ต่อสู้กับพม่า หลายครั้ง เพื่อ ปกป้อง กรุงศรีอยุธยา

"...ข้าพระองค์ผู้ผ่านพิภพกรุง ศรีสัตนาคนหุต ขอถวายอภิวาทวันทนามายังสมเด็จพระปิตุราธิราช ผู้ผ่านพิภพกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยาฯ... ข้าพระองค์ยังไป่มีเอกอัครราชกัลยาณี ที่จะสืบศรีสุริยวงศ์ ในกรุงศรีสัตนาคนหุตต่อไปมิได้ ข้าพระองค์ขอพระราชทานพระราชธิดาอันทรงพระนามพระเทพกษัตรี ไปเป็นปิ่นศรีสุรางคนิกรกัญญา ในมหานคเรศปราจีนทิศ เป็นทางพระราชสัมพันธไมตรีสุวรรณปัฐพีแผ่นเดียวกันชั่วกาลปวสาน..."

ซึ่งการที่พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต มีพระราชสาส์นมาทูลขอพระเทพกษัตรี พระราชธิดาในครั้งนั้น กล่าวกันว่า เป็นเพราะทรงสดับเรื่องราวแห่งพระวีรกรรมในสมเด็จพระสุริโยทัย พระราชชนนี ก็ปรารถนาที่จะได้หน่อเนื้อเชื้อไข แห่งพระวีรกษัตรีไปเป็นพระอัครมเหสี ดังมีความในพระราชพงศาวดารบันทึกไว้ต่อมาว่า ในครั้งนั้นพระเทพกษัตรีกำลังทรงพระประชวรอยู่ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึงพระราชทานพระแก้วฟ้าพระราชธิดาไปแทน แต่พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตได้ขอถวายพระแก้วฟ้าคืน โดยทรงมีเหตุผลว่า

"...เดิมเราจำนงขอพระเทพกษัตรี ซึ่งเป็นพระราชธิดาพระสุริโยทัย อันเสียพระชนม์แทนพระราชสามีกับคอช้าง เป็นตระกูลวงศ์กตัญญูอันประเสริฐ ตรัสแล้วก็แต่งให้พระยาแสน พระยานคร พระยาทิพมนตรี เป็นทูตานุทูตให้มาส่งพระแก้วฟ้าราชบุตรีคืนยังกรุงพระนครศรี อยุธยา..."

การขอพระราชทานพระเทพกษัตรี พระราชธิดาในสมเด็จพระสุริโยทัยครั้งนี้ ปรากฏความต่อมาว่า เมื่อพระราชธิดาทรงหายจากอาการพระประชวรแล้ว ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเชิญเสด็จไปยังกรุงศรีสัตนาคนหุต แต่พระเจ้าหงสาวดีได้ให้กองทัพคุมกำลังมาสกัด และอัญเชิญพระเทพกษัตรีไปยังกรุงหงสาวดีเสียก่อน

พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต จึงมิได้พระเทพกษัตรีพระราชธิดาสมเด็จพระสุริโยทัย ตามที่ทรงมีพระราชประสงค์ แต่ความตอนนี้ก็เป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า พระเกียรติคุณแห่งความกล้าหาญในสมเด็จพระสุริโยทัยนั้น เป็นที่เลื่องลือ และกล่าวขวัญถึงด้วยความยกย่องไปในแว่นแคว้นใกล้ไกล

สมเด็จพระสุริโยทัยพระองค์นี้ก็คือ สมเด็จพระอัยกีในมหาราชที่สำคัญพระองค์หนึ่งของไทยคือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช นั่นเอง

พระราชานุสรณ์แห่งสมเด็จพระสุริโย ทัย

เรื่องราวอันเป็นวีรกรรมในสมเด็จพระสุริโยทัย นอกจากจะมีกล่าวไว้ในบันทึกพระราชพงศาวดาร เป็นที่รับรู้ และเล่าขานสืบกันมาแล้ว ยังมีพระราชานุสรณ์ที่ปรากฏเป็นสถานที่ และปูชนียสถาน ซึ่งเกี่ยวเนื่องในพระองค์ ยังปรากฏมาจนทุกวันนี้ นั่นคือ พระเจดีย์ศรีสุริโยทัย ณ วัดสบสวรรค์ อันเป็นที่ถวายพระเพลิงพระศพ ณ กรุงศรีอยุธยานั่นเอง

ความเป็นมาของพระราชานุสาวรีย์แห่งนี้มี ความว่า เมื่อปลายรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หลังจากทรงมอบราชสมบัติให้สมเด็จพระมหิน- ทราธิราช พระราชโอรสแล้ว ก็ได้เสด็จมาประทับ ณ บริเวณสวนหลวง อันมีพระอารามสบสวรรค์ พระอนุสรณ์แห่งพระอัครมเหสีตั้งอยู่ ประดุจว่า ได้ประทับอยู่ใกล้พระมเหสีที่ทรงอาลัยยิ่ง

บริเวณนี้ต่อมาได้เป็นสถานที่ตั้งของพระราชวังหลังของพระนครศรีอยุธยา ด้วย ตราบจนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ในพุทธศักราช ๒๓๑๐ แล้วก็คงจะถูกทิ้งร้างเรื่อยมา จนถึงปลายรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการตั้งกรมทหารมณฑลกรุงเก่าขึ้น ในบริเวณที่เคยเป็นสวนหลวง วังหลัง และวัดสบสวรรค์ โดยมิทราบว่า สถานที่นั้น มีความสำคัญยิ่งในประวัติศาสตร์ จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จะเสด็จมาทรงประกอบพระราชพิธีสังเวยอดีตมหาราช ณ กรุงเก่าพระนครศรีอยุธยา ในพุทธศักราช ๒๔๕๑ พระยาโบราณราชธานินทร์ ได้ศึกษาสอบค้นเกี่ยวกับสถานที่ตั้งสำคัญในกรุงศรีอยุธยาขึ้น ทูลเกล้าฯ ถวายเป็นหนังสือชื่อ "อธิบาย แผนที่ พระนครศรีอยุธยา" ระบุสถานที่กรมทหารที่สร้างใหม่ว่า อยู่ตรงบริเวณที่เคยเป็นสวนหลวง วังหลัง และวัดสบสวรรค์

ตามหลักฐานที่พระยาโบราณราชธานินทร์ สอบค้นพบนี้ ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว "เหล่า เสนาข้าทูลละอองธุลีพระบาทราชบริพาร" จึงพร้อมใจกัน ขอพระบรมราชานุญาตสร้างอนุสาวรีย์เทิดพระเกียรติ จารึกข้อความสดุดีวีรกรรมอันยิ่งใหญ่ของสมเด็จพระสุริโยทัยไว้ในบริเวณ นั้น ซึ่งอยู่ใกล้ๆ กับพระเจดีย์ขนาดใหญ่ของวัดสบสวรรค์ที่ยังเหลืออยู่อีก ๑ องค์ พระเจดีย์องค์นี้เองที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธิบายไว้ในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาว่าเป็น "... พระเจดีย์ที่บรรจุพระอัฐิสมเด็จพระสุริโยทัย" และได้รับชื่อเรียกต่อมาว่า "พระ เจดีย์ศรีสุริโยทัย"

พระเจดีย์ศรีสุริโยทัย จึงเป็นปูชนียสถานของวัดสบสวรรค์เพียงแห่งเดียวที่ยังคงปรากฏมาจนปัจจุบัน

การถือพระเจดีย์องค์นี้เป็นพระราชานุสาวรีย์แห่งสมเด็จพระสุริโยทัย ก็เป็นเหตุผลที่ยอมรับนับถือได้ โดยไม่ขัดเขินใจแก่ผู้ถวายราชสักการะ

พระเจดีย์ศรีสุริโยทัยได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์และ งดงามสืบมา โดยเฉพาะในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ ทางการได้ปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ และยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระพุทธปฏิมากร ที่โปรดให้สร้างขึ้น ในวโรกาสมหามงคล ดังกล่าว มาประดิษฐานในพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย เมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๔ พระราชทานนามพระพุทธรูปองค์นี้ตามพระนามแห่งพระวีรกษัตรี และพระนามาภิไธยในพระองค์ว่า "พระ พุทธสุริโยทัยสิริกิติทีฆายุมงคล" และได้ทรงมีพระราชดำริให้ก่อสร้าง พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัยประดิษฐาน ณ ตำบลอันเป็นสถาน ที่ทรงสละพระชนม์ชีพ ในการศึกกับพม่า ณ บริเวณทุ่งมะขามหย่องอีกแห่งหนึ่ง

นับว่าพระวีรกรรมแห่งสมเด็จพระสุริโยทัย สมควรได้รับการจารึกในประวัติศาสตร์ชาติไทยสืบไปอีกนานเท่านาน

�˵ء�ó�͹���¡�ا�����ظ��

����������������˵ء�ó�͹���¡�ا�����ظ��
����������ا���駷�� 2 (�.�. 2307-2310)

�������ѧ�Т�鹤�ͧ�Ҫ������ ���ʴ�¡�Ѿ仵�������ͧ��ҧ � ���� �й����� ���Դ �����§���� ���Ǩ֧¡�Ѿ����ҵ��� � �.�. 2307 ����¡�Ѿ������ͧ�ҧ ��� 1. �ҧ���ͧ��§���� � ��������˺�������Ѿ � ��˹�����������ͧ�˹��ŧ�Ҩ��֧��ا�����ظ�� 2. �ҧ��ҹ਴������ͧ�� � �ѧ��ҹø������Ѿ �����ͧ�ҭ������ ���ͧ�ؾ�ó���� ��ҡ�ا�����ظ�� ����Ѻ�Ѿ�ͧ�¹�鹤Ҵ��üԴ���Դ��Ҿ��Ҩ���Ҷ֧��ا ��§��л���д��Ժ��Ѿ����� ��õ�����ͧ����͹���ҡ � ���Ҩ֧�Թ�Ѿ������� � �ǡ�����������ҧ����� ���� ���Ǻ�ҹ�ҧ�Шѹ ������վ���ᵡ����ҧ ���ͧ�ҡ������Ѻ��ê�������ͨҡ㹡�ا��� ���ºҧ�Шѹ�֧��ͧᵡ �.�. 2309 ��������ö���������ا�����ظ�� ��駤����������ҹ⾸������� ���������ا�����ʹĴٽ����֧Ĵ���� �ͧ�Ѿ�·��������ú���Ѻ�� �֧����������ѡ�����ͧ�����ҹ�� ��û�ͧ�ѹ��й�������ظ����͹��ŧ ������������ҹ���������ͧʹ��ҡ �������͡��Ȣ���ԡú ���������������դ������ʧ��е����ᵡ����Ժ��ҷ�Ѿ�����ѵԡ�Ҵ��͹��餹� ����������ا�����ظ������ 1 �� �Ѻ 2 ��͹ ��ا�����ظ�ҡ�����������繤��駷�� 2 ����� �.�. 2310

������¡�ا���駷���ͧᵡ��ҧ�ҡ������¡�ا�����á � �.�. 2112 ���

1. ������ѧ���ִ��Ѿ��Ѻ��� ����Դ�����п�鹵�����繻֡���ա 2. ��ا�����ظ���Ѻ��Թ���Ҥ����á 3. ���������������ͧ�����§ �й�鹨֧���ӹҨ੾��㹡�ا�����ظ����ҹ�� 4. ����͡�اᵡ���� ���������Ǻ��������繻�����Ҫ ��Ѵ��û���ͧ������ء��Ǻ����� 3,000 �� �ѡ�ҡ�ا�����ظ�ҷ�����⾸������� �������·ͧ�Թ���¤Ǻ������ѡ�����ͧ������ ����ͧ����˹�ҷ���¤��Ҽ�餹����纷�Ѿ�����ѵ���������ͧ����

Ref : http://www.search-thais.com/thaihis/ayut2307.htm 05/06/2008