่น และมารุ่งอรุณที่วัดมะกอก ซึ่งเป็นวัดเดิมที่มีอยู่แล้ว พระเจ้าตากจึงเปลี่ยนชื่อจากวัดมะกอกเป็นวัดแจ้ง (รัชกาลที่ 2 เปลี่ยนชื่อเป็นวัดอรุณราชธาราราม ถึงรัชกาลที่ 4 เปลี่ยนเป็น วัดอรุณราชวราราม จนถึงปัจจุบัน)

ส่วนเหตุผลที่เลือกเมืองธนบุรี ไม่เลือกอยุธยา ก็เนื่องจาก 1.ธนบุรีมีขนาดเหมาะแก่กำลังของพระองค์ในเวลานั้น เพราะแวดล้อมด้วยที่ราบรื่นซึ่งเป็นเลนและโคลนตม ทำให้ป้องกันข้าศึกได้ดี ทั้งอยู่ใกล้ทะเลมีทางหนีทีไล่ที่ดีกว่าเมืองอื่นๆ พร้อมทั้งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยน้ำและพืชพันธ์ุธัญญาหาร เป็นที่ดอนน้ำท่วมถึงได้ยาก

2.เนื่องจากกรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองใหญ่ กำลังพลที่อยู่ในขณะนั้นไม่เพียงพอที่จะรักษาเมืองให้อยู่ได้

3.ไปมาค้าขายกับนานาประเทศไม่ว่าใกล้หรือไกลได้สะดวกกว่า

4.ยามหัวเมืองฝ่ายเหนือก่อการกบฏสามารถปิดปากน้ำได้ง่ายทั้งทางบกและทางเรือ ป้องกันมิให้กบฏซื้อหาอาวุธและสินค้า จำเป็นได้

5.กรุงธนบุรีมีป้อมวิชัยประสิทธิ์ ที่มั่นคง แข็งแรงและยังคงใช้ได้พร้อมสรรพ

พระเจ้าตากทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวง และ พระราชทานนามว่า "กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร" ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์เมื่อวันพุธ แรม 4 ค่ำ เดือนอ้าย ปีกุน นพศก จุลศักราช 1129 ตรงกับวันที่ 28 ธ.ค. 2311 ทรงพระนามว่า สมเด็จพระศรีสรรเพชญ์ ที่ 8 หรือสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 แต่ขุนนาง ไพร่ฟ้าราษฎรนิยมเรียกพระองค์ท่านว่า "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสิน" ขณะที่มีพระชนม พรรษาได้ 33 พรรษา กรุงธนบุรี มีอายุเพียง 15 ปี เมื่อมีกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นมาแทน ในวันที่ 6 เม.ย. 2325

หลัง "พระเจ้าตากสินมหาราช" กู้เอกราชคืนมาจากพม่าแล้ว สภาพบ้านเมืองของกรุงศรีอยุธยาทรุดโทรมมาก ด้วยเหตุผลนานาประการจึงทรงตัดสินใจเลือกเอา "กรุงธนบุรี" เป็นราชธานีใหม่ ในชื่อ "กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร"

วันที่ 4 ตุลาคม 2313 เมืองธนบุรีได้ถูกสถาปนาเป็นราชธานีแห่งใหม่ หลังจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ "สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช" สามารถกู้เอกราชคืนมาจากพม่า  

และเมื่อสภาพบ้านเมืองของกรุงศรีอยุธยาทรุดโทรมมากไม่เหมาะสมที่จะใช้เป็นเมืองหลวง  เนื่องจากกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายและทรุดโทรมยากแก่การบูรณะ นอกจากนี้กรุงศรีอยุธยายังมีพื้นที่กว้างขวางยากแก่การรักษาบ้านเมือง และอยู่ห่างจากปากแม่น้ำไม่สะดวกในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ 

 

สำหรับสาเหตุที่พระเจ้าตากสินมหาราชเลือกที่นี่ เพราะ "กรุงธนบุรี" เป็นเมืองขนาดเล็ก เหมาะสมกับกำลังป้องกันทั้งทางบกและทางน้ำ โดยตั้งอยู่ปากแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะดวกในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ และยังสะดวกในการควบคุมการลำเลียงอาวุธและเสบียงต่างๆ ไปตามหัวเมืองเมื่อเกิดศึกสงคราม

กรุงธนบุรีเป็นราชธานีของไทยเป็นระยะเวลาเท่าใด

ดังนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงทรงตัดสินใจเลือกเอา "กรุงธนบุรี" เป็นราชธานี ทรงพระราชทานนามว่า "กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร"

นอกจากนี้ หากข้าศึกยกกำลังมามากเกินกว่ากำลังจะต้านทานก็ยังสามารถย้ายไปตั้งมั่นที่จันทบุรีได้โดยอาศัยทางเรือ อีกทั้งยังมี 2 ป้อมปราการทั้งป้อมวิไชยประสิทธิ์ และป้อมวิไชเยนทร์ อยู่ทั้งสองฟากแม่น้ำที่สร้างไว้ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชใช้ป้องกันข้าศึกที่จะเข้ามารุกรานโดยยกกำลังมาทางเรือ 

 

"สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช" ทรงสร้างพระราชวังขึ้นทางทิศใต้ของกรุงธนบุรี ขนาบข้างด้วยวัดแจ้ง หรือวัดมะกอก (ปัจจุบันคือ วัดอรุณราชวรารามราชวรวิหาร) และวัดท้ายตลาด (ปัจจุบันคือวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร) โดยเมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๓๑๓ พระราชทานนามว่า "กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร"               

กรุงธนบุรีเป็นราชธานีของไทยเป็นระยะเวลาเท่าใด

สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงแสดงความคิดเห็นไว้ว่า..

"ที่เจ้าตากลงมาตั้งเมืองธนบุรีเป็นราชธานี ครั้งนั้นเหมาะแก่ประโยชน์ทุกอย่าง ถ้าหากว่าสมเด็จพระอดีตมหาราชได้มาขับไล่เจ้าตากมิให้ตั้งอยู่ที่กรุงศรีอยุธยา ก็ขับไล่ด้วยไมตรีจิต ตักเตือนมิให้พลาดพลั้งไปด้วยเห็นแก่เกียรติยศ

เพราะกรุงศรีอยุธยาถึงเป็นที่มีชัยภูมิด้วยลําน้ำล้อมรอบ และเป็นเมืองมีป้อมปราการมั่นคงก็จริง แต่รี้พลของเจ้าตากที่มีอยู่ไม่พอจะรักษากรุงศรีอยุธยาต่อสู้ข้าศึก และขณะนั้นศัตรูก็ยังมีมาก ทั้งพม่าและไทยก๊กอื่นอาจจะยกมาย่ำยีในเมื่อหนึ่งเมื่อใด กรุงศรีอยุธยาอยู่ในทางที่ ข้าศึกจะมาถึงได้สะดวกทั้งทางบกและทางน้ำ ถ้ามีกําลังไม่พอรักษา ขืนตั้งอยู่ที่กรุงศรีอยุธยาก็คงเป็นอันตราย

การที่ลงมาตั้งอยู่เมืองธนบุรีก็ไม่ห่างไกลกับกรุงศรีอยุธยา มีอํานาจอยู่ที่เมืองธนบุรีก็เหมือนมีอํานาจอยู่ในกรุงศรีอยุธยา แต่ได้เปรียบที่เมืองธนบุรีตั้งอยู่ที่ลําน้ำลึกใกล้ทะเล แม้ข้าศึกมาทางบกไม่มีทัพเรือเป็นกําลังด้วยแล้วก็ยากที่จะมาตีเมืองธนบุรี"

อย่างไรก็ดี "อาณาจักรธนบุรี" เป็นอาณาจักรเพียงแค่ช่วงสั้นๆ ระหว่างปี 2310 - 2325 หรือเพียง 15 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครองเพียงพระองค์เดียว คือ "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"

และต่อมาสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และทรงย้ายเมืองหลวงไปยังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา คือ กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน

กรุงธนบุรีเป็นราชธานีของไทยเป็นระยะเวลาเท่าใด *

กรุงธนบุรี เป็นเมืองหลวงที่มีอายุสั้นที่สุดของราชอาณาจักรไทย มีอายุเพียงแค่ ๑๕ ปี ขณะที่กรุงศรีอยุธยามีอายุถึง ๔๑๗ ปี และกรุงรัตนโกสินทร์ยืนยงมาถึง ๒๓๖ ปีแล้วในวันนี้ แต่ในช่วงแค่ ๑๕ ปีของกรุงธนบุรี นับเป็นช่วงมหัศจรรย์ของประวัติศาสตร์ชาติไทย ที่พลิกฟื้นจากความย่อยยับของกรุงศรีอยุธยา ถูกทั้งปล้นทั้งเผาจนทั้งแผ่นดินแทบ ...

เพราะเหตุใดกรุงธนบุรี จึงเป็นราชธานีเพียง15ปี

ณ ช่วงเวลาดังกล่าว ธนบุรีจึงเหมาะแก่การเป็นราชธานี เพราะเป็นเกาะเหมือนกรุงศรีอยุธยา ทั้งพร้อมด้วยป้อมปราการที่แข็งแรงกว่าที่อื่น และการมีแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ระหว่างป้อมทั้งสองก็หาใช่สภาพเมืองอกแตกไม่ แต่ป้อมที่อยู่ตรงคุ้งน้ำทั้งสองฟากย่อมสามารถตัดการบุกของข้าศึกที่มาทางน้ำได้ดีกว่ามีป้อมเพียงด้านเดียว

บุคคลใดเป็นผู้สถาปนา กรุงธนบุรี เป็นราชธานีของไทย

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (จีน: 鄭昭; พินอิน: Zhèng Zhāo; แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรธนบุรี

วันใดที่พระเจ้าตากสินมหาราชได้สถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่

เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2564. 4 ตุลาคม พ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สถาปนากรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร” เป็นราชธานี

กรุงธนบุรีเป็นราชธานีของไทยเป็นระยะเวลาเท่าใด * เพราะเหตุใดกรุงธนบุรี จึงเป็นราชธานีเพียง15ปี บุคคลใดเป็นผู้สถาปนา กรุงธนบุรี เป็นราชธานีของไทย วันใดที่พระเจ้าตากสินมหาราชได้สถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ เหตุการณ์ใด เป็นเหตุการณ์แรกที่ทำให้เกิดการเสื่อมอำนาจของอาณาจักรธนบุรี ข้อใดอธิบายการจัดการปกครองในสมัยธนบุรี ไม่ถูกต้อง ชนชั้นใต้ปกครองในสมัยธนบุรี หมายถึงบุคคลกลุ่มใด ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในสมัยธนบุรี มีลักษณะอย่างไร เพราะเหตุใด ศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นภูมิปัญญาในสมัยธนบุรีจึงมีจำนวนน้อย พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี สรุป กรุงธนบุรี ปัจจุบัน เศรษฐกิจสมัยธนบุรี