ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

ภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดจะเกิดขึ้นเมื่อความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดลดต่ำลงกว่าปกติมาก ปกติเมื่อติดเชื้อโควิด-๑๙ เชื้อที่ลงไปในปอดจะทำให้ปอดของผู้ติดเชื้อแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้น้อยลง ส่งผลให้ระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดต่ำลงด้วย ผู้ป่วยจึงมีอาการต่างๆ เช่น แน่นหน้าอก ไอ หอบ หายใจไม่เต็มอิ่มเป็นสัญญาณบ่งบอกการพร่องออกซิเจนในเลือด แต่ผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการรักษาจนตรวจไม่พบเชื้อและเข้าใจว่าใกล้หายจากโรคแล้วก็ยังมีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดที่ไม่แสดงอาการหรือ “Happy Hypoxia” ได้เช่นกัน

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารการรักษาผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจวิกฤตของสหรัฐอเมริกา ระบุว่าผู้ป่วยอาจจะไม่รู้สึกถึงภาวะพร่องออกซิเจนของตัวเอง แม้กระทั่งตอนที่แพทย์กำลังใส่ท่อช่วยหายใจเพื่อช่วยชีวิต เพราะไม่มีอาการผิดปกติในระบบทางเดินหายใจปรากฏนำมาก่อนให้สังเกตได้ ทั้งๆ ที่ปอดของผู้ป่วยทำงานผิดปกติมากขึ้นเรื่อยๆ จนค่าออกซิเจนในเลือดลดต่ำมาก  ศ.นพ. มาร์ติน โทบิน (Martin J. Tobin) หัวหน้าคณะวิจัยผู้เชี่ยวชาญด้านโรคระบบทางเดินหายใจและเวชบำบัดวิกฤต แห่งศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยโลโยลา (Loyola) รัฐอิลลินอยส์ ตั้งข้อสังเกตว่า ในขณะที่ระดับออกซิเจนลดลง สมองของผู้ป่วยจะไม่ตอบสนองจนกว่าออกซิเจนจะลดต่ำลงมาก ซึ่งกว่าจะรู้ตัว ผู้ป่วยก็หายใจไม่ออกเสียแล้ว เป็นผลมาจากเชื้อไวรัสที่ไปกดการตรวจสอบระดับออกซิเจนในร่างกาย ซึ่งคาดว่าอาจเชื่อมโยงกับการเสียการรับรู้กลิ่นที่ผู้ติดเชื้อโรคโควิด-๑๙ จำนวนมากประสบ

หากเราเป็นคนที่มีความรู้สึกว่าตัวเองไม่สบายตัวหรือไม่สดชื่น อาจจะเป็นอาการที่บอกว่าออกซิเจนในเลือดของเราต่ำก็เป็นได้เราจะมาทำความรู้จักภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำและวิธีการบรรเทากันจะเป็นอย่างไรบ้างมาดูกัน

ผู้ที่มีอาการขาดออกซิเจนหรือมีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำเป็นอย่างไร

เมื่อไม่ได้รับออกซิเจนในเลือดไม่เพียงพออาจทำให้เกิดอาการต่าง ๆ ซึ่งหากพบว่าเกิดอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบไปพบแพทย์ หรือปรึกาผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นนะครับ

อาการจะแสดงออกโดยการ หายใจสั้น หายใจเร็ว

หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ ไอหรือหายใจมีเสียงหวีด เหงื่อออกสีผิวเปลี่ยนไปโดยเร็วและรู้สึกสับสน

อาการที่เห็นได้ชัดเลยก็คือ ชอบนั่งแล้วหาวทั้งวัน นั่งๆอยู่หาว แสดงว่าคุณจะต้องไปหาผู้เชี่ยวชาญหรือหมอ ที่ชำนาญทางด้านนี้แล้ว  อาการต่อมาที่มักรู้กันดีว่า หน้ามืดบ่อยและแสดงออกด้วยการ เหนื่อยง่ายทำอะไรแปปๆก็เหนื่อยแล้ว

เคล็ดลับแนวทางการเพิ่มออกซิเจนในเลือด

การสูดหายใจให้เต็มปอด

นนี้เป็นสิ่งที่ทุกคนคงจะคุ้นเคยกันดี การหายใจเต็มที่ จะทำให้ร่างกายรับออกซิเจนได้มากขึ้น โดยเฉพาะเวลาที่เราเครียดจะยิ่งรู้สึกถึงความแตกต่าง เพราะตอนเราเครียด กล้ามเนื้อร่างกายจะเกร็ง ทำให้ระดับออกซิเจนลดลง คนที่รู้สึกอยากผ่อนคลายความเครียด ก็หายใจเข้าลึก ๆ ยาว ๆ  สามารถทำให้ปอดและร่างกายของเราได้รับ ออกซิเจนได้เพียงพอ

นวด

ไม่น่าเชื่อว่าสิ่งนี้ก็ช่วยเพิ่มปริมาณ ออกซิเจนให้เราได้ เพราะตอนที่เรารู้สึกปวดเมื่อย ก็หมายความว่ากล้ามเนื้อของเรากำลังหดตัว เลือดไหลเวียนได้ไม่ดี กล้ามเนื้อจะขาดออกซิเจนและสารอาหาร ดังนั้นให้ใช้มือ นวดเป็นวงกลมเล็กๆ ทั่วบริเวณกล้ามเนื้อที่ตึง กดด้วยแรงพอดีๆ ตรงจุดที่ปวด ก็จะรู้สึกดีขึ้น

ดื่มน้ำ

คิดว่าหลายคนคงไม่รู้ ว่าการดื่มน้ำก็ช่วยเพิ่มออกซิเจนในร่างกายได้ด้วยการดื่มน้ำสะอาดในปริมาณที่เหมาะสม เป็นประจำทุกวัน จึงให้ประโยชน์แก่ร่างกายและดีต่อสุขภาพ ยิ่งเป็นน้ำดื่มที่มีที่มีปริมาณออกซิเจนสูงๆ ช่วยเพิ่มออกซิเจนในเลือด ยิ่งเพิ่มคุณประโยชน์ให้แก่ร่างกายอย่างมาก การเพิ่มขึ้นของปริมาณออกซิเจนในกระแสเลือด  อีกทั้งการดื่มน้ำยังช่วยในเรื่องของ ล้างสารพิษ ดีท็อกซ์ลำไส้ ได้ดีอีกด้วย

หากเราทำแล้วยังพบอาการดังกล่าว ผมแนะนำให้ไปหาหมอ เพราะว่าจะให้การปรึษาที่ดีที่สุด ว่าจะทำอย่างไรได้บ้าง แต่พูดไปพูดมาเคยได้ยินเรื่องของ ออกซิเจนบำบัดไหมครับ ผมเคยได้ยินว่า เค้าเรียกว่า การบำบัดด้วยโอโซน Ozone (Ozone Therapy)  เหมาะกับคนที่ หายใจเร็ว เหนื่อยง่าย นั่งหาวง่วงไม่เป็นเวลา แต่ข้อควรระวังอย่าหงนึ่งในการทำ โอโซนบำบัด นั่นก็คือ ง่วง มันจะง่วงมาก แต่ ตื่นมาบอกได้เลยว่า สดชื่นมีแรงในการทำงาน และรู้สึกว่า ระบบหายใจเปลี่ยนไปจากเดิมพอสมควร

ประโยชน์ของการ บำบัดด้วยโอโซน Ozone (Ozone Therapy)

เพิ่มการผลิตพลังงานในไมโตคอนเดรีย ช่วยบรรเทาอาการอ่อนเพลีย และเพิ่ม สมรรถภาพการออกกำลังกายในกลุ่มนักกีฬา

เพิ่มความยืดหยุ่นของเซลล์เม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดง จึงทำให้เซลล์เม็ดเลือด

รักาภูมิแพ้  โดยดึงเลือดของผู้ป่วยออกมาประมาณ 80 cc แล้วใส่ Ozone ให้กับเลือดแล้วจึงฉีดกลับที่กล้ามเนื้อสะโพก (Auto Vaccine) พบว่าการรักษาได้ผลดี  แต่ไม่หน้ากลัวอย่างที่คิดนะครับ

เป็นไงกันบ้างละครับสำหรับผู้ที่มีออกซิเจนในเลือดต่ำ สามารถไป บำบัดด้วยโอโซน Ozone (Ozone Therapy) ได้ที่ mw-wellness ได้เสมอเลยนะครับ เราจะมีหมอและผู้ช่วยแพทย์ที่เชี่ยวชาญค่อยดูและเราอยู่ตลอดเวลานะครับ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เท่านั้น ทางบริษัทไม่สามารถให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลได้ หากท่านมีความกังวล และต้องการคำปรึกษาเพิ่มเติม แนะนำให้พบแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย

         เคยไหมคะ เวลาที่ไปเที่ยวบนเขา หรืออยู่บนตึกที่สูง ๆ แล้วรู้สึกหายใจลำบาก อึดอัดมากจนอาเจียนออกมา ปวดศีรษะ หรือหัวใจเต้นถี่เร็วผิดปกติ รู้หรือไม่คะว่า นั่นเป็นสัญญาณของ ภาวะพร่องออกซิเจน จากการมีออกซิเจนในเลือดต่ำค่ะ  ซึ่งหากปล่อยไว้อาจเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตเลยล่ะค่ะ เพราะฉะนั้น รีบมาทำความรู้จักกับภัยร้ายนี้ เพื่อที่จะได้สังเกต และป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นกับคุณหรือคนที่คุณรักค่ะ

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

สารบัญ

  • ภาวะพร่องออกซิเจน คืออะไร? มีสาเหตุอะไรที่ทำให้เกิดภาวะนี้บ้าง?
  • ภาวะพร่องออกซิเจน สามารถสังเกตอาการผิดปกติอย่างไรได้บ้าง?
  • วิธีป้องกันการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน

ภาวะพร่องออกซิเจน คืออะไร? มีสาเหตุอะไรที่ทำให้เกิดภาวะนี้บ้าง?

ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia) คือ ภาวะที่เนื้อเยื่อในร่างกายขาดออกซิเจน ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ร่างกายมีปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำกว่าปกติ (hypoxemia) จึงทำให้เลือดไม่สามารถนำออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้นั่นเอง จนทำให้การทำงานของร่างกายและสมองบกพร่อง จึงแสดงลักษณะผิดปกติออกมาให้เห็นทางภายนอก เช่น ผิวหนังเขียวซีด เหงื่อออกมาก หายใจผิดปกติ เป็นต้น

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

โดยภาวะพร่องออกซิเจนนี้ สามารถแบ่งออกได้ 4 ชนิด ตามสาเหตุการเกิด ดังนี้ (อ้างอิงข้อมูลจาก สิรินาถ เรืองเผ่าพันธุ์ พยาบาลวิชาชีพ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี)1. ภาวะพร่องออกซิเจนซึ่งร่างกายได้รับออกซิเจนน้อย (Hypoxic Hypoxia) เป็นชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด โดยมีสาเหตุมาจาก

  • ความกดดันของออกซิเจนในถุงลมปอดลดลง มักเกิดขึ้นจากการที่ขึ้นไปอยู่ในที่สูง เช่น ภูเขา ยอดตึก ขึ้นเฮลิคอปเตอร์ เนื่องจากความกดบรรยากาศลดลง ออกซิเจนจึงเบาบางไปด้วย กล่าวคือ ร่างกายจะได้รับออกซิเจนน้อยกว่าตอนอยู่ที่ระดับพื้นดินนั่นเอง ภาวะพร่องออกซิเจนชนิดนี้ ยังอาจเกิดจากการกลั้นหายใจ อากาศที่หายใจมีก๊าซอื่นปะปน หรือเกิดในผู้ป่วยโรคหอบหืด
  • พื้นที่ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างปอดกับกระแสเลือดลดลง มักเกิดในผู้ที่มีอาการปอดแฟบ มีลมในช่องปอด เป็นต้น
  • ออกซิเจนไม่สามารถซึมผ่านจากถุงลมปอดไปสู่กระแสเลือดได้สะดวก มักเกิดในผู้ที่มีอาการปอดบวม เป็นโรคเยื่อไฮยาลีน หรือจมน้ำ เป็นต้น

2. ภาวะพร่องออกซิเจนซึ่งมีสาเหตุจากเลือด (Hypemic Hypoxia) โดยมีสาเหตุมาจากความบกพร่องในการนำออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น จำนวนเม็ดเลือดแดงในเลือดลดลง เป็นโรคโลหิตจาง เกิดการเสียเลือดมาก ภาวะผิดปกติของฮีโมโกลบิน ร่างกายได้รับยาหรือสารพิษบางอย่าง เช่น ยากลุ่มซัลฟานิลาไมด์ ยาเสพติด ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ เป็นต้น

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

3. ภาวะพร่องออกซิเจนซึ่งมีสาเหตุจากการคั่งของกระแสเลือด (Stagnant Hypoxia) เกิดจากความบกพร่องในการไหลเวียนของเลือด เช่น แรงดันเลือดจากหัวใจลดลง เนื่องจากเป็นโรคหัวใจล้มเหลว เป็นต้น4. ภาวะพร่องออกซิเจนซึ่งมีสาเหตุจากภาวะเป็นพิษของเซลล์ (Histotoxic Hypoxia) เกิดขึ้นจากการที่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายไม่สามารถนำเอาออกซิเจนไปใช้ได้ เนื่องจากได้รับสารพิษ เช่น แอลกอฮอล์ ควันพิษ ไซยาไนด์ เป็นต้นในคนปกติทั่วไปจะระดับออกซิเจนในเลือดอยู่ที่ 80 – 100 มิลลิเมตรปรอท (อ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซต์ Thai Nurse Club) แต่ผู้ที่มีภาวะพร่องออกซิเจนจะมีระดับออกซิเจนที่ต่ำกว่าคนทั่วไป โดยแบ่งความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน ได้ 3 ระดับ คือ

  • Mild Hypoxemia ระดับออกซิเจนในเลือด อยู่ระหว่าง 60 – 80 มิลลิเมตรปรอท
  • Moderate Hypoxemia ระดับออกซิเจนในเลือด อยู่ระหว่าง 40 – 60 มิลลิเมตรปรอท
  • Severe Hypoxemia ระดับออกซิเจนในเลือด น้อยกว่า 40 มิลลิเมตรปรอท

ในปัจจุบัน มีการพบว่า ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ก็มีภาวะพร่องออกซิเจน หรือก็คือมีออกซิเจนในเลือดต่ำกว่าคนทั่วไป โดยที่ไม่ได้แสดงอาการผิดปกติใดออกมา แพทย์เรียกอาการนี้ว่า happy hypoxemia

อ่านบทความ : เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว เครื่องวัดออกซิเจนในเลือด จำเป็นอย่างไรในยุคโควิด-19

ภาวะพร่องออกซิเจน สามารถสังเกตอาการผิดปกติอย่างไรได้บ้าง?

ผู้ที่มีภาวะพร่องออกซิเจน อาจมีความรุนแรงและอาการที่แสดงออกมาแตกต่างกัน เนื่องจากมีเหตุปัจจัยที่แตกต่างกัน เช่น ผู้ที่มีภาวะพร่องออกซิเจนจากการอยู่บนที่สูง ยิ่งหากอยู่บนที่สูงมาก ๆ หรืออยู่เป็นระยะเวลานานมากเท่าไหร่ ก็จะยิ่งเพิ่มระดับความรุนแรงมากขึ้นเท่านั้น หรือในเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว ก็อาจจะมีอาการที่รุนแรงกว่าคนที่แข็งแรงทั่วไป แต่ถึงอย่างไร ก็สามารถสังเกตอาการบ่งชี้ภายนอกได้ดังนี้

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

  • ผิวหนังซีด หรือเป็นสีเขียวคล้ำ
  • ไอ คลื่นไส้อาเจียน หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
  • วิงเวียนหรือปวดศีรษะ
  • มีเหงื่อออกมาก รู้สึกร้อน ๆ หนาว ๆ วูบวาบตามตัว มือเท้าชา
  • หายใจลำบาก ถี่ หรือมีเสียงหวีด
  • รู้สึกกระสับกระส่าย กระวนกระวาย
  • ตาพร่ามัว สับสน มึนงง ซึม
  • การรับรู้ตัวลดลง ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก หากปล่อยไว้อาจเกิดอาการเพ้อ ชัก หมดสติ อาจเข้าสู่ภาวะโคม่า และอาจเสียชีวิตได้

ส่วนในเด็กก็อาจอาการข้างต้นเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ แต่อาจสังเกตอาการผิดปกติ ได้ดังนี้

  • ดูอ่อนเพลีย รู้สึกไม่สบายตัว
  • เลิกสนใจของเล่น หรือสิ่งที่เด็กเคยสนใจ
  • สังเกตเห็นเด็กนั่งเอนตัวไปทางด้านหน้า เนื่องจากทำให้หายใจได้สะดวกขึ้น
  • เด็กที่มีโรคเกี่ยวกับระบบหายใจ อาจมีอาการหายใจทางปากและมีน้ำลายไหลออกมามากผิดปกติ

ในผู้ป่วยบางราย อาจไม่พบอาการบ่งชี้ข้างต้น แต่เราสามารถตรวจสอบระดับออกซิเจนในเลือดได้ โดยการใช้เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว หากพบว่ามีค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ำกว่า 90% นั่นแปลว่าเกิดภาวะพร่องออกซิเจน ดังนั้น หากสังเกตแล้วพบอาการบ่งชี้ข้างต้น หรือพบว่าระดับออกซิเจนต่ำกว่าปกติแม้ไม่มีอาการ ก็ควรรีบนำตัวไปพบแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัยและรักษาทันที

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

วิธีป้องกันการเกิด ภาวะพร่องออกซิเจน

สำหรับผู้ที่มีภาวะพร่องออกซิเจน เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์ก็จะทำการบำบัดรักษาด้วยการให้ออกซิเจน เพื่อให้ระดับออกซิเจนในเลือดกลับมาดีขึ้น แต่ถึงอย่างนั้น เราสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อช่วยเยียวยาให้ร่างกายกลับมาดีขึ้น และสำหรับผู้ที่ไม่ได้มีภาวะพร่องออกซิเจน ก็ยังถือว่าเป็นวิธีที่ช่วยลดโอกาสการเกิดได้ค่ะ

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

  • นอนหนุนหมอนสูง หรือปรับฟังก์ชันเตียงให้อยู่ในท่าศีรษะสูง (เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า เตียงปรับระดับไฟฟ้า จาก ALLWELL มีฟังก์ชันในการปรับท่าทางที่หลากหลาย สามารถปรับท่าศีรษะสูงได้) เพื่อให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่
  • หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ หรือการรับควันบุหรี่
  • ดื่มน้ำเปล่าสะอาดมาก ๆ ให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายต่อวัน
  • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่
  • ออกกำลังกายเป็นประจำ เช่น โยคะ การเดิน
  • หมั่นตรวจระดับออกซิเจนในเลือด ด้วยเครื่องวัดออกซิเจนในเลือด
  • หากเป็นเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย หรือผู้ที่เคยมีภาวะพร่องออกซิเจน ให้พยายามหลีกเลี่ยงการอยู่บนที่สูงมาก ๆ หรือหลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่ที่อากาศเบาบาง
  • หากเป็นผู้ป่วยโรคหอบหืด ควรปฏิบัติตามคำแนะนำแพทย์อย่างเคร่งครัด และได้รับการพ่นยาตามคำสั่งแพทย์อย่างสม่ำเสมอ

ออกซิเจนในเลือดต่ำ รักษา อย่างไร

สรุป

ภาวะพร่องออกซิเจน แม้ส่วนใหญ่จะเป็นภาวะที่มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบหายใจ แต่ก็เป็นภาวะที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนและทุกวัย ซึ่งบางครั้ง มักมีสาเหตุมาจากปัจจัยใกล้ตัวที่หลายคนมองข้ามไป แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น หากพบว่ามีอาการผิดปกติตามที่กล่าวข้างต้น หรือตรวจวัดออกซิเจนในเลือด ด้วยเครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว แล้วพบว่าออกซิเจนต่ำผิดปกติ ควรรีบปรึกษาแพทย์ เพื่อทำการวินิจฉัยและรักษา ก่อนจะเกิดภาวะรุนแรงค่ะ

ค่าออกซิเจนในเลือดต่ำต้องทำยังไง

ทำอย่างไรเมื่อออกซิเจนในเลือดต่ำ ออกซิเจนในเลือดต่ำเป็นภาวะอันตราย แต่สามารถลดความเสี่ยงโดยการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างเหมาะสม เช่น กินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ดื่มน้ำให้เพียงพอ ฝึกหายใจอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายไม่หักโหม ตรวจร่างกายเป็นประจำ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และเลิกสูบบุหรี่

ออกซิเจนในเลือดต่ำเป็นโรคอะไร

ผู้ที่มีภาวะค่าออกซิเจนในเลือดต่ำ อาจมีสาเหตุมาจากระบบไหลเวียนเลือดในร่างกาย โดยมีสาเหตุมาจากความบกพร่องในการนำออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงยังเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย เช่นจำนวนเม็ดเลือดแดงในเลือดลดลง เป็นโรคโลหิตจางเกิดการเสียเลือดมากกว่าปกติ เกิดภาวะผิดปกติของฮีโมโกลบิน ตลอดจนการที่ร่างกายได้รับสารเคมีบางอย่าง

ออกซิเจนในเลือดต่ำเกิดจากสาเหตุใด

ภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดจะเกิดขึ้นเมื่อความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดลดต่ำลงกว่าปกติมาก ปกติเมื่อติดเชื้อโควิด-๑๙ เชื้อที่ลงไปในปอดจะทำให้ปอดของผู้ติดเชื้อแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้น้อยลง ส่งผลให้ระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดต่ำลงด้วย ผู้ป่วยจึงมีอาการต่างๆ เช่น แน่นหน้าอก ไอ หอบ หายใจไม่เต็มอิ่มเป็นสัญญาณบ่งบอกการพร่อง ...

กินอะไรเพิ่มออกซิเจนในเลือด

เนื้อสัตว์ ตับ หัวใจ มีคุณค่าทางโภชนาการที่สูงมาก ประกอบด้วยวิตามินต่างๆ และโปรตีน มีไขมันดี ช่วยเพิ่มระดับฮีโมโกลบินและช่วยเพิ่มระดับออกซิเจนในร่างกาย นอกจากอาหารที่ช่วยเพิ่มระดับออกซิเจนในร่างกายแล้ว การฝึกหายใจ เช่น หายใจเข้าทางปาก หายใจลึกและค่อยๆ ปล่อยออกมา จะช่วยเพิ่มระดับออกซิเจนให้ร่างกายได้อีกด้วย