การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหามีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ อย่างไร

การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา  (State The Problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา

แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามไป
จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ
การทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือ
เงื่อนไขของปัญหาคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล
กล่าวโดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ดังนี้

การระบุข้อมูลเข้า
ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา
         การระบุข้อมูลออก 
ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ
             การกำหนดวิธีประมวลผล
ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก

1. พิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด   1. การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องการหาคำตอบ   2. การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาจุดหมายหรือสิ่งที่ต้องการหาคำตอบ   3. การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา   4. การระบุข้อมูลเข้า ได้แกการพิจารณาขั้นตอนและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา       2. ข้อใดไม่เข้าพวก   1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหามีขั้นตอน การระบุข้อมูลเข้า เป็นขั้นตอนที่ 1   2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหามีขั้นตอน การระบุข้อมูลออก เป็นขั้นตอนที่ 2   3. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหามีขั้นตอน การกำหนดวิธีประมวลผล เป็นขั้นตอนที่ 3   4. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหามีขั้นตอน การดำเนินการแก้ปัญหา เป็นขั้นตอนที่ 4       3. ประโยชน์ของผังงาน คืออะไร   1. ใช้ทำงานแทนคน     2. ใช้ทำงานแทนโปรแกรม     3. ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อประสานความคิดระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง   4. ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อประสานงานและระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง       4. โครงสร้างแบบลำดับ มีลักษณะอย่างไร   1. โครงสร้างที่มีเงื่อนไข     2. โครงสร้างแสดงขั้นตอนการทำงานที่เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง   3. กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูล   4. โครงสร้างที่ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง       5. โครงสร้างแบบมีทางเลือก มีลักษณะอย่างไร   1. โครงสร้างที่มีเงื่อนไข     2. โครงสร้างแสดงขั้นตอนการทำงานที่เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง   3. กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูล   4. โครงสร้างที่ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง       6. "โครงสร้างที่ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง" จากลักษณะโครงสร้างที่กล่าวมาข้างต้น จัดอยู่ในโครงสร้างใด   1. โครงสร้างแบบลำดับ 2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก   3. โครงร้างแบบทำซ้ำ 4. โครงสร้างควบคุม       7. สัญลักษณ์ใดต่อไปนี้ไม่อยู่ใน ผังงาน(Flowchart)   1. 2.

  3. 4.      

8. จากภาพ สัญลักษณ์ผังงานแสดงกระบวนการใด

  1. เทปแม่เหล็กเก็บข้อมูล 2. แสดงการประมวลผล   3. แสดงการรับข้อมูลเข้า 4. แสดงจุดเริ่มต้น และจบการทำงาน       9. จากภาพ สัญลักษณ์ผังงานแสดงกระบวนการใด   1. แสดงการประมวลผล 2. เทปแม่เหล็กเก็บข้อมูล   3. แสดงจุดเริ่มต้น และจบการทำงาน 4. แสดงการรับข้อมูลเข้า - ออกโดยทั่วไป       10. จากภาพ สัญลักษณ์ผังงานแสดงกระบวนการใด   1. การป้อนข้อมูลเข้าด้วยมือ 2. เทปแม่เหล็กเก็บข้อมูล   3. แสดงจุดเริ่มต้น และจบการทำงาน 4. แสดงการรับข้อมูลเข้า - ออกโดยทั่วไป       11. ผังงานแบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง   1. ผังงานระบบ ผังงานวงจร 2. ผังงานโปรแกรม ผังงานระบบ   3. ผังงานโปรแกรม ผังงานวงจร 4. ผังงานวงจร ผังงานเชื่อมโยง       12. ความหมายของผังงานคือข้อใด   1. เป็นที่จัดเก็บโปรมแกรม     2. ใช้เป็นแค่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเท่านั้น     3. สัญลักษณ์ รูป ที่ใช้แทนคำพูดหรือคำอธิบายในอัลกอลิทึม   4. คำพูดหรือคำอธิบายที่ใช้แทนขั้นตอนสัญลักษณ์ รูปภาพในอัลกอลิทึม       13. ข้อใดคือหลักการเขียนผังงาน   1. ใช้สัญลักษณ์ที่ไม่เป็นมาตรฐาน     2. ไม่กำหนดทิศทางการไหลของข้อมูล     3. ไม่คำนึงถึงความเหมาะสมของขนาดสัญลักษณ์     4. จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของงานควรมีเพียงจุดเดียว         14. ผังงานระบบมีลักษณะเป็นแบบใด   1. คำอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด     2. เป็นผังแสดงขั้นตอนการทำงานภายในระบบ     3. สามารถหาข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดได้     4. เป็นผังแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานในโปรแกรมคอมพิวเตอร์       15. จงบอกความหมายของผังงานโปรแกรม   1. เป็นการเขียนคำอธิบายที่ชัดเจนและสั้น     2. ประกอบด้วยเส้นและสัญลักษณ์รูปต่างๆ     3. เป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน     4. เป็นผังแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานในโปรแกรมคอมพิวเตอร์    

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก