การประมาณการระบบไฟฟ้า ปวส.

ไปยังเนื้อหาหลัก

การประมาณการระบบไฟฟ้า ปวส.
หน้าแรก
    • คุณยังไม่ได้เข้าสู่ระบบค่ะ (เข้าสู่ระบบ)

    ข้อมูล

    1. หน้าหลัก
    2. รายวิชาทั้งหมด
    3. สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง
    4. ระดับ ปวส.
    5. ปวส.ชั้นปีที่ 1
    6. การประมาณการระบบไฟฟ้า
    7. บทคัดย่อ

    การประมาณการระบบไฟฟ้า

    การประมาณการระบบไฟฟ้า ปวส.

    • อาจารย์: ธีรพัฒน์ พิมพ์สาลี


    Electrical System Estimations

    จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

    1. เข้าใจหลักการ ขั้นตอนการทำแบบติดตั้ง

    2. สามารถแยกและประมาณรายการวัสดุอุปกรณ์จากแบบ

    3. มีกิจนิสัยในการทำงานร่วมกับผู้อื่นด้วยความประณีต รอบคอบและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

    สมรรถนะรายวิชา

    1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักและวิธีการการวางแผนระบบงานไฟฟ้าจากแบบไฟฟ้า

    2. ประเมินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการและค่ารายการวัสดุอุปกรณ์

    3. ใช้โปรแกรมช่วยคำนวณเพื่อทำใบเสนอราคา

    คำอธิบายรายวิชา

    ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการดำเนินการ การวางแผนระบบงานระบบไฟฟ้าจากแบบไฟฟ้า ส่วนสำคัญของวิธีเดินสาย แยกรายการ การทำแบบติดตั้งจริง การประเมิน ประมาณการไฟฟ้าความต้องการ การจัดเตรียม ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ประมาณการไฟฟ้าและค่าแรงงาน การใช้โปรแกรมคำนวณช่วยในการทำใบเสนอราคา


    การประมาณการ

    ระบบไฟฟา้

    นายโยธี วุ่นฟกั

    มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ตาก

    คำนำ

    ในปัจจุบันการซื้อสินค้า และบริการต่างๆมีความสำคัญและความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการดำเนินงาน
    ของหน่วยงานต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเป็น หน่วยงานรฐั บาลหรือเอกชนเทคโนโลยีทีเ่ ปน็ สินค้าหรือบริการต่างๆ เข้ามา
    มีบทบาททสี่ ำคัญมากในทุกธุรกิจ ต้งั แต่ธรุ กิจขนาดเล็กจนไปถึงธุรกิจขนาดใหญ่ ล้วนไดม้ ีการนำเอาระบบการ
    ประมาณการมาช่วยในการดำเนินธุรกิจทั้งสิ้น เช่น การค้าขาย การธนาคาร การขนส่ง การคมนาคม การ
    บรกิ าร เป็นตน้ และระบบการประมาณการมีบทบาทสำคญั ต่อมนษุ ย์มากขน้ึ ทุกวัน ผูใ้ หบ้ รกิ ารหรอื ผรู้ ับบริการ
    น้นั จะต้องประมาณราคาสนิ คา้ หรือบริการกอ่ น เพ่อื เปน็ ตัวชว่ ยในการตดั สินใจทจ่ี ะรับบริการ นั้น

    การประมาณการระบบไฟฟ้าในหนังสือออนไลน์ (E-book) ผู้จัดทำ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ
    การศึกษาเรื่องต่างๆของการประมาณการระบบไฟฟ้า เช่น การประมาณการไฟฟ้า การวางแผนระบบงาน
    ระบบไฟฟา้ จากแบบไฟฟ้า การแยกรายการทำแบบติดต้ังจริง การจัดเตรียมค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงาน การใช้
    โปรแกรมคำนวณชว่ ยในการทำใบเสนอราคา เปน็ ต้น เพอ่ื ให้นกั ศึกษา และผู้ทสี่ นใจศึกษาค้นคว้ามีความรู้และ
    ความเข้าใจเกี่ยวกบั การประมาณการระบบไฟฟ้า มากยงิ่ ข้นึ

    การประมาณการระบบไฟฟ้า มีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในการซื้อสินค้าและบริการต่างๆใน
    ปจั จบุ ันน้ี ผู้จดั จงึ ไดร้ วบรวมขอ้ มูลต่างๆเก่ียวกบั การประมาณการระบบไฟฟ้า จากแหลง่ ข้อมลู ที่เกีย่ วขอ้ งต่างๆ
    ของประมาณการระบบฟฟ้า เช่น อินเตอร์เน็ต เอกสาร เพื่อหวังว่าการประมาณการระบบไฟฟ้าในหนังสือ
    ออนไลน์ (e-book จะเปน็ แหลง่ ความรู้สำหรับทผ่ี ้สู นใจไม่มากกน็ อ้ ย

    นายโยธี วุน่ ฟกั
    ผูจ้ ดั ทำ

    ~ข~ สารบญั

    คำนำ หน้าท่ี
    สารบัญ
    บทที่ 1 การประมาณการไฟฟ้า ก

    1.1 หลักการประมาณการไฟฟ้า
    1.2 การประมาณการไฟฟา้ ตามความต้องการ 1
    แบบฝกึ หัด 3
    เอกสารอา้ งองิ 9

    ~1~

    บทที่ 1 การประมาณการไฟฟา้

    1. หลักการประมาณการไฟฟา้

    การประมาณราคา (Cost Estimate) นั้น ผู้ประมาณราคา (Cost Estimator) ต้องมีความรู้ทาง
    วิชาการ ความรู้เกี่ยวกับงานที่ทําการประมาณราคา ความรู้ทางด้านวัสดุและมาตรฐานของวสั ดุแต่ละประเภท
    ความรู้ เกี่ยวกับแรงงาน กฎระเบียบและธรรมเนียมปฏิบัติที่ใช้ ดังนั้นผู้ประมาณราคาจึงต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับ
    การทํางาน และราคาท่ที นั สมยั เพื่อคดิ เปน็ ค่าใช้จา่ ยรวมอยู่ในงานให้ใกลเ้ คียงกบั คา่ ใช้จ่ายจริงมากทีส่ ดุ

    การประมาณการติดตั้งไฟฟ้า ส่วนใหญ่จะเป็นการประมาณการควบคู่ไปกบั การประมาณการก่อสร้าง
    ซึ่ง เป็นการคํานวณตน้ ทุนที่เป็นไปได้ของค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของเจ้าของโครงการ ทั้ง
    ด้าน สถาปัตยกรรมโครงสร้างระบบประกอบอาคาร เช่น ระบบไฟฟ้ากําลัง ระบบไฟฟ้าส่ื อสาร ระบบ
    สุขาภิบาล ระบบปรับอากาศ ระบบความปลอดภัย ระบบลิฟต์ และทางเลื่อน เป็นต้น เพื่อใช้เป็นหลักในการ
    ดำเนินการให้ ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการและกฎระเบียบข้อบังคบั ต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง

    1.1. ความหมายของการประมาณ

    ประมาณ (กริยา) หมายถงึ กะหรือคะเนให้ใกลเ้ คยี งจำนวนจริงหรือใหพ้ อเหมาะพอควร ประมาณการ
    (คํานาม) หมายถึง ปรมิ าณงานหรอื คา่ ใชจ้ า่ ยท่ีกะหรือกำหนดไว้อย่างครา่ ว ๆ

    ประมาณการ (กรยิ า) หมายถึง กะหรือกำหนดปริมาณงานหรือค่าใช้จ่ายไวอ้ ย่างครา่ ว ๆ เชน่
    ประมาณการในการก่อสรา้ ง (ราชบณั ฑิตยสถาน. 2556: 664)

    การประมาณ หมายถึง การวเิ คราะห์ การให้ความเห็น การพยากรณ์ หรอื การคาดหมายลว่ งหน้า
    ดงั นั้นการประมาณตน้ ทุนจึงเป็นการวิเคราะห์ หรือการให้ความเหน็ เกยี่ วกับค่าใช้จา่ ยทค่ี าดวา่ จะเกิดข้ึนใน
    กระบวนการทํางานหรือกระบวนการผลิต อาจเป็นการทาํ ผลิตภัณฑ์ จัดทาํ โครงการ หรือผลิตงานบริการ

    ราคา (คาํ นาม) หมายถึง มูลค่าของส่งิ ของทคี่ ิดเป็นเงนิ ตรา, จำนวนเงนิ ซงึ่ ไดม้ ีการชําระหรือตกลง จะ
    ชําระในการซ้ือขายทรพั ยส์ นิ (ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2556: 947)

    ราคา (Price) หมายถึง มูลค่าทจี่ ะนําไปใช้ในลกั ษณะของการตลาดอาจจะเทา่ กับตน้ ทนุ หรอื ราคา
    อาจจะถูกปรบั ปรุงให้ตรงกบั ความต้องการของตลาด ราคาเป็นคุณค่าท่ผี ้ทู ําผลิตภณั ฑ์เป็นผูก้ ำหนด และ ปกติ
    ราคาจะสงู กวา่ ต้นทุนการผลติ และการจาํ หนา่ ย โดยมีการบวกกําไรทีค่ าดหวงั เข้าไปในราคาน้นั แล้ว

    ตน้ ทนุ (Cost) หมายถึง ผลรวมของทรพั ยากรทีจ่ ะต้องใชเ้ พื่อการผลิตและนําผลิตภัณฑ์นั้น
    ออกจาํ หน่ายหรือใชป้ ระโยชน์

    ราคากลาง หมายถงึ ราคามาตรฐานท่ใี กลเ้ คียงความจรงิ ซึ่งสามารถจดั หาหรือจัดทาํ ไดจ้ ริง และ ใช้
    เปน็ ฐานสําหรบั เปรียบเทยี บราคาท่ผี ู้เขา้ ประกวดราคายื่นเสนอ

    สรุปได้ว่า การประมาณราคา หมายถึง การคํานวณหาปริมาณวัสดุ ค่าแรง และค่าดำเนินการที่ราคา
    ใกลเ้ คยี งกับคา่ ใช้จ่ายจรงิ มากท่ีสดุ ในการแยกรายการวสั ดุ คา่ แรง ค่าใช้จา่ ยเครือ่ งมอื เคร่อื งจักรแสดงค่าใช้จ่าย
    อ่นื ที่เกย่ี วข้องกบั งาน โดยมผี ลกบั ตวั แปรตามในดา้ นระยะเวลาของการทํางาน

    ~2~

    ดังนั้นการประมาณราคาจึงไม่ใชร่ าคาท่ีแท้จริง แต่อาจใกล้เคียงกับราคาจริงซึ่งไม่ควรจะ ผิดพลาดไป

    จากราคาท่แี ท้จริงเกนิ กวา่ 10%

    1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการประมาณราคา

    1.2.1 ทาํ งบประมาณการดำเนินการในข้ันต้น ซ่งึ จะตอ้ งศึกษาแบบและรายการอย่างละเอียด
    สํารวจ ปริมาณงานและวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ สอบราคาวัสดุอุปกรณ์ตามท้องตลาด ความพร้อมด้าน
    แรงงานรวมทั้ง ประสิทธิภาพการทํางานของคนงานที่มีอยู่ ตรวจสอบอัตราจ้างแรงงาน จัดหาแหล่ง
    จําหน่ายวัสดุอุปกรณ์ และ ควรจัดทําเป็นเอกสารหลักฐานลงในแบบแสดงรายการ ปริมาณงาน และ
    ราคา (BOQ) รวมถงึ ระบุแหลง่ ข้อมลู ที่ ใชป้ ระกอบการตดั สินใจ

    1.2.2 เจา้ ของงานหรือเจา้ ของโครงการใช้เป็นราคากลาง
    1.2.3 ผู้รบั เหมาใช้เสนอประมูลราคาและหาต้นทุน
    1.2.4 แยกรายการ ราคาวัสดอุ ปุ กรณ์ในการซ้ือ และคา่ แรงงาน

    1.3 จดุ มุง่ หมายในการประมาณราคา

    การประมาณราคา (Construction estimating) เป็นการพิจารณาค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการดำเนินงาน

    ก่อสร้าง โดยถอดประมาณขอวัสดุอุปกรณ์ ที่มีในแบบแปลนของงานก่อสร้าง (Drawing) และข้อกำหนดของ

    งาน (Speciation) สืบหาราคาของวัสดุอุปกรณ์นั้นและคำติดตั้งที่ใช้รวมทั้งคใู่ ช้ ง่ายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นแล้ว

    รวบรวมลงในรายการแสดงวัสคุอุปกรณ์ (Bill Of Quantity) ตามหมวดหมู่ของแต่ละรายการอุปกรณ์นั้นเพ่ือ

    ทำการส่งเข้าประมูลงานดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว ดังนั้นจึงเปรียบการประมาณราคาเป็นหัวใจของงาน

    ก่อสร้าง เพราะถ้าหากไม่มีการประมาณราคา หรือการประมาณราคาที่ดีพอเพื่อส่งเขา้ ประมูลงานแข่งขันแล้ว

    บริษทั ผู้รบั เหมากอ่ สร้างก็ไมส่ ามารถ ตงั้ อย่ตู ่อไปได้ เนอื่ งจากไมม่ ีงานเขา้ มาหล่อเลี้ยงพนกั งานในบริษทั

    1.4 คุณสมบตั ขิ องผปู้ ระมาณราคา

    ผู้ประมาณราคา ต้องมีความรู้ความสามารถในหลายด้านซึ่งต้องใช้ความรู้ความชำนาญและ
    ประสบการณ์ รวมทั้งมีเทคนิคเฉพาะตัวอย่างสูง ซึ่งจะได้มาซึ่งราคาที่ใกล้เคียงในการก่อสร้างจริงมากที่สุด
    ดงั น้ันคุณสมบัติของผ้ปู ระมาณราคาควรมดี ังนี้

    1. ต้องมคี วามรทู้ างด้านรปู แบบรายการทีจ่ ะแยกวัสดุ
    2. มคี วามรูเ้ รอื่ งวสั ดุก่อสรา้ งเป็นอยา่ งดี
    3. ต้องมีความรูท้ างดา้ นคณิตศาสตร์
    4. มีความรคู้ วามชำนาญในงานท่ปี ระมาณราคาเปน็ อยา่ งดี
    5. มีความรู้ในเรื่องแบบรูปแบบรายการที่ประมาณราคาที่สามารถแยกรายละเอียดของานใหญ่
    ออกเปน็ งานยอ่ ย ได้ละเอียดมากข้นึ
    6. มีความรเู้ รอื่ งวสั ดุกอ่ สร้างทใ่ี ช้ประมาณราคาเปน็ อย่างดี
    7. มีความละเอียดรอบคอบในการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบ และมีปฏิภาณไหวพริบในการ
    ประยุกต์โดยการนำขอ้ มลู ทเี่ กบ็ รวบรวมข้อมลู มาใชป้ ระมาณราคาไดร้ วดเร็วและถกู ตอ้ ง
    8. มีหลักการในการวนิ ิจฉยั ช่างสังเกตท่ดี เี กี่ยวกบั สภาพแวดล้อมในสถานท่ีก่อสร้าง

    ~3~

    9. มีความรู้และความเขา้ ใจทีส่ ามารถศึกษาเอกสาร สัญญา รายการประกอบแบบกอ่ สร้าง ที่จะมีผล
    กบั รายการกอ่ สร้างในด้านงานท่ีจะตอ้ งเสร็จตามกำหนดเวลา ถา้ งานไม่สรจ็ ตามกำหนดเวลาจะต้องมีค่าใช้จ่าย
    อนื่ ๆ เพมิ่ ขน้ึ เช่น คา่ ปรบั เป็นตน้

    2. การประมาณการไฟฟ้าตามความต้องการ

    ประเภทและความละเอียดถูกตอ้ งในการประมาณราคา
    1. การประมาณราคาเพื่อการวางแผน (Estimates for Conceptual Planning)
    2. การประมาณราคาเพื่อการศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการ (Estimates for Feasibility)
    3. การประมาณราคาระหว่างการออกแบบ (Estimates during Engineering and design)
    4. การประมาณราคาเพ่ือการกอ่ สร้าง (Estimates for Construction)
    5. การประมาณราคาเพื่อการเปลีย่ นแปลงงาน (Estimates for Change Orders)

    2.1 การประมาณราคาตามหมวดงาน

    2.1.1 ความแตกตา่ งของต้นทนุ (Cost) และราคา (Price)
    ต้นทุน หมายถึง ผลรวมของทรพั ยากรที่จะต้องใชเ้ พือ่ การผลิตและนำผลิตภัณฑ์นั้นออกจำหน่ายหรอื
    ใชป้ ระโยชน์
    ราคา หมายถึง มูลค่าที่จะนำไปใช้ในลักษณะของการตลาด ราคาอาจจะเท่ากับต้นทุนหรือราคา
    อาจจะถูกปรับปรุงให้ตรงกับความต้องการของตลาด ราคาเปน็ คณุ ค่าท่ีผู้ทำผลิตภัณฑ์เป็นผู้กำหนด และปรกติ
    ราคาจะสูงกว่าต้นทุนการผลติ และการจำหน่าย โดยมีการบวกกำไรท่ีคาดหวงั เขา้ ไปในราคาน้ันแล้ว
    ราคากลางคอื ราคามาตรฐานที่ใกลเ้ คียงความจรงิ ซง่ึ สามารถก่อสรา้ งหรือจดั หาไดจ้ รงิ และใช้เปน็ ฐาน
    สำหรับเปรยี บเทยี บราคาท่ีผู้เขา้ ประกวดราคายืน่ เสนอ

    2.1.2 องคป์ ระกอบของราคา
    องคป์ ระกอบของราคา ประกอบด้วย
    วสั ดุ

    • วัสดุธรรมชาติ
    • แหลง่ วสั ดุ
    • วัสดจุ ากการผลติ
    • แรงงานในการผลติ
    • เคร่อื งจักรในการผลติ
    • แรงงานในการลำเลยี ง
    • คา่ ขนสง่
    • ความสญู เสีย

    คา่ แรง

    • แรงงานคน
    • เคร่ืองมอื
    • เครอ่ื งจักร

    ~4~

    ค่าใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ (Factor F)

    • คา่ ดำเนนิ การ
    • กำไร
    • ภาษี
    • ดอกเบ้ยี
    • ฯลฯ
    เวลา
    2.1.3 ข้อควรพิจารณาเพ่อื เป็นแนวทางในการประมาณราคา
    เตรียมการ

    • ศกึ ษา แบบ ข้อกำหนด และเอกสารประกวดราคา
    • จดั แบ่งหมวดหมู่ของงาน
    • จัดทำบญั ชแี สดงปรมิ าณวสั ดุและราคา
    การดำเนนิ งาน

    • ถอดแบบ
    • จดั ทำตน้ ทุนต่อหน่วย
    • พจิ ารณาค่า Factor “F” ทเ่ี หมาะสม สรปุ เปน็ ราคาโครงการ
    • ตรวจทาน
    การเกบ็ ขอ้ มูล

    • รวบรวมราคางานที่ไดจ้ ดั ทำไว้ แยกเป็นหมวดหมู่
    • มีระบบการจัดเก็บทีด่ ี
    • ตดิ ตามผลการประกวดราคา เปรยี บเทยี บราคากบั ราคากลาง
    การปรบั ปรุงอยา่ งต่อเนื่อง

    ~5~

    2.2 การประมาณราคาวงจรยอ่ ย

    งานระบบไฟฟ้ารับผิดชอบโคยผู้รับเหมาไฟฟ้าโดยท่วั ไปมีมูลค่าประมาณ 15% ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับปริมาณ
    พลังงานไฟฟ้าและระดับแรงดันไฟฟ้าที่ใช้โดยแบ่งเป็นระบบย่อยได้แก่ ระบบไฟฟ้าระบบโทรศัพท์ ระบบ
    Fire Alarm ระบu MATV ระบบ Sound

    วงจรย่อย (Branch Circuit) เป็นวงจรส่วนสุดทา้ ยในระบบไฟฟ้าซึ่งมีโหลดไฟฟ้าต่ออยู่รายการวัสดุ
    อุปกรณใ์ นวงจรยอ่ ยมีทง้ั ชนดิ นบั ได้ และชนดิ ต้องวัดความยาว

    วงจรย่อย (Branch Circuit) หมายถึง ตัวนำวงจรในวงจรระหว่างอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินจุด
    สดุ ท้ายกบั จุดจา่ ยไฟ ซงึ่ อาจแบ่งออกเปน็ 4 แบบ ไดแ้ ก่ วงจรยอ่ ยเฉพาะ วงจรยอ่ ยสำหรับเครือ่ งใช้ไฟฟา้ วงจร
    ย่อยสำหรับจุดประสงค์ทัว่ ไป และวงจรยอ่ ยหลายสาย

    วงจรย่อยเฉพาะ (Individual Branch Circuit) หมายถึง วงจรข่อยที่จ่ายไฟฟ้าให้บริภัณฑ์ใช้สอย
    หนึง่ ขนึ้ เทา่ น้ัน

    วงจรย่อยสำหรับเครื่องใชไ้ ฟฟา้ (Appliance Branch Circuit) หมายถึง วงจรย่อยทีจ่ ่ายไฟฟ้าให้
    จุดจ่ายไฟทีม่ ีเครื่องใช้ไฟฟ้ามาตอ่ มากกว่า 1 จุดขึ้นไป เช่น วงจรไม่มีการต่อจากสายดวงโคมวงจรย่อยสำหรบั
    จุดประสงค์ท่ัวไป (General Purpose Branch Circuit) หมายถึง วงจรยอ่ ยทจ่ี า่ ยไฟฟา้ ใหก้ ับจุดจ่ายไฟเพื่อใช้
    สำหรับแสงสวา่ งและเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า

    วงจรย่อยหลายสาย (Multiwire Branch Circuit) หมายถึง วงจรย่อยซึ่งประกอบด้วยสายท่ีไม่ถูก
    ต่อลงดินตั้งแต่ 2 สายขึ้นไปซึ่งมีความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างสาย และมีสายที่มีการต่อลงดนิ 1 สาย โดยความ
    ต่างศักย์ไฟฟ้าของสายที่ไม่ถูกต่อลงดินแต่ละสายจะต้องเท่ากันและสายที่มีการต่อลงดินจะต้องต่อเข้ากับสาย
    นวิ ทรัล หรอื สายทมี่ ีการตอ่ ลงดนิ ของระบบ

    2.3 การประมาณราคาระบบไฟฟา้ แรงดนั ต่ำ

    สายไฟฟ้าแรงดนั ต่ำ
    สายไฟฟา้ มหี น้าที่สำหรบั นำพลงั งานไฟฟ้า จากแหล่งจ่ายไฟไปยงั บรภิ ัณฑ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ในปัจจุบันได้มี
    ผู้ผลิตสายไฟฟ้าขึ้นมากมายหลายชนิดตามความต้องการสำหรับการตดิ ตัง้ ในรูปแบบต่าง ๆ ดังนั้นการเลอื กใช้
    สายไฟฟ้าเพื่อให้มีความเหมาะสมปลอดภัย ประหยัด และ เชื่อถือได้ จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยหลายประการ
    ด้วยกัน ได้แก่ ความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ติดตั้ง ความสามารถในการนำกระแสของตัวนำ
    ขนาดแรงดนั ตกที่เกิดขึ้น ความสามารถในการทนต่อความร้อนทเ่ี กิดขึ้นทง้ั ในขณะใช้งานปกติและขณะเกิดการ
    ลัดวงจร สายไฟฟ้าแรงดันต่ำเป็นสายไฟฟ้าที่ใช้กับแรงดันไม่เกิน 1000 V มีลักษณะเป็นสายไฟฟ้าหุ้มด้วย
    ฉนวน โดยที่ตัวนำสำหรับสายไฟฟ้าชนิดนี้อาจจะใช้ทองแดงหรืออลูมิเนียม แต่ที่นิยมใช้สำหรับสายไฟฟ้า
    แรงดันต่ำ คือสายทองแดง สายไฟฟ้าขนาดใหญ่ มีลักษณะเป็นตัวนำตีเกลียว แต่ถ้าเป็นสายไฟฟ้าขนาดเล็ก
    ตัวนำก็จะเป็นตัวนำเดี่ยว วัสดุฉนวนที่ นิยมใช้กับสายไฟฟ้าแรงดันต่ำ ได้แก่ Polyvinyl Chloride (PVC)
    และ Cross-Linked Polyethylene ( XLPE )
    ส่วนประกอบของสายไฟฟ้า
    สายไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนประกอบท่ีสำคัญ 3 สว่ นไดแ้ ก่ ตัวนำ ฉนวน และเปลือก
    1. ตวั นำ (Conductor)
    ตัวนำของสายไฟฟ้าทำมาจากโลหะทีม่ ีความนำไฟฟ้าสูง อาจจะอยู่ในรูปของตัวนำเดี่ยว (Solid) หรือ
    ตัวนำตีเกลียว (Strand) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวนำเล็กๆ ตีเข้าด้วยกันเป็นเกลียวซึ่งมีข้อดีคือ การนำกระแสต่อ
    พื้นที่ของสายไฟฟ้าสูงขึ้น เนื่องจาก ผลของ Skin Effect ลดลง และการเดินสายทำได้ง่าย เพราะมีความอ่อน

    ~6~

    ตวั กวา่ โลหะทนี่ ยิ มใช้เป็นตัวนำใช้ผลิตสายไฟฟ้าได้แก่ ทองแดง อลูมเิ นยี ม โดยโลหะทั้งสองชนิดมีข้อดีข้อเสีย
    ตา่ งกันไปตามแต่ลักษณะของงาน

    ทองแดง ทองแดงเป็นโลหะที่มีความนำไฟฟ้าสูงมาก มีความแข็งแรง เหนียว ทนต่อการกัดกร่อนได้ดี
    แต่มีข้อเสียอยู่คือ มีน้ำหนักมากและราคาสายไฟฟ้าสูง จึงไม่เหมาะสำหรับงานด้านไฟแรงดันสูง แต่จะเหมาะ
    กบั การใช้งานสายไฟฟ้าโดยท่วั ไป โดยเฉพาะสายไฟฟา้ ในอาคาร

    อลูมิเนียม เป็นโลหะที่มีความนำไฟฟ้าสูงรองจากทองแดง แต่เมื่อเปรียบเทียบในกรณีกระแสเท่ากัน
    แล้ว พบว่า สายไฟฟ้าอลูมิเนียมจะมีน้ำหนักเบาและราคาสายไฟฟ้าถูกกว่าราคาสายไฟฟ้าทองแดง จึงเหมาะ
    กับงานเดินสายไฟนอกอาคารและแรงดันสูงถ้าทิ้งอลูมิเนียมไว้ในอากาศจะเกิดออกไซด์ของอลูมิเนียม ซึ่งมี
    คุณสมบัติเป็นฉนวนฟิล์มบางๆ เกาะตามผิว ช่วยป้องกันการสึกกร่อน แต่จะมีข้อเสียคือ ทำให้การเช่ือมต่อทำ
    ไดย้ าก

    สภาพตา้ นทานไฟฟา้ (อังกฤษ : electrical resistivity) คอื ปริมาณการวัดของการต่อตา้ นการไฟลของ
    กระแสไฟฟ้าในวัสดุ ค่าสภาพต้านทานไฟฟ้าบ่งชี้ว่าวัสดุยินยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้ง่าย หน่วยในระบบ

    หน่วยวัดระหว่างประเทศของสภาพต้านทานไฟฟ้าคือ โอห์ม เมตร (Ωm) ซึ่งจะแสดงในรูปอักษรกรีกตัว

    ρ (โร)
    ค่าตา้ นทานไฟฟ้าของโลหะ (ที่ 20°C)

    1) เงิน-Sliver = 1.59×10-8 Ωm

    2) ทองแดง-Copper = 1.68×10-8 Ωm

    3) ทองคำ-Gold = 2.44×10-8 Ωm

    4) อลมู เิ นยี ม-Aluminium = 2.82×10-8 Ωm
    โลหะที่นำกระแสไฟฟ้าได้ดีที่สุดเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย 4 อันดับแรก คือ เงิน – ทองแดง –
    ทอง – อลมู ิเนยี ม
    โลหะท่รี าคาแพงเรยี งลำดับจากมากไปหาน้อย 4 อนั ดับแรก คอื ทอง – เงิน – ทองแดง – อลมู ิเนียม
    2. ฉนวน (Insulation)
    ฉนวนของสายไฟฟ้าทำหนา้ ที่หอ่ หุม้ ตัวนำ เพ่อื ปอ้ งกนั การสัมผัสกนั โดยตรงระหวา่ งตวั นำหรือระหว่าง
    ตัวนำกับส่วนที่ต่อลงดิน และป้องกันตัวนำจากผลกระทบทางกลและเคมีต่างๆ ในระหว่างที่ตัวนำ นำ
    กระแสไฟฟ้าจะเกิดพลังงานสูญเสีย ในรูปของความร้อน ความร้อนที่เกิดขึ้นจะถ่ายเทไปยังเนื้อฉ นวน
    ความสามารถในการทนต่อความร้อนของฉนวนจะเป็น ตัวกำหนดความสามารถในการทนความร้อนของ
    สายไฟฟ้านั่นเอง การเลือกใช้ชนิดของฉนวนจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิใช้งาน ระดับแรงดันของระบบ และ
    สภาพแวดล้อมในการตดิ ต้ัง วัสดุที่นยิ มใชเ้ ป็นฉนวนสายไฟฟา้ มากทสี ดุ คือ
    Polyvinly Chloride (PVC) และ Cross linked Polyethylene (XLPE) ฉนวน XLPE มคี วามแขง็ แรง
    ทนต่อความรอ้ นและถา่ ยเทความรอ้ นได้ดีกว่าฉนวน PVC ปัจจบุ ันจึงมีการใช้ฉนวน XLPE เพิ่มมากขน้ึ
    PVC อณุ หภมู ใิ ชง้ าน 70°C และ 90°C
    XLPE อุณหภูมิใชง้ าน 90°C
    3. เปลือก (Sheath)
    เปลอื กทำหน้าท่ีหุ้มแกนหรือห้มุ สายไฟฟ้าช้ันนอกสุด เปลือกของสายไฟฟ้าอาจจะมี 1 หรือ 2 ชั้นก็ได้
    เพื่อป้องกันความเสียหายทางกายภาพที่อาจเกิดขึ้นในขณะติดตั้งหรือใช้งาน การเลือกใช้ชนิดของเปลือก
    สายไฟฟ้าจะข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อมในการติดตั้งวัสดุ ท่ีนิยมทำเป็นเปลือกสายไฟฟ้ามากทส่ี ุด คือ Polyvinly

    ~7~

    Chloride (PVC) และ Polyethylene (PE) ส่วนกรณีสายไฟฟ้าที่ต้องการคุณสมบัติ พิเศษก็อาจใช้วัสดุ เช่น
    Flame Retardant Polyvinyl Chloride (FR-PVC) หรอื Low Smoke Halogen Free (LSHF) กไ็ ด้

    สายไฟฟ้าที่หอ่ หุ้มภายนอกด้วยด้ายถัก ไดแ้ ก่ สายไฟฟ้าทห่ี ่อห้มุ ด้วยยาง แตภ่ ายนอกจะถกั ด้ายห่อหุ้ม
    อีกชั้นหนงึ่ ใช้กับเตารดี และเคร่ืองใหค้ วามร้อน

    สายหุ้มยาง เป็นสายไฟฟ้าที่หุ้มด้วยยางที่มีทั้งแบบธรรมดาและแบบนทนความร้อน สายไฟฟ้าแบบน้ี
    จะเปื่อยและเส่ือมคณุ ภาพเร็ว ปัจจบุ นั ไม่คอ่ ยนิยมใชง้ าน

    สายไฟฟ้าหุ้ม PVC ชนิดนี้มีความทนทานต่อดิน ฟ้า อากาศ ไม่ติดไฟ ทนความร้อน แข็งเหนียว
    ไมเ่ ปื่อยงา่ ย นยิ มใช้งานมากทสี่ ุด

    สายไฟฟ้าหุ้มพลาสติกธรรมดา เป็นสายอ่อนเส้นเล็ก ภายในมีหลายเส้น เป็นสายไฟที่ไม่ถาวร
    ตดิ ไฟไดง้ ่าย

    สายไฟฟา้ เดย่ี ว เปน็ สายไฟฟา้ 1 เสน้ มี 1 แกน ใช้เดินทง้ั ภายในและภายนอกอาคาร สายไฟฟา้ ชนิดนี้
    ถ้าเดินในอาคารนิยมใช้ร้อยในท่อแล้วยึดท่อติดกับผนัง หรือฝังท่อในเสาหรือพื้น บางครั้งก็นำมาใช้เดิน
    ภายนอกอาคาร การเดนิ สายไฟฟา้ เด่ยี วนีไ้ ม่นยิ มเดินตคี ลิป (ตีก๊ิบ) แต่จะเดนิ ในท่อหรือวางรางเหลก็ เสมอ หรือ
    ยึดตดิ กับผนงั โดยใช้กบั ยดึ เปน็ ช่วงๆ

    สายไฟฟ้าคู่ เป็นสายไฟฟ้าท่ีใช้เดินในอาคาร เปน็ สายไฟฟา้ ชนิด 1 เส้นมี 2 แกน หรืออาจทำพิเศษให้
    มี 3 แกน โดยมสี ายดินอกี 1 แกน

    สายไฟฟ้าเคเบิ้ลใต้ดิน เป็นสายไฟฟ้าชนิดที่มีฉนวน PVC หุ้มลวดทองแดงอยู่แล้วยังมีฉนวนหุ้ม
    ภายนอกอีกชนั้ หนงึ่

    สายไฟฟ้าเคลือบน้ำยาหรือสายอีนาเมล เป็นสายเปลือกที่เคลือบน้ำยาเคมี ใช้งานกันมากในงานพัน
    ขดลวดไดนาโม มอเตอร์ หมอ้ แปลง ฯลฯ

    สายไฟฟา้ ที่มเี ปลือกโลหะหมุ้ นิยมใช้ฝงั เข้ากับผนังตกึ สายไฟฟ้าชนิดนมี้ รี าคาแพง
    สายไฟฟ้าอลมู เิ นียมหมุ้ ด้วยฉนวน PVC
    สายไฟฟ้าชนิดนี้จะมีตัวนำเป็นอลูมิเนียมแบบตีเกลียวไม่อัดแน่นหรือแบบตีเกลียวอัดแน่น และหุ้ม
    ด้วยฉนวน PVC โดยอาจจะเป็น PVC ธรรมดา หรือเป็นแบบ Heat Resistant PVC ก็ได้ สามารถใช้ได้กับ
    แรงดันไม่เกนิ 750V. สายไฟฟ้าชนิดนจี้ ะเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. 293-2541
    สายไฟฟ้าอลูมิเนียมหุ้มด้วยฉนวน PVC สามารถใช้งานในระบบจำหน่ายแรงต่ำ เดินภายนอก อาคาร
    เป็นสายประธาน ( Main ) หรือสายป้อน ( Feeder ) โดยจะใช้เดินในอากาศเหนือพื้นดิน ทางการไฟฟ้านคร
    หลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ใช้สายชนิดนี้เป็นาสายประธานแรงต่ำ เดินมาจากหม้อแปลงจำหน่าย
    (Distribution Transformers) พาดบนลูกถ้วยตามเสาไฟฟ้าหรือหรอื ใต้ชายคาบ้านหรือตึกแถว เพื่อจ่ายไฟฟ้า
    ให้กบั ผใู้ ช้ สายชนิดนี้มีราคาถูกและรับแรงดึง ไดพ้ อควร
    สายไฟฟ้าทองแดงหุ้มด้วยฉนวน PVC
    เนื่องจากทองแดง มีคุณสำบัติข้อดีที่เหนือกว่าอลูมิเนียมหลายประการด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นโลหะที่มี
    ความนำไฟฟ้าสูงกว่า การตัดต่อก็ทำได้ง่ายกว่า จึงนิยมใช้สายไฟฟ้าชนิดนี้กันมาก สายไฟฟ้าทองแดงหุ้มด้วย
    ฉนวน PVC มีมากมายหลายชนิดแต่ละชนดิ กเ็ หมาะกับงานแต่ละแบบ ทำใหส้ ามารถใชส้ ายไฟฟา้ ชนิดน้ีกับงาน
    ได้กว้างขวาง ตั้งแต่เป็นสายเชื่อมวงจรเล็กๆ จนกระทั่งสายประธานหรือสายป้อน ในที่นี้จึงจะขอกล่าวถึง
    สายไฟฟ้า ตาม มอก. 11-2553 โดยจะกลา่ วถึงสายไฟฟา้ ทีใ่ ช้งานในการเดนิ สายถาวรท่ใี ชก้ นั โดยท่ัวๆไป

    ~8~

    รูปที่ 2.1 สายไฟฟา้ ทองแดงหุ้มด้วยฉนวน PVC
    ทมี่ า : https://www.nineled.com/อปุ กรณ์ไฟฟ้า/
    สายไฟฟา้ ทองแดงหมุ้ ด้วยฉนวน XLPE
    สายไฟฟ้าชนิดนี้ ทำตามมาตรฐาน มอก. 2143-2546 (IEC 60502-1) มีฉนวน และเปลือก
    แรงดันไฟฟ้าที่กำหนด 0.6/1 kV มีจำนวนแกน 1-4 แกน เนื่องจาก ฉนวน XLPE สามารถทนความร้อนได้ 90
    °C จึงนำกระแสไดส้ งู กวา่ สายหุ้มฉนวน PVC มักนยิ มใชเ้ ปน็ สาย Feeder, Main

    รปู ที่ 2.2 สายไฟฟ้าทองแดงหุ้มด้วยฉนวน XLPE
    ท่ีมา : https://www.nineled.com/อปุ กรณ์ไฟฟ้า/
    การใช้งาน
    • ใชง้ านท่วั ไป
    • รอ้ ยทอ่ ฝงั ดินหรอื ฝังดนิ โดยตรง
    • เดินบน Cable Trays
    • การติดตงั้ ในอาคารต้องเดินในท่ีปิดมิดชดิ ยกเวน้ เปลือกนอกของสายมีคุณสมบัติต้านทานการ
    ลุกไหม้ (Flame retardant) TEC 690332-3 Category C ต้องคำนงึ ถึงพกิ ัดกระแส และ อณุ หภมู ิของอุปกรณ์
    ท่จี ะนำไปใช้ประกอบรว่ มกับสายให้มคี วามสัมพนั ธ์กันด้วย

    ~9~

    แบบฝกึ หดั

    คำชแี้ จง จงทำเครื่องหมาย X ข้อท่ีถูกท่สี ุด
    1. ความหมายของการประมาณการไฟฟ้า

    ก. เพือ่ ใชเ้ ปน็ หลักในการดำเนนิ การให้ ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการและกฎระเบียบข้อบังคับตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง
    ข. เปน็ การคาํ นวณตน้ ทุนที่เป็นไปได้ของคา่ ใช้จ่ายต่าง ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถุประสงคข์ องเจา้ ของโครงการ
    ค. เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยรวมอยู่ในงานใหใ้ กลเ้ คียงกบั ค่าใช้จา่ ยจรงิ มากท่ีสุด
    ง. กฎระเบยี บและธรรมเนียมปฏบิ ัตทิ ี่ใช้
    2. Cost Estimator ตอ้ งมีความรทู้ างดา้ นใด
    ก. ความรูท้ างด้านวัสดแุ ละมาตรฐานของวสั ดุ
    ข. ความรู้ทางด้านการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
    ค. ความร้ทู างด้านการออกแบบ
    ง. ความร้ทู างด้านการคำนวณ
    3. ประมาณ ทเ่ี ป็นคำกริยา หมายถงึ
    ก. กะหรอื กำหนดปรมิ าณงานหรือค่าใชจ้ ่ายไวอ้ ย่างคร่าว ๆ
    ข. การวเิ คราะห์ การให้ความเหน็ การพยากรณ์
    ค. กะหรือคะเนให้ใกล้เคียงจำนวนจรงิ
    ง. การคำนวณ
    4. Price หมายถึง
    ก. มูลคา่ ท่ีจะนําไปใชใ้ นลักษณะของการตลาดอาจจะเทา่ กับต้นทนุ
    ข. ผลรวมของทรพั ยากรท่จี ะตอ้ งใช้เพอ่ื การผลติ
    ค. ราคามาตรฐานท่ใี กลเ้ คียงความจริง
    ง. มลู ค่าของสิง่ ของที่คิดเป็นเงนิ ตรา
    5. Cost หมายถึง
    ก. มลู คา่ ทจ่ี ะนําไปใช้ในลักษณะของการตลาดอาจจะเท่ากับต้นทนุ
    ข. ผลรวมของทรพั ยากรท่ีจะต้องใชเ้ พอ่ื การผลติ
    ค. ราคามาตรฐานที่ใกลเ้ คียงความจรงิ
    ง. มูลค่าของสง่ิ ของที่คิดเป็นเงินตรา
    6. คุณสมบตั ิของผูป้ ระมาณราคามกี ่ีขอ้
    ก. 6 ขอ้
    ข. 7 ข้อ
    ค. 8 ขอ้
    ง. 9 ข้อ
    7. องคป์ ระกอบของราคา ประกอบดว้ ย
    ก. วสั ดุ ค่าแรง เวลา คา่ ใช้จ่ายอื่น ๆ
    ข. วสั ดุ คา่ แรง ค่าใช้จา่ ยอ่ืน ๆ
    ค. วัสดุ คา่ แรง เวลา
    ง. วัสดุ คา่ แรง

    ~9~

    8. ข้อควรพิจารณาเพอ่ื เป็นแนวทางในการประมาณราคา คือ
    ก. เตรียมการ การดำเนนิ งาน การเก็บข้อมูล การปรับปรงุ อยา่ งต่อเน่ือง
    ข. เตรยี มการ การดำเนินงาน การเกบ็ ข้อมลู การประเมนิ ผล
    ค. เตรยี มการ การดำเนินงาน การปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเน่ือง
    ง. เตรยี มการ การดำเนนิ งาน การเก็บข้อมลู

    เอกสารอา้ งองิ

    ชายชาญ โพธิสาร.การประมาณราคาระบบไฟฟ้า-ส่ือสารสำหรับอาคาร.กรุงเทพฯ : สมาคมวิศวกรออกแบบ
    และปรกึ ษาเครอ่ื งกลและไฟฟ้าไทย,2552.

    สม าคมช่างเห ม าไฟ ฟ้ าแล ะเคร่ืองกล ไทย .คู่มื อการป ระมาณ ราคางาน ติดต้ังระบ บ ไฟฟ้ าแล ะเครื่องกล .
    กรุงเทพฯ : สมาคมชา่ งเหมาไฟฟ้าและเคร่ืองกลไทย,ม.ป.ป.

    การไฟฟ้านครหลวง.มาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 (ฉบั บปรับปรุงคร้ังท่ี
    1 พ.ศ. 2551).กรงุ เทพฯ : วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย(วสท.),2551.

    ลือชัย ทองนิล.การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้า.พิมพ์คร้ังที่ 13.กรุงเทพฯ :
    สำนกั พมิ พ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย – ญ่ีปนุ่ ),2549.

    รศ.ธนบูรณ์ ศศภิ านเุ ดช.การออกแบบระบบฟฟ้า.กรงุ เทพฯ : ซีอ็ดยเู คช่ัน,2561.

    ธำรงศกั ด์ิ หมนิ กำหรีม.การประมาณการติดตั้งไฟฟา้ .นนทบุรี : บรษิ ัทศนู ย์หนังสอื เมืองไทย จำกัด,2562.

    มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ตาก