การแต่งกาย ยืนเครื่อง ตัว พระราม

การแต่งกายยนื เครอ่ื งโขน ของกรมศลิ ปากร

..................................................
เครื่องแตง่ กายโขน

พระ นาง

ยกั ษ์ ลิง
ภาพเครื่องแต่งกาย พระ นาง ยกั ษ์ ลงิ

ที่มา : สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร แสดงแบบทา่ ราของกรมมหรสพ

2

โขน การแสดงนาฏกรรมทเ่ี ป็นแหล่งรวมศิลปะหลายแขนง โดยมีเครอื่ งแตง่ กายเปน็
ส่วนประกอบที่สาคญั อยา่ งหนึง่ ท่ีทาให้การแสดงมีความวิจิตรอลงั การ กอ่ ให้เกดิ ความต่นื ตา
ประทบั ใจ อีกทง้ั ยังเป็นเคร่ืองแสดงฐานะ แสดงลกั ษณะ สามารถบง่ บอกใหร้ ู้ถงึ ชาติกาเนดิ และ
ฐานนั ดรศกั ดข์ิ องตวั โขน ทาใหผ้ ้ชู มเห็นคุณลกั ษณะของตัวละครในการแสดงโขน เร่ืองรามเกยี รต์ิ
ได้เดน่ ชัดขน้ึ

เคร่ืองแตง่ กายโขนเห็นได้ชดั เจนวา่ เปน็ เครื่องแตง่ กายท่ีเลียนแบบมาจากเครื่องตน้ หรอื
เคร่ืองทรงของพระมหากษตั ริย์ กล่าวคอื มชี ื่อเรียกชนิ้ ส่วนของเครื่องแต่งกายที่ตรงกนั มรี ูปร่าง
ลักษณะท่ีใกลเ้ คยี งกนั มีการนาไปใชใ้ นแบบอย่างเดียวกัน จึงนบั ไดว้ า่ เคร่ืองแตง่ กายโขนเปน็ ศิลปะ
สรา้ งสรรค์ประเภทหน่งึ ที่ประดษิ ฐข์ ้ึนดว้ ย ความประณตี วิจติ ร งดงาม

ตามความเช่ือในทางศาสนาพราหมณ์ หรือฮินดูท่ไี ด้เข้ามาเผยแพรส่ ่ปู ระเทศไทยแต่คร้งั
อดตี ส่งผลให้ประชาชนชาวไทยแต่โบราณมีความเชอื่ ว่า พระมหากษตั รยิ ์ คือ ผสู้ ืบเช้ือสายมาจาก
เทพเจ้า เพ่ือทีจ่ ะมาปกครองบ้านเมืองใหไ้ ด้รบั ความร่มเย็นเปน็ สุข ดงั นั้น พระมหากษัตริย์จงึ ได้รับ
การยกย่องให้เป็นสมมติเทพ

จินตนาการในเร่ืองที่เกย่ี วกบั เทพต่างๆ เกดิ ไปตามศรทั ธาของแต่ละชุมชน และเพ่ือยก
ยอ่ งให้เทพเหลา่ นั้นมฐี านะที่อย่สู งู กว่าปวงชนทั่วไป จึงเกิดการสมมตคิ ณุ ลกั ษณะของปวงเทพใน
ทุกๆ ด้านท่ีเหน็ ได้ชัดอยา่ งหนงึ่ คือ เครื่องแต่งกาย องค์ประกอบต่างๆของเคร่ืองแตง่ กายเทพเจ้า
จะถูกสรา้ งสรรคข์ นึ้ ด้วยความวจิ ิตรพิสดาร สุดแท้แตล่ ะชมุ ชนท่ีจะสามารถจินตนาการแลว้ คดิ
ประดษิ ฐก์ ันข้ึน เหน็ ได้จากงานปฏิมากรรม และงานจิตรกรรมต่างๆ

เมือ่ ความเชื่อในเร่ืองของพระมหากษตั ริย์เปน็ องคส์ มมติเทพ มคี วามแพรห่ ลาย และ
เดน่ ชัดมากข้ึน กเ็ กดิ การกาหนดรปู ร่างลกั ษณะเคร่ืองแตง่ กายท่สี ามารถใชไ้ ดจ้ รงิ กับบคุ คลท่ยี กย่อง
ใหอ้ ยูส่ ูงกวา่ ปุถชุ นสามญั จนิ ตนาการในเรื่องของเทพทม่ี าสอดคล้องกับองค์พระมหากษตั รยิ ์ จึงเกดิ
การถ่ายเทแนวความคิดผนวกกับจนิ ตนาการของช่าง นามาสร้างเป็นเครื่องต้นเคร่ืองทรง โดยให้มี
ความพเิ ศษสมกับฐานะของบุคคลที่ถูกยกย่องใหเ้ ป็นพระมหากษัตรยิ ์

ในตานาน นทิ าน นิยาย หรอื ละครพนื้ บ้าน สว่ นใหญ่เป็นเรอ่ื งท่ีเกี่ยวกับจกั รๆ วงศ์ๆ
กษตั รยิ ม์ กั ถูกยกยอ่ งว่าสบื เช้ือสายมาจากเทพเจ้า ถงึ แม้ต่อมาภายหลังได้ปรับแตง่ วรรณกรรมเรื่อง
เดน่ ๆ ใหเ้ ป็นวรรณคดี เนื้อหาท่เี ก่ยี วข้องกับกษัตริย์กย็ งั นิยมยกยอ่ งใหส้ ืบเช้อื สายมาจากเทพเจ้า
เชน่ เดิม ดังเช่นวรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ พระราม คือ อวตารปางหน่งึ ของพระนารายณ์ ถึงแม้ว่า
พระรามจะเป็นมนุษย์เดินดนิ แตก่ ม็ ีฐานะเป็นพระมหากษัตรยิ ์ และที่สาคัญ คอื มีเช้ือสายมาจากเทพ
เจ้า ดงั น้ันการกาหนดเครื่องแตง่ กาย ต้องคิดสรรค์ใหส้ มฐานันดรศักด์ิแห่งความเป็นเทพเจา้ จึงมี
การกาหนด สเี สื้อผา้ เคร่อื งแต่งกาย ดงั ตวั อย่างที่ปรากฏอยู่ในบทละคร เรือ่ งรามเกยี รต์ิ พระราช
นิพนธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ตอนพระรามพระลักษมณ์
แตง่ องค์ทรงเครื่อง จะข้ามสมทุ รไปเมืองลงกา ดงั น้ี

3

“พระหรวิ งศ์ทรงทิพยภ์ ษู า เครอื หงส์กาบผกาช่อห้อย

พระลักษมณ์ทรงผ้ากา้ นกระหนกลอย ชายไหวชอ่ ชอ้ ยชายแครง

สอดใส่ฉลององค์ทรงประพาส พนื้ ตาดฉลุเครอื แยง่

ทบั ทรวงประดับเพชรแดง ตาบทิศลายแทงสังวาลวลั ย์

พาหุรัดทองกรมงั กรพด สลับดว้ ยมรกตมุกดาคัน่

ธามรงค์เพชรรายเรือนสบุ รรณ มงกฎุ แก้วเทวัญสว่างวาม”

จากหนงั สือเร่อื ง “การศกึ ษาและการพัฒนาองค์ความรู้เกย่ี วกบั การแตง่ กายยืนเคร่อื ง”

ของกรมศลิ ปากร แสดงให้เห็นชัดเจนวา่ เคร่ืองแตง่ กายโขน มีองค์ประกอบ 3 สว่ น ดงั นี้

1. ศริ าภรณ์ หมายถึง เคร่ืองประดบั ศีรษะของตัวโขน ได้แก่

- ตวั พระ ได้แก่ ชฎา

- ตวั นาง ได้แก่ มงกุฎกษัตรีย์

- ตวั ยกั ษ์ ได้แก่ ศรี ษะยกั ษ์

- ตัวลิง ไดแ้ ก่ ศีรษะลงิ

2. ถนมิ พิมพาภรณ์ หมายถึง เครื่องประดับกาย ไดแ้ ก่

- กาไลเทา้ หรอื ข้อเท้า

- เข็มขัด หรือป้ันเหนง่

- สังวาล (รวม ตาบทศิ และตาบหลงั )

- ทับทรวง

- กาไลแผง หรือทองกร

- ธามรงค์ หรอื แหวน

- แหวนรอบ

- ปะวะหลา่

3. พัสตราภรณ์ หมายถึง เครื่องน่งุ ห่มท่ีเปน็ ผา้ ไดแ้ ก่

- สนับเพลา หรือกางเกง

- ผ้านงุ่ หรอื ภูษา หรือพระภูษา

- หอ้ ยข้าง หรอื เจยี ระบาด หรือชายแครง

- ห้อยหน้า หรือชายไหว (รวมสุวรรณกระถอบ ซ่ึงปักลายเป็นชิ้นเดียวกัน)

- เสอ้ื หรือฉลององค์

- รดั สะเอว หรือรัดองค์

- กรองคอ หรือนวมคอ หรือกรองศอ

4

การแต่งกายยนื เคร่อื งโขน

การแตง่ กายยืนเคร่ืองโขน ตัวพระ ตวั นาง ตัวยักษ์ และตวั ลงิ ท่ีกรมศลิ ปากรใช้ปฏิบัตนิ น้ั

มกี ารสบื ทอดวิธีการแต่งมาจากโบราณ ทัง้ กรมมหรสพ วังสวนกหุ ลาบ และวงั เจา้ คณุ พระประยูรวงศ์

เป็นต้น เห็นไดจ้ ากบรรดาครูบาอาจารย์ ที่เข้ามาทางานในกองการสังคตี กรมศลิ ปากร ในยุคแรกๆ

นัน้ มาจากสานักโขน ละคร ท่ีมชี ื่อเสยี งและทีม่ ีคณุ ภาพในด้านการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยอยา่ งดเี ลิศ

อกี ทั้งยังมีรายการเครือ่ งแตง่ กายโขน ละคร ทีไ่ ด้รบั โอนมาจากกรมมหรสพ อนั มคี วามประณีตใน

การจดั สร้างช้ันยอด ทาใหม้ องเห็นได้วา่ ผแู้ ตง่ ตวั ผูแ้ สดงโขนจะต้องมีความรคู้ วามชานาญในเรอื่ ง

เครื่องแตง่ กาย และกลวธิ ใี นการแต่งกายยืนเครอื่ งโขนเป็นอยา่ งดี

การแตง่ ตัวผแู้ สดงนั้น ผู้แต่งตัวต้องสามารถทาให้เครอ่ื งทรงอันวิจติ รท่ผี แู้ สดงสวมใส่

มคี วามโดดเด่นเป็นสงา่ สมภูมขิ องตวั ละคร ผิดไปจากรปู ลกั ษณ์ทเี่ ป็นธรรมชาติเดมิ ของศลิ ปิน อีก

ท้งั การแต่งตัวผ้แู สดงอยา่ งมคี ุณภาพท่ีดีน้ัน เปน็ การส่งเสรมิ ให้ศิลปนิ สามารถแสดงทา่ ทางร่ายราได้

อยา่ งคลอ่ งตวั สวยงาม ท้ังนท้ี ่ีสาคญั ผู้แตง่ ตวั และศลิ ปินผู้แสดงจึงต้องมีความเขา้ ใจ และทราบ

กลวธิ ีในการแต่งกายอย่างชัดเจน และถกู ตอ้ งเปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน

จึงพอกลา่ วไดว้ ่าขนบธรรมเนยี มการแตง่ กายยืนเครอื่ งโขน ของกรมศิลปากร มกี าร

สบื ทอดอย่างเป็นระบบจากรุ่นสูร่ นุ่ และดาเนนิ การมาอยา่ งต่อเนอ่ื งนบั จากอดตี ถงึ ปัจจุบัน ซ่งึ เปน็

การสืบทอดกนั ทางปฏบิ ตั ิ เม่ือนามาบนั ทกึ เป็นลายลักษณ์อักษร สาหรับเป็นหลกั ฐานข้อมูลทาง

วชิ าการ สามารถเรียบเรยี งได้ดังน้ี

ขัน้ ตอนการแต่งกาย

ขน้ั ตอนการแตง่ กายยนื เครื่องผู้แสดงโขน ไม่ว่าจะเป็นตวั พระ ตัวนาง ตวั ยกั ษ์ และตัวลงิ

สามารถแบ่งข้ันตอนการแต่งกายได้เป็น 2 ข้ันตอน คือ

1. การเตรยี มความพร้อม

1.1 การเตรยี มความพร้อมของผู้แตง่

1.2 การเตรยี มความพร้อมของผ้แู สดง

2. การแตง่ กาย

1. การเตรยี มความพรอ้ ม

1.1 การเตรยี มความพร้อมของผแู้ ตง่

ผ้แู ต่งตัวผู้แสดงจะต้องเตรยี มอปุ กรณก์ ารแตง่ กายยนื เครื่องโขนให้พรอ้ ม และครบทกุ

ชิ้นสว่ นตามรปู แบบทกี่ าหนด พรอ้ มตรวจดคู วามเรียบรอ้ ยของเครื่องแตง่ กายให้ถกู ตอ้ ง ดว้ ยการ

ตรวจดูสภาพความสมบรู ณ์ของเครอ่ื งแตง่ กาย

อุปกรณก์ ารแต่งกายยืนเครอื่ งโขน ประกอบด้วย

1. ดา้ ยเย็บผ้าเบอร์ 8

2. เข็มเยบ็ ผา้ ก้นทองขนาด 2 “No. B 7 040/

5

3. มดี และกรรไกร
4. ผา้ รดั เอว ทาด้วยผ้าดิบ ขนาดกวา้ ง 5 น้ิว ยาว 1.50 เมตร
1.2 การเตรยี มความพร้อมสาหรบั ผ้แู สดง
ก่อนการแตง่ กายผูแ้ สดงต้องทาธุระสว่ นตัวให้เรยี บร้อย เพราะเมือ่ แตง่ เคร่ืองโขนแล้วจะ
ไม่สะดวกในการเข้าห้องนา้ ส่งิ ที่ผู้แสดงจะตอ้ งเตรียมพร้อมมากอ่ น คือ ต้องสวมเส้อื ตัวใน และ
กางเกงขาสนั้ ชว่ ยป้องกนั ไม่ให้เกิดอาการระคายเคืองผวิ ท่ีต้องสมั ผัสกับเครื่องแต่งกายโขน
2. การแต่งกาย
ตัวละครทงั้ หมดที่แตง่ กายยนื เครื่องของการแสดงโขน เรอ่ื งรามเกียรติ์ จัดแยกตาม
ลักษณะแบ่งเปน็ ประเภทหลักสาคญั ๆได้ 4 ประเภท คือ พระ นาง ยักษ์ และลงิ ซง่ึ ทัง้ สปี่ ระเภทนี้
มอี งคป์ ระกอบการแตง่ กายทเ่ี หมือนกันและแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะของตัวละครแต่ละตัวท่ีถูก
กาหนด ไว้ (ตามสมญาภิธานรามเกียรติ)์
การแต่งกายตวั โขนแต่ละตวั จึงยดึ แบบวธิ ีการแต่งตามหลักของตัวละครท้ังส่ปี ระเภท
ดังกล่าวด้วย ในครัง้ น้กี าหนดการแตง่ กายตัวโขนให้เห็นเดน่ ชดั คือ ตัวพระ (พระราม ) ตวั นาง
(นางสีดา) ตัวยกั ษ์ ( ทศกณั ฐ์) และ ตวั ลิง ( หนุมาน) ซ่งึ มีกลวธิ ใี นการแต่งกายยนื เคร่ืองโขนแตล่ ะ
แบบ ดงั นี้

ตัวพระ (พระราม)

ภาพการแตง่ กายยืนเคร่ืองโขนตวั พระ (พระราม) ด้านหน้า และด้านหลัง

6

เคร่ืองแตง่ กายโขนตัวพระ (พระราม) ประกอบดว้ ยเคร่ืองพัสตราภรณ์ ถนิมพมิ ภาภรณ์
และศิราภรณ์ ดังนี้
1. กาไลข้อเท้า (หัวบัว)

2. สนับเพลา หรือกางเกง

3. ผ้าน่งุ หรือภูษา หรอื พระภูษา

4. หอ้ ยขา้ ง หรือเจียระบาด หรอื ชายแครง

7

5. เส้อื หรอื ฉลององค์

6. รดั สะเอว หรือรดั องค์ หรือรดั พัสตร์

7. ห้อยหนา้ หรือชายไหว
พรอ้ มสุวรรณกระถอบ

8. กรองคอ หรือนวมคอ หรือกรองศอ

8

9. เขม็ ขดั หรือป้ันเหน่ง
10. ทับทรวง
11. อินทรธนู
12. สงั วาล พร้อมตาบทิศ และตาบหลงั

9

13. แหวนรอบ (แหวนรองกาไลเทา้ )
14. แหวนรอบ (แหวนรองกาไลแผง)
15. ปะวะหลา่
16. กาไลแผงหรือทองกร

10

17. ชฎา
(ชฎาพระ ตดิ อบุ ะและดอกไมท้ ัดด้านขวา)

การแตง่ กายยนื เครอ่ื งโขนตวั พระ (พระราม)
การแตง่ กายยืนเครอื่ งโขนตัวพระ จะเร่ิมจากชว่ งลา่ ง ลาดบั แรก คอื การสวมกาไลข้อเท้า

(หวั บวั ) และแหวนรอบ (แหวนรองกาไลข้อเท้า) อันเป็นเสมือนเครอ่ื งประดับเทา้ เพือ่ มิใหข้ าชว่ ง
ล่างโลง่ เรยี บเกนิ ไป จากน้ันจึงจัดแต่งเครื่องแต่งกายตามลาดบั ของอุปกรณท์ ใี่ ช้ ดงั น้ี

- ใส่สนบั เพลา เสมอื นเป็นกางเกงชน้ั ใน
- น่งุ ผ้านงุ่ (ใชผ้ า้ ยกนงุ่ แบบจีบโจงหางหงส์) นุ่งทบั สนับเพลา เป็นเสมอื นการตกแต่งผา้
ท่นี งุ่ ไม่ให้ราบเรียบเกนิ ไป ให้มคี วามวจิ ิตรประณีต และเปน็ การยกย่องฐานันดรใหเ้ ห็นยศศักดิ์ที่
เหมาะสมของตัวละคร
- ใส่ห้อยขา้ งปดิ ทับผ้านุง่ แยกซา้ ยขวาใหช้ ายห้อยข้างชอ้ี อก เสมอื นเปน็ เครื่องตกแตง่
ให้ผา้ นุง่ ดูวจิ ิตรขึ้น
- ใส่เสอื้ แลว้ เยบ็ กลึงใหแ้ นบตัวผแู้ สดง สีเขยี วแทนสกี ายพระราม ลวดลายเป็นเสมือน
ตวั เส้อื ทพี่ ระรามสวมใส่
- ใสร่ ัดสะเอวทับชายเสอื้ เสมอื นเป็นผ้าคาดเอว ปกปิดซ่อนชายเสื้อท่เี กินออกมา และ
เปน็ การเพิ่มความกระชับให้กับเส้ือ และผ้าน่งุ
- ใสห่ ้อยหน้า ตรงกลางระหว่างหอ้ ยขา้ ง ปิดทบั ปมผา้ ทผ่ี กู ไว้ เสมอื นเป็นเครือ่ งตกแต่ง
ผา้ นุ่งอีกชน้ั หนึ่งอยู่ด้านนอกสดุ
- ใสอ่ ินทรธนทู ่บี า่ เสมือนเป็นเครื่องประดบั อยา่ งหนึง่ ชว่ ยใหช้ ่วงไหล่ดผู ง่ึ ผายงดงามข้ึน
- ใส่กรองคอทับคอเส้อื ปกปิดความไมเ่ รยี บร้อย เพิ่มความงดงามไม่ใหช้ ว่ งคอโลง่ เรยี บ
เกินไป
- ใสท่ บั ทรวง เป็นเคร่ืองประดับเสมอื นสวมสายสร้อยพร้อมมจี ้หี ้อยคอ
- ใสส่ งั วาล เปน็ เครอื่ งประดบั ช้นั นอก ใหส้ ่วนไขว้อยู่ชว่ งบนของทบั ทรวง

11

- ใส่เข็มขดั เป็นเคร่ืองประดับเอว อันเป็นความนยิ มทว่ั ไป ท่ีนุ่งกางเกงหรือน่งุ ผา้ นุง่
ตอ้ งมีสายเขม็ ขดั คาด ปอ้ งกนั การเลื่อนหลดุ และเพือ่ ความงดงาม

- ใส่กาไลแผง เป็นเครื่องประดับขอ้ มือ
- ใส่แหวนรอบ (รองกาไลแผง) และปะวะหลา่ เปน็ เคร่ืองประดับขอ้ มือเช่นกัน เพ่ือ
เพม่ิ ความแวววาวในขณะแสดง ทาให้ปลายแขนดูไม่แขง็ กระด้างเกนิ ไป
เมอื่ ตกแต่งเคร่ืองแตง่ กายตามลาดับขัน้ ดังกลา่ วเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนสุดทา้ ยก่อนออก
แสดงผแู้ สดงจึงสวมศริ าภรณ์ประดบั ศีรษะ คือ ชฎา (ชฎาพระยอดชยั )
ทีก่ ล่าวมาขา้ งต้นเป็นเพียงการแต่งกายยนื เคร่ืองโขนตัวพระ(พระราม) แสดงให้เหน็ เป็น
แนวทางพอสังเขป ในการแต่งกายยนื เครอื่ งโขนตัวพระราม ถ้าต้องการให้เกิดความวจิ ิตรงดงามสม
ภมู ขิ องตัวละคร ควรตอ้ งแตง่ กายอยา่ งพิถพี ถิ นั ประณีตละเอยี ดลออ ซึง่ ในการตกแตง่ แต่ละชิน้ ส่วน
ของเครือ่ งแตง่ กาย จะมีข้นั ตอน และกระบวนการ ทม่ี ีรปู แบบเฉพาะ อนั เป็นกลวิธีท่แี ยบยลของ
ช่างผู้แต่ง
การแตง่ กายยืนเครื่องโขนตวั พระ(พระราม) ผู้แตง่ ตวั นางฉววี รรณ ชื่นสาราญ อดตี
ข้าราชการฝ่ายพสั ตราภรณแ์ ละเครือ่ งโรง สานักการสังคีต ผ้ไู ดร้ ับการยกยอ่ งจากบรรดาศลิ ปนิ วา่
เปน็ ผแู้ ตง่ ทีม่ ฝี ีมือชั้นเยย่ี ม มีความประณตี ในการแตง่ กายได้อยา่ งวจิ ิตร และผแู้ สดงแบบ นายสม
เจตน์ ภนู่ า นาฏศิลปินชานาญการ กลุ่มนาฏศิลป์ สานกั การสงั คีต

12

ภาพการแตง่ กายยืนเครอื่ งโขน ตัวพระ (พระราม)

13

เทคนคิ การน่งุ ผา้ จบี โจงหางหงส์ของนางฉวีวรรณ ชื่นสาราญ

เทคนคิ การนุ่งผา้ จีบโจงหางหงส์

เทคนคิ การนงุ่ ผา้ ทเ่ี รยี กวา่ การน่งุ ผา้ แบบ “จีบโจงหางหงส์” หรอื “ตปี ีกจบี โจงหางหงส์” วธิ กี ารนุ่ง
ผ้าแบบนีใ้ ชก้ ับตัวละครท่เี ปน็ ตัวพระ มีฐานนั ดรศกั ด์ิสงู ผ้านุ่งท่ีใช้ในการนงุ่ เรียกว่า ผ้ายก ซง่ึ มีวิธีการ ดังนี้

14

การจบี ผา้ ยก

ภาพการจีบผา้ หางหงส์

วิธีจบั จบี ผ้ายกให้เปน็ หางหงส์

- ทบผา้ แบ่งคร่งึ ตามความยาว จบั ชายผา้ ยกท้ังด้านยาว และด้านขวางให้เสมอกัน
- พับเกบ็ ริมผา้ (ด้านขวาง) เขา้ 1 ทบ แลว้ จับจีบทบซอ้ นสลบั กัน ให้จีบกวา้ งประมาณ 1 นิ้วครึง่
- จบั จีบทบสลบั 6 จบี กรีดรีดรอยจีบให้เสมอกนั เย็บตรงึ ปลายจีบดา้ นล่าง โดยวัดจากด้านลา่ งปลาย
จบี ขน้ึ มาประมาณ 2 คืบ หรอื 15 น้ิว ทั้งนี้ขน้ึ อยกู่ บั ความยาวชว่ งขาของผู้แสดง เย็บตรงึ หางหงส์ซอ่ นเงื่อนไว้
ดา้ นใน แล้วจัดแต่งใหเ้ รียบรอ้ ยกอ่ นมว้ นเกบ็ สาหรับการนุ่งผา้ ตอ่ ไป

เทคนิคในขัน้ ตอนจีบผ้าขณะทท่ี บผ้าจบี ต้องรีดผ้าด้วยการสอดน้วิ รีดจีบผ้าทีล่ ะจีบให้เสมอกัน
ตลอดหน้าผ้า

15

การนุ่งผ้าจบี โจงหางหงส์

ภาพการจบั ผ้า ทบซอ้ นเข้าหาตวั ผแู้ สดง

วิธีนุ่งผา้ จบี โจงหางหงส์ใหส้ วยงาม ท้งั ผแู้ ตง่ และผ้แู สดงต้องร่วมมอื กัน โดยผแู้ ตง่ จะให้ผ้แู สดงนุ่ง ผ้ายก
ทเ่ี ตรยี มจับจบี หางหงส์ไว้ และจบั ผา้ ด้านท่จี ีบไวด้ ้านบน แลว้ ผ้แู ตง่ จบั จีบผ้าทบซ้อนสลบั กนั เขา้ หาตัวผแู้ สดง ต่อ
จาก ที่จบี ผา้ เตรียมไว้ ทบไปใหส้ ดุ ผ้าจนแนบตัวผ้แู สดง และผู้แสดงจะตอ้ งชว่ ยจบั ผ้าทจี่ บี พับเขา้ มาให้แน่น อยู่
ระดบั แนวชว่ งหนา้ ทอ้ งใต้สะดอื

เทคนคิ ขั้นตอนของการนุ่งผ้าตอ้ งดึงชายผ้าที่โอบตวั ผูแ้ สดงใหเ้ รยี บตึงจากเอวจนถึงปลายขา
จับชายผ้าด้านบนใหเ้ สมอกันแล้วจงึ จับผ้าจีบทบในส่วนทีเ่ หลอื

16

การจับจีบหลัง

ภาพการจับจีบหลัง

การจับจบี หลัง ผู้แสดงยืนหนั หลงั เพ่ือใหผ้ ้แู ต่งจับจบี ดา้ นหลงั โดยยนื กางขาตึงเข่า ผูแ้ ตง่ จบั จบี แรกจาก
ชายผา้ ยกดา้ นลา่ ง ใหม้ คี วามกว้างวัดจากชายผ้าข้ึนมาประมาณคืบกวา่ ถ้าผแู้ สดงรูปร่างสูงต้องจบั จบี เพม่ิ ความ
กว้างข้นึ อีกเล็กน้อย ซงึ่ ผแู้ ตง่ ตอ้ งมีความชานาญในการคานวณในการจับจีบใหข้ นาดพอดที ง้ั 3 จีบ และจับซอ้ น
ไล่เรียงระดบั กนั ให้งดงาม แล้วเยบ็ ตรงึ ไวก้ ง่ึ กลางกน้ แนวสะโพกล่าง

17

เทคนิคการจับจีบหลงั ขณะทบจบี ให้ใชฝ้ า่ มือและนิ้ววัดระยะความหนาของทบผ้าแตล่ ะจีบและ
รดู จีบใหเ้ รียบทั้งสามทบจับจีบให้เลอ่ื มกันเป็นลาดับแต่ละจบี

การจับจีบตปี ีกจีบโจง

ภาพการจับจบี ตปี ีกผา้ นุ่ง
วธิ ีการจบั จีบตปี กี จีบโจง เป็นการจบั จบี ผา้ ตามแนวจบี ด้านหลงั ให้มาสมั พันธก์ บั การจบั จบี ผ้าด้านหน้า
เพ่อื ใหเ้ กิดรอยจีบผา้ เรยี งระดับกันตามแนวสะโพก อนั มีผา้ พอกด้านในช่วยเสริมให้รอยจีบยกข้นึ อยา่ งเด่นชัด
วิธีการโดย จับจบี แรกจากแนวจบี ดา้ นใน อนั เป็นแนวเดยี วกบั จีบที่ตรงึ ไว้ดา้ นหลัง จับยกปลายจีบไล่จบั ตามแนว
มาจนถงึ จบี พับหางหงส์ดา้ นหน้า ปลอ่ ยใหแ้ นวจบี ผ้าตกเป็นร่องข้างสะโพก แล้วหยบิ ยกจบี ขน้ึ อกี ทลี ะจีบจนครบ
3 จบี ท้ังสองขา้ ง
ตอ่ ไปผแู้ สดงหนั หน้าเข้าหาผแู้ ต่ง ผู้แต่งจัดแตง่ จบี ตีปีกจีบโจงด้านหน้าใหเ้ รียบร้อย แลว้ ซอ่ นเกบ็ ปลาย
จีบผา้ ตปี กี ส่วนเกิน มารวบไวท้ ชี่ ายพกทง้ั 2 ขา้ ง ผู้แสดงต้องรวบจบั ปลายจบี ผา้ ตปี ีกจีบโจง ทบั ผา้ ส่วนเกนิ ไว้
ด้วยกนั
เทคนิคการจับจีบผา้ นุ่ง จีบแรกจะตอ้ งจับผ้าให้ลึกโดยดงึ ผ้าสว่ นท่จี ีบทบหน้านางดา้ นในสุด
ออกมาจับจีบให้ได้ความกวา้ งในการตปี กี ผา้ นุ่งโดยคานึงถงึ รูปร่างของผแู้ สดง

วิธกี ารจบั จบี โจงไปด้านหลัง 18

ภาพการจบั ผา้ จบี โจงตลบไปดา้ นหลัง ผูกรัด
และจัดแตง่ จีบตปี กี จีบโจง

การจบั ผา้ จีบโจงตลบ
ไปดา้ นหลงั ผู้แตง่ จบั จีบผา้ ทบ
ซ้อนดา้ นหน้าไล่ตามรอยพบั ให้
เรียบร้อย แล้วนาปลายผ้าทหี่ ้อยตลบจีบโจงไปด้านหลัง คาดทบั ดว้ ยผ้า
รดั เอวกนั เลอื่ นหลดุ ออ้ มมาด้านหน้า ทับผา้ ท่ีจบี ผา้ ทบซ้อนดา้ นหนา้ และ
ปลายจบี ผา้ ตปี กี ตรงชายพก ผู้แสดงจบั กดผ้ารัดเอวไวใ้ ห้แน่น ผแู้ ตง่ จะ
มัดคาดผ้าแลว้ จัดแต่งแนวตีปีกเรียงระดบั ตามทีจ่ ับไว้ตรงสะโพกทงั้ 2 ข้าง โดยใชน้ ว้ิ ชี้ นว้ิ กลาง และนว้ิ นาง
สอดไวต้ ามร่องจีบ เปน็ การจัดแตง่ จีบใหร้ ะยะห่างระหว่างจบี ท้ัง 3 จบี เทา่ กนั และเดน่ ชัดสวยงาม จงึ เรยี ก
วธิ ีการน่งุ ผา้ แบบนี้วา่ “น่งุ ผา้ ตปี ีกจีบโจง”

วธิ กี ารปล่อยหางหงส์ ใหผ้ ู้แสดงยอ่ เข่าตั้งเหลยี่ ม ดันหลังให้ตรง ผู้แต่งจดั แต่งจีบผ้าทบซ้อนท่จี บี โจง
ตลบมา ให้แนบกับเนินด้านหลังใต้เอวเลก็ น้อย โดยจะดูแนวเยบ็ ตรงึ จบี หางหงส์ใหอ้ ย่รู ะดบั แนวสะโพกล่าง
(บริเวณก้นกบ แนวหางท่ปี ล่อยจะไดส้ วยงาม ไมถ่ ูกรัง้ เข้าใต้กน้ ท่เี รียกวา่ “จุกก้น”) ปลอ่ ยชายผ้าจีบหางหงส์
ดา้ นหนา้ ท้งิ ชายห้อยตกลงมาเป็น “หางหงส์” ม้วนขอบรมิ ผา้ เขา้ ดา้ นในใต้หวา่ งขา

19

วิธีการมว้ นขอบริมผ้า ต้องม้วนรดู ผา้ ขน้ึ ให้แน่น และเกบ็ ให้เรียบรอ้ ย รวบปลายดา้ นบนไว้รวมกบั ผา้ ท่ี
รวบไว้เดมิ แล้วผกู มัดให้แนน่

เทคนคิ การโจงผา้ ต้องดึงชายผา้ ล่างดา้ นหลังไปถึงเป้าแลว้ จึงดึงจีบผ้าโจงขึ้นจากน้ันปลอ่ ยหาง
หงส์ ขณะมว้ นจะตอ้ งม้วนไปรดู ผา้ ไปโดยจับชายจีบหางหงสไ์ ม่ใหแ้ ตกและรดู ผ้าท่ีม้วนใหแ้ น่นตดิ เป้า
สนบั เพลา

วิธีการผกู มดั ดว้ ยผ้ารดั เอว ต้องคลีผ่ ้ารดั เอวแลว้ วางแนบผ้านงุ่ จากเอวด้านหลงั อ้อมมาผกู มดั ด้านหน้าใต้
ผา้ ทีร่ วบไว้แตแ่ รก กดชายพกลงมาผูกมัดซ้าอีกครงั้ ดว้ ยผ้าเสน้ เดียวกัน (ถา้ ไม่คลผี ้ารดั เอวออกจะทาให้ผู้แสดง
เจ็บสะเอวเพราะผา้ รัดเอวจะรวมกันเปน็ เสน้ ไม่แบนราบแนบผา้ นุง่

การปลอ่ ยจีบหางหงส์

ภาพการปล่อยจบี จดั แตง่ หางหงส์

วธิ ีการจัดแต่งหางหงสด์ ้านเหรยี ลบังรต้ออ้ยงไล่จบี ด้านหลงั ขึ้นใหเ้ รยี บรอ้ ย การจดั แต่งทดี่ ีจะต้องไม่ให้จีบท่ที บั
ซ้อน ด้านในแตกล้นออกมาจากแนวพบั จบี แรก สว่ นปลายของหางหงสค์ วรอยู่ในแนวเดียวกบั ครึ่งของลายเชิง
สนับเพลาที่สาคญั ตอ้ งดูแนวเย็บตรงึ จีบหางหงสท์ ปี่ ล่อยด้านหลงั ไม่ใหถ้ ูกร้งั เข้าใต้ก้น หรือจุกก้น

เทคนคิ การจับจบี หางหงส์ใหเ้ นยี นเรียบเสมอสวยงามขน้ึ อย่กู ับการรูดจีบแตล่ ะจีบตรงรอยเย็บ
เพราะผ้าตรงนี้มักจะเปน็ ขยุ่มเทคนิคคอื การไลร่ ดี จีบผ้าทีละจีบเก็บส่วนเกนิ ของผ้าซ่อนไวใ้ นจบี แล้ว
คอ่ ยๆไลจ่ บี รดี เรียบข้ึนไปด้านบนจนถึงขอบเอวโดยมือหนง่ึ รวบจับจีบใหม้ นั่ ดึงปลายหางผา้ ยกด้านบน

20

เหนอื ผา้ คาดให้กระชับจัดริมชายผ้านุ่งขนานกับจบี กลางเท่าๆกันท้ังด้านซา้ ยและดา้ นขวาแต่งจบี ให้
เท่ากนั ขณะมว้ นเกบ็ ผา้ ด้านหนา้ ม้วนใหแ้ น่นจนหมดผา้ ดงึ รดู มว้ นผ้าข้นึ ดา้ นบนชายพกผูกผ้าคาดเอว
ใหแ้ นน่ แตง่ หางที่ปลอ่ ยใหม้ ีจบี เหลอื ตรงปลายหาง

สรปุ เทคนิคการนงุ่ ผ้าหางหงสข์ องนางฉววี รรณ ช่ืนสาราญ

นางฉวีวรรณ ชน่ื สาราญเป็นผไู้ ฝ่รแู้ ละเอาใจใส่ต่อผู้แสดงทุกคนจึงศึกษาหาวธิ ีแก้ไขข้อเสีย
เรือ่ งรูปร่างของผูแ้ สดงทกุ คนใหแ้ ต่งกายยืนเครอ่ื งโขนไดส้ วยงามเชน่ ทานวมอกให้ใสเ่ พอื่ ให้ดมู ี
กล้ามเนือ้ หรอื ทาเสื้อเกาะเสริมให้ดูตัวใหญ่ขนึ้ การเย็บเส้ือก่อนนุ่งผ้าสาหรับคนท่ีชว่ งตวั บนส้ัน เปน็
ตน้ ท้ังนีข้ น้ึ อยู่กับความสามารถในการแก้ไขสรีระของแตล่ ะคนท่ีนางฉววี รรณ ช่นื สาราญ ลองผิดลอง
ถกู จนเกิดความชานาญเป็นท่ีตดิ ใจและเป็นที่ยอมรับในฝมี ือของผแู้ สดงตวั พระหลายคนทัง้ ยังป็นผู้
ถ่ายทอดวิชาการแต่งกายยืนเครอ่ื งพระแบบของกรมศิลปากรให้กับรนุ่ นอ้ งในงานพัสตราภรณ์และ
เคร่อื งโรง สานักการสังคีต กรมศิลปากร

----------------------------------------------------------------------

21