วิชาพลังงานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 20001-1002 เฉลย

ศึกษาเกี่ยวกับพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ประเภทของพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับการดำรงชีวิต การใช้ประโยชน์ของพลังงาน พลังงาน ทดแทนและทรัพยากร สถานการณ์ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใช้พลังงานและทรัพยากร แนวทางป้องกัน และแก้ไขปัญหาพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักการและวิธีการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

  1. เข้าใจหลักการ วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหาและการอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  2. สามารถประยุกต์ใข้หลักการและวิธีการเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาและอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ

  3. มีเจตคติที่ดีต่อการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ

สมรรถนะรายวิชา

  1. แสดงความรู้เกี่ยวกับพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักการและวิธีการป้องกันแก้ไขปัญหาและ อนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

    ใบความรู้ วิชาพลงั งาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม (Energy, Resources and Environment Conservation) รหัสวชิ า ๒๐๐๐๑-๑๐๐๒ รายวิชาพลังงาน ทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม จานวน ๒ หน่วยกิต 2–0-2 จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่อื ให้ 1. เขา้ ใจหลกั การวิธีการปอ้ งกันแกไ้ ข้ ปญั หาและการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม 2. สามารถประยุกต์ใช้หลกั การและวิธกี ารเพ่อื ป้องกนั แก้ไข้ ปัญหาและอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อมในงานอาชีพ 3. มเี จตคติทดี่ ีตอ่ การอนรุ ักษพ์ ลังงาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อมในงานอาชีพ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับพลังงาน ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม หลักการและวธิ กี ารปอ้ งกันแก้ไขปัญหาและอนุรกั ษพ์ ลงั งาน ทรัพยากรและ ส่ิงแวดล้อม 2. วิเคราะหส์ ภาพปัญหาและผลกระทบที่เกดิ จากการใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อม 3. วางแผนป้องกันแกไ้ ข้ ปัญหาและผลกระทบท่เี กิดจากการใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ 4. วางแผนการอนุรักษ์พลังงาน ทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ มในงานอาชีพ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับพลังงานทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ประเภทของพลังงาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมความสัมพันธ์ของพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับการดํารงชีวิต การใช้ประโยชน์ของพลังงาน พลังงานทดแทนและทรัพยากร สถานการณ์ปัญหาและ ผลกระทบท่ีเกิดจากการใช้พลังงานและทรัพยากรแนวทางป้องกันและแก้ไข ปัญหาพลังงาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม หลักการและ วธิ กี ารอนุรักษ์พลงั งานทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อม กฎหมายและนโยบายทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

    หน่วยท่ี 1 การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

    ลกั ษณะทาง การถ่ายทอดลกั ษณะ การศึกษา พนั ธุกรรม ทางพนั ธุกรรม พนั ธุศาสตร์ โครโมโซม สารพนั ธุกรรม

    1. ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

    1.1 ความแปรผนั ของลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ความแปรผนั ของลกั ษณะทางพนั ธุกรรม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) ลักษณะทางพันธุ กรรมที่มีความแปรผันแบบต่อเนื่ อง (Continuous variation) เป็ นลกั ษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีแตกต่างกนั ทีละนอ้ ย ไม่ชดั เจน เช่น ลกั ษณะผิวของคนมีต้งั แต่ดาสนิท ดาปานกลาง ดานอ้ ยลง เร่ือยๆ จนถึงผวิ ขาว ความสูง สติปัญญา น้าหนกั เป็นตน้ 2) ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous variation) เป็ นลกั ษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีแตกต่างกนั อยา่ ง ชดั เจน เช่น ลกั ยมิ้ การเวียนขวญั ของผมบนศีรษะ การถนดั ซา้ ยถนดั ขวา หมู่เลือดคือ หมู่ A, B, AB, O หมู่เลือด Rh คือ Rh + และ Rh -

    1.2 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมกบั ส่ิงแวดล้อม ลกั ษณะของส่ิงมีชีวติ บางลกั ษณะแปรผนั ตามอิทธิพลของ ส่ิงแวดลอ้ ม เช่น ขนาดหรือน้าหนกั สีผิว สติปัญญา

    2.การศึกษาพนั ธุศาสตร์

    2.1 การทดลองของเมนเดล เมนเดล ทาการผสมพนั ธุ์ถว่ั ลนั เตาที่มีลกั ษณะแตกต่างกนั เป็ นคู่ๆ เขา้ ดว้ ยกนั พบว่าลูกผสมรุ่นแรกที่ได้ เรียกว่า F1 มี ลกั ษณะเหมือนกับพนั ธุ์ใด พนั ธุ์หน่ึง ที่มีลักษณะเด่น เมื่อ ปล่อยให้ลูกรุ่ นที่ 1 (F1) ผสมกันเองจะได้ลูกผสมรุ่ นที่ 2 เรียกวา่ F2 มีลกั ษณะเหมือนพ่อแม่ ในอตั ราส่วนคงที่ คลา้ ยกนั ทุกคู่ ลกั ษณะ ในอตั ราส่วน 3 : 1 เสมอ

    การผสมพนั ธ์ุโดยพจิ ารณาลกั ษณะเดยี ว (Monohybrid Cross) เป็นการผสมพนั ธุ์ โดยพจิ ารณา ลกั ษณะใด ลกั ษณะหน่ึง เพยี งลกั ษณะเดียว

    การผสมพนั ธ์ุโดยพจิ ารณาลกั ษณะเดยี ว (Monohybrid Cross) เมนเดลทาการผสมพนั ธุ์ถว่ั ลนั เตาทีละลกั ษณะ จนครบท้งั 7 ลกั ษณะโดยทาการทดลองดงั น้ี

    แสดงลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของถั่วลนั เตาที่สาคญั 7 ลักษณะ ท่ีเมนเดลได้ทาการศึกษา

    การทดลองของเมนเดล 1. เลือกถวั่ ลนั เตาท่ีมีลกั ษณะท่ี 1 คือ เมลด็ กลมพนั ธุ์แท้ มาผสมกบั เมลด็ ขรุขระ โดยมีข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ที่ 1 ตดั อบั เรณูของดอกถว่ั พนั ธุ์เมลด็ ขรุขระทิ้ง ต้งั แตย่ งั ตมู ห่อดว้ ย ถุงพลาสติกเพือ่ ป้องกนั ละอองเรณูพนั ธุ์อื่นเขา้ ไปผสมพนั ธุ์ได้ ข้นั ท่ี 2 เม่ือดอกโตเตม็ ท่ีจึงเข่ียละอองเรณูของดอกถว่ั พนั ธุเ์ มลด็ กลมบน ยอดเกสรตวั เมีย ของดอกพนั ธุเ์ มลด็ ขรุขระ ท่ีหุม้ ดว้ ยถุงพลาสติกแลว้ ห่อ ไวอ้ ยา่ งเดิม บนั ทึกผลการเกิดลูก รุ่นที่ 1 และ รุ่นท่ี 2

    การทดลองของเมนเดล 2. ทาการทดลองซ้า โดยสลบั พนั ธุ์กนั ระหวา่ งเมลด็ กลม และเมลด็ ขรุขระ โดยเอาละอองเรณูจากพนั ธุ์เมลด็ ขรุขระไปผสม กบั เซลลไ์ ข่ของพนั ธุ์เมลด็ กลม บนั ทึกผลการเกิดลกู รุ่นที่ 1 และ รุ่นที่ 2 3. ทาการทดลองแบบเดียวกนั อีก 6 ลกั ษณะ ปรากฏผลดงั น้ี

    แสดงผลการทดลองการผสมพนั ธุ์โดยพิจารณาลกั ษณะเดียว ลกั ษณะที่ศึกษา รุ่นพ่อแม่ (P) ลูกรุ่นท่ี 1 (F1) ลูกรุ่นที่ 2 (F2) อตั ราส่วน 1. รูปร่างเมลด็ กลม x ขรุขระ กลม กลม : ขรุขระ 2.96:1 2. สีเน้ือเมลด็ เหลือง x เขียว เหลือง เหลือง : เขียว 3.01:1 3. สีเปลือกหุม้ เมลด็ มีสี 3.15:1 4. รูปร่างฝัก มีสี x ขาว อวบ มีสี : ขาว 2.92:1 5. สีฝักออ่ น อวบ x แฟบ เขียว อวบ : แฟบ 2.82:1 6. ตาแหน่งดอก เขียว x เหลือง ที่กิ่ง เขียว : เหลือง 3.14:1 7. ความสูงลาตน้ ที่กิ่ง x ท่ียอด สูง ที่ก่ิง : ที่ยอด 2.84:1 สูง x เต้ีย สูง : เต้ีย

    ลกั ษณะเด่น (Dominance) ลักษณะท่ีแสดงออกไม่ว่าจะเป็ นพันธุ์แท้หรื อพันพันธุ์ทาง สามารถข่มอีกลกั ษณะไมใ่ หป้ รากฏออกมาใหเ้ ห็น ไดแ้ ก่ ลกั ษณะเมลด็ กลม เน้ือเมล็ดสีเหลือง เปลือกหุ้มเมล็ดมีสี ฝักอวบ ฝักอ่อนสีเขียว มี ดอกที่กิ่ง และลาตน้ สูง ในทางพนั ธุศาสตร์ใช้อกั ษรภาษาองั กฤษตวั ใหญ่ แทนลกั ษณะเด่น และอกั ษรภาษาองั กฤษตวั เลก็ แทนลกั ษณะดอ้ ย เช่น อกั ษร T แทนยนี ที่ควบคุมลกั ษณะถว่ั ท่ีมีลาตน้ สูง อกั ษร t แทนยีน ท่ีควบคุมลักษณะถ่ัวที่มีลาต้นเต้ีย ในต้นถั่วทุกต้นจะต้องมียีนมา รวมกนั 2 หน่วย คือมาจากพ่อและแม่ ดงั น้นั ลกั ษณะเด่นจึงอาจมีคู่ยีน เป็น TT หรือ tt (T/T หรือ t/t)

    ลกั ษณะด้อย (Recessive) เป็นลกั ษณะที่มีโอกาสปรากฏในรุ่นท่ี 2 หรือรุ่นต่อๆ ไปไดน้ อ้ ย กว่าลกั ษณะเด่น เน่ืองจากถูกลกั ษณะเด่นข่มไม่ให้ปรากฏออกมา ถา้ หากมียีนของลกั ษณะเด่นรวมอยู่ดว้ ย ลกั ษณะดอ้ ยจะปรากฏให้เห็น ตอ้ งมียีนดอ้ ยดว้ ยกนั ท้งั คู่ เช่น ลกั ษณะเต้ียจะปรากฏให้เห็นถว่ั ลาตน้ เต้ียได้ จะตอ้ งมียนี t กบั ยนี t มาเขา้ คู่กนั เท่าน้นั tt หรือ t/t ถา้ หากมียีน เด่น T มารวมดว้ ย จะปรากฏเป็นลกั ษณะเด่น คือ ลาตน้ สูง Tt หรือ T/t CLICK

    ยนี (Gene) คือ ตวั ควบคุมลกั ษณะทางพนั ธุกรรม มี 2 ชนิด คือ 1. ยีนเด่น (Dominant Gene) เป็นยนี ที่แสดงลกั ษณะไดเ้ ท่าเทียม กบั ยนี น้นั 2 ยนี ใชอ้ กั ษรภาษาองั กฤษตวั พมิ พใ์ หญ่ แทนยนี เด่น 2. ยีนดอ้ ย (Recessive Gene) เป็ นยีนท่ีแสดงลกั ษณะออกมาได้ เมื่อมียนี น้นั 2 ยนี ใชอ้ กั ษรภาษองั กฤษตวั พิมพเ์ ลก็ แทนยนี ดอ้ ย

    จโี นไทป์ (Genotype) คือ แบบของยนี ในเซลลร์ ่างกาย 1. โฮโมไซกสั ยีน (Homozygous Gene) คือ ยนี 2 ยีน ท่ีเหมือนกนั มาเขา้ คู่กนั เช่น TT, tt ซ่ึงอาจเรียกวา่ พนั ธุ์แท้ 2. เฮเทอโรไซกสั ยนี (Heterozygous Gene) คือ ยีน 2 ยนี ท่ีต่างกนั มาเขา้ คู่กนั เช่น Tt ซ่ึงอาจเรียกวา่ พนั ธุ์ทาง

    ฟี โนไทป์ (Phenotype) คือ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของแต่ละจีโนไทป์ ท่ีแสดงออกมาใหเ้ ห็น

    แอลลลี (Allele) หรือ แอลลโี ลมอร์ฟ (Allelomorph) คือ ยนี ท่ีอยตู่ าแหน่งเดียวกนั ของโครโมโซม ที่เป็นคู่กนั อาจเป็น คู่ของยนี ที่เหมือนกนั เช่น TT, tt หรือเป็ นคู่ของยนี ที่แตกต่างกนั เช่น Tt, IAi, IBi โดยจะทาหน้าที่กาหนดและควบคุมลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม ลกั ษณะเดียวกนั

    การทดสอบหาจโี นไทป์ เพื่อเป็ นการทดสอบว่า แบบของยีนในเซลล์ร่างกาย ที่เป็ น ลกั ษณะเด่นน้นั เป็นโฮโมไซกสั ยนี หรือเฮเทอโรไซกสั ยนี มี 2 วิธี คือ 1) การผสมเพ่ือทดสอบ (Test Cross) เป็ นการทดสอบเพ่ือหาว่า ลกั ษณะเด่นท่ีปรากฏออกมาน้นั เป็นลกั ษณะของพนั ธุ์แทห้ รือพนั ธุ์ทาง โดยนาลกั ษณะที่สงสัยไปทดลองผสมกบั ลกั ษณะดอ้ ย ถา้ เป็ นลกั ษณะ พนั ธุ์แท้ จะไดล้ ูกเป็นลกั ษณะเด่นหมด แต่ถา้ เป็นพนั ธุ์ทาง จะมีลกั ษณะ ท่ีปรากฏออกมา มีลกั ษณะเด่นต่อลกั ษณะดอ้ ยในอตั ราส่วน 1 : 1

    การทดสอบหาจโี นไทป์ เพ่ือเป็ นการทดสอบว่า แบบของยีนในเซลล์ร่างกาย ท่ีเป็ น ลกั ษณะเด่นน้นั เป็นโฮโมไซกสั ยนี หรือเฮเทอโรไซกสั ยนี มี 2 วธิ ี คือ 2) การผสมกลบั (Back Cross) เป็นการผสมพนั ธุ์เพอื่ ทดสอบจีโน ไทป์ มี จุดประสงค์ เพ่อื ปรับปรุงพนั ธุ์ เพราะถา้ ใหร้ ุ่นลูกผสมกนั เองไป เร่ือยๆ ลูกท่ีไดจ้ ะมีลกั ษณะไม่สมบูรณ์ โดยนารุ่นลูกที่เป็ นพนั ธุ์ทาง ผสมกบั พอ่ แมพ่ นั ธุ์ลกั ษณะดอ้ ย พนั ธุ์แท้

    การผสมพนั ธ์ุโดยพจิ ารณา 2 ลกั ษณะ (Dihybrid Cross) เป็นการผสมพนั ธุ์ โดยพจิ ารณา ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 2 ลกั ษณะพร้อมๆ กนั CLICK

    2.2 กฎของเมนเดล

    กฎข้อที่ 1 กฎการแยกตวั ของยนี สรุปใจความสาคญั ว่า ยีนที่ควบคุมลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ของสิ่งมีชีวิต ที่สืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศ มีอยู่เป็นคู่ๆ เม่ือมีการ สร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์ ยีนที่เป็ นคู่น้ีจะแยกออกจากกนั ทาใหเ้ ซลล์ สืบพนั ธุ์แต่ละเซลล์ มีหน่วยควบคุมลักษณะหรือยีน เพียง 1 หน่วย เมื่อมีการผสมพนั ธุ์กนั ยีนที่แยกจากกนั จะกลบั มาเขา้ คู่ กนั อีก

    กฎข้อท่ี 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอสิ ระ สรุปใจความสาคญั ว่า ในเซลล์สืบพนั ธุ์จะมีการรวมกลุ่ม ของหน่วยพนั ธุกรรม ลกั ษณะต่างๆ การรวมกลุ่มเหล่าน้ี เป็นไป อย่างอิสระ ทาให้สามารถทานายผลที่จะเกิดข้ึนในรุ่นลูก รุ่น หลานได้

    พฤตกิ รรมของยนี ท่ีนอกเหนือจากกฎของเมนเดล 1. การถ่ายทอดลกั ษณะเด่นแบบไม่สมบูรณ์ เป็นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีถูกควบคุมดว้ ยยนี ที่มีลกั ษณะ ข่มกนั ไม่ลง

    พฤตกิ รรมของยนี ทน่ี อกเหนือจากกฎของเมนเดล 2. การถ่ายทอดลกั ษณะเด่นร่วมกนั เป็นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีถูกควบคุมดว้ ยยนี ที่มีลกั ษณะ เด่นท้ังคู่ แต่ละยีนจะแสดงสมบัติของตนเอง ทาให้ปรากฏ ลกั ษณะร่วมกนั ออกมา

    พฤตกิ รรมของยนี ทนี่ อกเหนือจากกฎของเมนเดล 3. ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยมลั ติเพลิ แอลลลี เป็ นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่ถูกควบคุมโดย แอลลีลมาก กว่า 2 ชนิด แต่ละยีนจะอยใู่ นตาแหน่งเดียวกนั ของโฮโมไซกสั โครโมโซม เช่น หมู่เลือด ABO ถูกควบคุมโดยมัลติเพิล แอลลีล 3 ชนิด คือ IA, IB และ i

    พฤตกิ รรมของยนี ทีน่ อกเหนือจากกฎของเมนเดล 3. ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีถูกควบคมุ โดยมลั ติเพลิ แอลลลี (ต่อ) IA ควบคุมหมูเ่ ลือด A IB ควบคุมหมเู่ ลือด B i ควบคุมหมเู่ ลือด O IA IB ควบคุมหม่เู ลือด AB IA, IB เป็นยนี เด่น i เป็นยนี ดอ้ ย IA, IB เป็นยนี ท่ีถา่ ยทอดลกั ษณะร่วมกนั

    จโี นไทป์ และฟี โนไทป์ ของหมู่เลือด ฟี โนไทป์ (หมู่ จโี นไทป์ เลือด) IA IA, IA i A IB IB, IB i B IA IB ii AB O CLICK

    พฤตกิ รรมของยนี ที่นอกเหนือจากกฎของเมนเดล 4. ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมโดยโพลียีนหรือมลั ติเปิ ลยีน เป็ นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่ถูกควบคุมโดย ยีน ต้งั แต่ 2 ถึง 40 คู่ โดยยนี แต่ละคู่อาจอยบู่ นโครโมโซมคู่เดียวกนั หรือต่างคู่กไ็ ด้

    ข้อควรจา กฎของเมนเดลใชท้ านายโอกาส ไมใ่ ช่จานวน

    3 โครโมโซม (Chromosome) โครโมโซม คือ โครงสร้างพนั ธุกรรม (Heredity Structure) ที่เป็ นที่อยู่ของหน่วยกรรมพนั ธุ์ มีหน้าที่ถ่ายทอดและแสดง ขอ้ มูลทางพนั ธุกรรม ในเซลล์ร่างกาย (Somatic cell) ของ ส่ิงมีชีวิตที่เจริ ญมาจากไซโกต จะมีโครโมโซมท่ีมีรูปร่ าง ลกั ษณะเหมือนกนั 2 ชุด โดยโครโมโซมชุดหน่ึงมาจากไข่ของ แม่ อีกชุดหน่ึงมาจากสเปิ ร์ม (Sperm) ของพอ่ CLICK

    3 โครโมโซม (Chromosome) โครโมโซมที่เป็ นคู่กนั น้ีมีลกั ษณะเหมือนกนั ทุกประการ เรียกว่า โฮโมโลกสั โครโมโซม (Homologous Chromosome) ซ่ึงเป็ นท่ีอยู่ของ ยนี ท่ีควบคุมลกั ษณะเดียวกนั โครโมโซมชนิดน้ีมีขนาดยาว รูปร่างและ ตาแหน่งของเซนโตรเมียร์ (Centromere) บนโครโมโซมจะเหมือน กนั หมด

    3.1 โครโมโซมของส่ิงมชี ีวติ ชนิดต่างๆ 1. โครโมโซมของโปรคาริโอต (Prokaryotic chromosome) โปรคาริโอติก เป็ นกลุ่มสิ่งมีชีวิตท่ีไม่มีเย่ือหุ้มนิวเคลียส ชดั เจน การแบ่งนิวเคลียสเกิดข้ึนแบบง่ายๆ การจดั องคป์ ระกอบ ของยีน ไม่ชัดเจนเหมือนในโครโมโซมของส่ิงมีชีวิตช้นั สูง ไดแ้ ก่ แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน

    3.1 โครโมโซมของส่ิงมชี ีวติ ชนิดต่างๆ 1. โครโมโซมของโปรคาริโอติก (Prokaryotic chromosome)

    3.1 โครโมโซมของสิ่งมชี ีวติ ชนิดต่างๆ 2. โครโมโซมของยคู าริโอติก (Eukaryotic chromosome) ยคู าริโอติก เป็ นกลุ่มส่ิงมีชีวิตที่มีเยือ่ หุม้ นิวเคลียสและโครโมโซม เห็นชดั เจน นิวเคลียสมีการแบ่งแบบไมโอซีส ส่วนมากมีเซลลเ์ ด่ียวหรือ หลายเซลล์ แต่ยงั ไม่เปล่ียนแปลงเป็ นเน้ือเยื่อ ไดแ้ ก่ สาหร่าย เห็ดรา รา เมือกและโปรโตซวั โครโมโซมของยคู าริโอติกจะเป็น DNA ท่ีมีโปรตีน รวมอยดู่ ว้ ยจึงเป็ นสารพวก Nucleoprotein โดยจะมีโปรตีนฮีสโตน ซ่ึง เป็ นโปรตีนที่มีสภาพเป็ นด่าง ยึดระหวา่ ง Double helix DNA โดยยดึ ที่ หมู่ฟอสเฟตของ DNA ดว้ ย Ionic bond เป็นผลทาใหโ้ ครโมโซมขดเป็ น เกลียวส้นั ๆ ไดแ้ ละมีการคลายเกลียวเม่ืออยใู่ นระยะอินเทอรเ์ ฟส

    3.1 โครโมโซมของส่ิงมชี ีวติ ชนิดต่างๆ 2. โครโมโซมของยคู าริโอติก (Eukaryotic chromosome)

    3.1 โครโมโซมของสิ่งมชี ีวติ ชนิดต่างๆ 3. โครโมโซมของไวรัส (Viral chromosome) โครโมโซมของไวรัสอย่ใู นสภาพโมเลกุลของ DNA หรือ RNA โดยไวรัสแตล่ ะชนิดจะมีปริมาณ DNA หรือ RNA ซ่ึงเป็นสารพนั ธุกรรม ไม่เท่ากนั นอกจากน้ีจานวนสายของ DNA หรือ RNA ก็ต่างกนั ดว้ ย ทา ให้สามารถจาแนกชนิดของไวรัส ไดโ้ ดยไวรัสที่มีที่มีโครโมโซมเป็ น RNA ไดแ้ ก่ TMV ซ่ึงทาใหเ้ กิดโรคใบด่างในใบยาสูบ ส่วนไวรัสที่มีที่มี โครโมโซมเป็ น DNA ไดแ้ ก่ไวรัสที่ทาให้เกิดโรคฝี ดาษหรือไวรัสท่ี สามารถเจริญเติบโตในเซลลแ์ บคทีเรียได้

    3.1 โครโมโซมของส่ิงมชี ีวติ ชนิดต่างๆ 3. โครโมโซมของไวรัส (Viral chromosome)

    3.2 องค์ประกอบของโครโมโซม โครโมโซมมีองคป์ ระกอบหลายชนิด ไดแ้ ก่ DNA โปรตีน ไขมนั และ RNA แต่มีในปริมาณน้อย โครโมโซมของสิ่งมีชีวิต ในระยะ อินเทอร์เฟส จะเรียกว่าร่างแหโครมาติน เพราะมีลกั ษณะโปร่งแสง เห็น ไดช้ ดั ดว้ ยการยอ้ มสี เม่ือมีการแบ่งเซลล์ ร่างแหโครมาตินจะมีการหดตวั ส้ันจนโครโมโซมมีลกั ษณะเป็ นแท่ง โครโมโซมเป็ นส่วนประกอบของ นิวเคลียส แตล่ ะโครโมโซมเป็นอิสระแต่สามารถจาลองตวั เอง ได้

    3.3 รูปร่างของโครโมโซม โครโมโซมมีลกั ษณะเป็นเสน้ ใยขดแน่น เรียกเสน้ ใยน้ีว่า โครโมนีมา (Chromonema) และเรียกส่วนที่ติดสีจางๆ บนโครโมโซม ซ่ึงเป็ นโปรตีน ชนิดหน่ึงวา่ แมทริกซ์ (Matrix)

    3.3 รูปร่างของโครโมโซม โครโมนีมา (Chromonema) คือ โมเลกลุ ของ DNA มีลกั ษณะขด เป็ นเกลียว เม่ือโครโมโซมคลายเกลียวจะเป็ นรอยคอด บนโครโมโซม แต่ละแท่งจะมีรอยคอดอยู่อย่างน้อย 1 แห่ง เรียกว่าเซนโตรเมียร์ (Centromere) ซ่ึงเป็ นตาแหน่งท่ีเส้นใยสปิ นเดิลยึดอยู่ และเน่ืองจาก โครโมโซมแต่ละแท่งอาจจะมีรอยคอดมากกว่า 1 แห่ง จึงอาจเรียก เซนโตรเมียร์วา่ Primary constriction CLICK

    3.4 โครโมโซมของคน โครโมโซม คือ ที่อยู่ของยีน เม่ือยีนอยู่ในโครโมโซมก็ย่อมมี พฤติกรรมการแยกตวั และการรวมกลุ่มกนั ตามพฤติกรรมของโครโมโซม ดว้ ย ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม มีการถ่ายทอดได้ 2 ประเภท คือ - ลกั ษณะทว่ั ไปควบคุมโดยยนี ในออโตโซม - ลกั ษณะท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เพศควบคุมโดยยนี ในโครโมโซมเพศ

    3.4 โครโมโซมของคน โครโมโซมของคน 46 แท่ง จดั แบ่งเป็นคู่ๆ ได้ 23 คู่ แบ่งเป็น - ออโตโซม (Autosome) ซ่ึงมีลกั ษณะเหมือนกนั ในเพศชายและเพศหญิง จานวน 22 คู่ (คู่ที่ 1- คู่ท่ี 22) - โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) คู่ท่ี 23 มีลกั ษณะต่างกนั ในเพศ หญิงและเพศชาย **โครโมโซมเพศของเพศหญิงเป็น XX ** โครโมโซมเพศของเพศชายเป็น XY