แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
ทำนองเสนาะน คือ วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน.กานอ่านทำนองเสนาะ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๑. ความหมายของ "การอ่านทำนองเสนาะ"
การอ่านทำนองเสนาะคือวิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองแต่ละ ประเภทหรือหมายถึง การอ่านตามทำนอง (ทำนอง = ระบบเสียงสูงต่ำ ซึ่งมีจังหวะสั้นยาว) เพื่อให้ เกิดความเสนาะ (เสนาะ, น่าฟัง, เพราะ, วังเวงใจ)
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๒. วัตถุประสงค์ในการอ่านทำนองเสนาะ
การอ่านทำนองเสนาะเป็นการอ่านให้คนอื่นฟัง ฉะนั้นทำนองเสนาะต้องอ่านออกเสียง เสียงทำ ให้เกิดความรู้สึก-ทำให้เห็นความงาม-เห็นความไพเราะ-เห็นภาพพจน์ ผู้ฟังสัมผัสด้วยเสียงจึงจะเข้า ถึงรสและความงามของบทร้อยกรองที่เรียกว่าอ่านแล้วฟังพริ้งเพราะเสนาะโสต การอ่านทำนอง เสนาะจึงมุ่งให้ผู้ฟังเข้าถึงรสและเห็นความงามของบทร้อยกรอง
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓. รสที่ใช้ในการอ่านทำนองเสนาะ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓.๑ รสถ้อย (คำพูด) แต่ละคำมีรสในคำของตัวเอง ผู้อ่านจะต้องอ่านให้เกิดรสถ้อย
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
ตัวอย่างสักวาหวานอื่นมีหมื่นแสนไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอมกลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอมอาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลมแม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้มดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขมผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอารมณใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย(พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหลวงบดินทร์ไพศาลโสภณ)

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓.๒ รสความ (เรื่องราวที่อ่าน) ข้อความที่อ่านมีเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร เช่น โศกเศร้า สนุกสนาน ตื่นเต้น โกรธ รัก เวลาอ่านต้องอ่านให้มีลีลาไปตามลักษณะของเนื้อเรื่องนั้นๆ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
ตัวอย่าง : บทโศกตอนที่นางวันทองไปส่งพลายงามให้ไปหาย่าทองประศรีที่สุพรรณบุรี

ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูกต่างพันผูกเพียงว่าเลือดตาไหลสะอื้นร่ำอำลาด้วยอาลัยแล้วแข็งใจจากนางตามทางมาเหลียวหลังยังเห็นแม่แลเขม้นแม่ก็เห็นลูกน้อยละห้อยหาแต่เหลียวเหลียวเลี้ยวลับวับวิญญาณโอ้เปล่าตาต่างสะอื้นยืนตะลึง(เสภาขุนช้างขุนแผน ตอนกำเนิดพลายงาม : สุนทรภู่)

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓.๓ รสทำนอง (ระบบเสียงสูงต่ำซึ่งมีจังหวะสั้นยาว) ในบทร้อยกรองไทยจะประกอบด้วย ทำนองต่างๆ เช่น ทำนองโคลง ทำนองฉันท์ ทำนองกาพย์ ทำนองกลอนและทำนองร่าย เป็นต้น

สัตว์ พวกหนึ่งนี้ชื่อพหุบา ทาแฮมี อเนกสมญายอกย้อนท้า เกิดยิ่งจัตวาควรนับ เขานอมาก จวบหมิ่นแสนซ้อนสุดพ้นประมาณฯ(สัตวาภิธาน : พระยาศรีสนทรโวหาร (น้อย อาจารยากูร)

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓.๔ รสคล้องจอง ในบทร้อยกรองต้องมีคำคล้องจอง ในคำคล้องจองนั้นต้องให้ออกเสียง ต่อเนื่องกันโดยเน้นสัมผัสนอกเป็นสำคัญ เช่น

ถึงโรงเหล้าเตากลั่นควันโขมงมีคันโพงผูกสายไว้ปลายเสาโอ้บาปกรรมน้ำนรกเจียวอกเราให้มัวเมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็นน่าอายทำบุญบวชกรวดน้ำขอสำเร็จพระสรรเพชญโพธิญาณประมาณหมายถึงสุราพารอดไม่วอดวายไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไปไม่เมาเหล้าแล้วแต่เรายังเมารักสุดจะหักห้ามจิตคิดไฉนถึงเมาเหล้าเช้าสายก็หายไปแต่เมาใจนี้ประจำทุกค่ำคืน(นิราศภูเขาทอง : สุนทรภู่)

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓.๕ รสภาพ เสียงทำให้เกิดภาพ ในแต่ละคำจะแฝงไปด้วยภาพในการอ่านให้เห็นภาพต้องใช้ เสียงสูง-ต่ำ ดัง – ค่อย แล้วแต่จะให้เกิดภาพอย่างไร เช่น

"มดเอ๋ยมดแดงเล็กเล็กเรี่ยวแรงแข็งขยัน""สุพรรณหงส์ทรงพู่ห้อยงามชดช้อยลอยหลังสินธุ์""อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรคลงฤๅ"

๔. หลักการอ่านทำนองเสนาะ มีดังนี้

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๑. ก่อนอ่านทำนองเสนาะให้แบ่งคำแบ่งวรรคให้ถูกต้องตามหลักคำประพันธ์เสียก่อนโดย ต้องระวังในเรื่องความหมายของคำด้วย เพราะคำบางคำอ่านแยกคำกันไม่ได้
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๒. อ่านออกเสียงธรรมดาให้คล่องก่อน
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓. อ่านให้ชัดเจน โดยเฉพาะออกเสียง ร ล และคำควบกล้ำให้ถูกต้อง เช่น

"เกิดเป็นชายชาตรีอย่าขี้ขลาดบรรยากาศปลอดโปร่งโล่งสมองหยิบน้ำปลาตราสับปะรดให้ทดลองไหนเล่าน้องครีมนวดหน้าทาให้้ทีเนื้อนั้นมีโปรตีนกินเข้าไว้คนเคราะห์ร้ายคลุ้มคลั่งเรื่องหนังผีใช้น้ำคลองกรองเสียก่อนจึงจะดีเห็นมาลีคลี่บานหน้าบ้านเอย"
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๔. อ่านให้เอื้อสัมผัส เรียกว่า คำแปรเสียง เพื่อให้เกิดเสียงสัมผัสที่ไพเราะ เช่น
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
พระสมุทรสุดลึกล้น คณนา
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
(อ่านว่า พฺระ-สะ-หมุด-สุด-ลึก-ล้น คน-นะ-นา)
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
ข้าขอเคารพอภิวาท ในพระบาทบพิตรอดิสร
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
(อ่านว่า ข้า-ขอ-เคา-รบ-อบ-พิ-วาด ใน-พฺระ-บาด-บอ-พิด-อะ-ดิด-สอน
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
ขอสมหวังตั้งประโยชน์โพธิญาณ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
(อ่านว่า ขอ-สม-หฺวัง-ตั้ง-ปฺระ-โหฺยด-โพด-ทิ-ยาน)
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๕. ระวัง ๓ ต อย่าให้ตกหล่น อย่าต่อเติม และอย่าตู่ตัว
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๖. อ่านให้ถูกจังหวะ คำประพันธ์แต่ละประเภทมีจังหวะแตกต่างกัน ต้องอ่านให้ถูกวรรคตอนตามแบบแผนของคำประพันธ์นั้นๆ เช่น มุทิงคนาฉันท์ (๒-๒-๓) "ป๊ะโท่น / ป๊ะโทน /ป๊ะโท่นโท่น บุรุษ / สิโอน / สะเอวไหว อนงค์ / นำเคลื่อน / เขยื้อนไป สะบัด / สไบ / วิไลตา"
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๗. อ่านให้ถูกทำนองของคำประพันธ์นั้นๆ (รสทำนอง)
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๘. ผู้อ่านต้องใส่อารมณ์ตามรสความของบทประพันธ์นั้นๆ รสรัก โศก ตื่นเต้น ขบขัน โกรธ แล้วใส่น้ำเสียงให้สอดคล้องกับรสหรืออารมณ์ต่างๆ เหล่านั้น
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๙. อ่านให้เสียงดัง (พอที่จะได้ยินกันทั่วถึง)ไม่ใช่ตะโกน
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๑๐. เวลาอ่านอย่าให้เสียงขาดเป็นช่วงๆ ต้องให้เสียงติดต่อกันตลอด เช่น "วันจันทร มีดารากร เป็นบริวาร เห็นสิ้นดินฟ้า ในป่าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอรชร"
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๑๑. เวลาจบให้ทอดเสียงช้าๆ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๕. ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านทำนองเสนาะ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๑. ช่วยให้ผู้ฟังเข้าถึงรสและเห็นความงามของบทร้อยกรองที่อ่าน
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๒. ช่วยให้ผู้ฟังได้รับความไพเราะและเกิดความซาบซึ้ง (อาการรู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง)
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๓. ช่วยให้เกิดความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๔. ช่วยให้จดจำบทร้อยกรองได้รวดเร็วและแม่นยำ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๕. ช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้เป็นคนอ่อนโยนและเยือกเย็น (ประโยชน์โดยอ้อม)
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ
๖. ช่วยสืบทอดวัฒนธรรม ในการอ่านทำนองเสนาะไว้เป็นมรดกต่อไป

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ

https://wipakot.wordpress.com/author/wipakot/

แบ่ง จังหวะการอ่านเป็น 3 จังหวะ คือ