ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง


         ����������ӧҹ������ѡ�������硷�͹ԡ�������ѭ�ҳ�ҧ俿��᷹����Ţ�ٹ�����˹�� ����繵���Ţ�к��Ţ�ҹ�ͧ ������ѡ���¡��ҺԵ �������͹ӵ���Ţ�����Ե������ѹ �������ҧ����᷹�ӹǹ �ѡ��������ѭ�ѡɳ�����������������ѧ����� �������������š����¹��ͤ��������ҧ������Ѻ�������������������ǡѹ �֧�ա�á�˹��ҵðҹ����᷹��������к��Ţ�ҹ�ͧ����������ҵðҹ��������ѹ�ҡ�� 2 �������� ������ʡ���������ͺ�մԡ

�к��Ţ�ҹ�ͧ

        ������ա������������������ػ�ó�����硷�͹ԡ����ӧҹẺ�ԨԷ��������ç�ѹ俿���ʴ��֧ʶҹ���§ 2 ʶҹ� ��ͻԴ ( ᷹���� 0) ����Դ ( ᷹���� 1) �����Ҩ�С�������������ͧ�������������ѡ����Ţ��§ 2 �����ҹ�鹤�� 0 ��� 1 �ҡ�������ͧ��ä�����������������ͧ��ͪ��·ӧҹ �������ͧ���ѡ���¹����к��Ţ����Сͺ�����Ţ��§ 2 ����蹡ѹ �֧���ա�äԴ���к��Ţ�ҹ�ͧ���������������áѺ���������� ������ҧ�к��Ţ�ҹ�ͧ ( binary ) �� 110 2 , 10110 2

�͡�ҡ�к��Ţ�ҹ�ͧ���� 㹡�÷ӧҹ�ͧ�����������ѧ�Ҩ����Ǣ�ͧ�Ѻ�к�����Ţ�к�����ա �� �к��Ţ�ҹỴ����к��Ţ�ҹ�Ժˡ ����Ǥ�� �к��Ţ�ҹỴ�����к��Ţ����Сͺ���µ���Ţ��§ 8 ��� ��� 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ������ҧ�Ţ�ҹỴ 1673 8

㹢�з���к��Ţ�ҹ�Ժˡ �л�Сͺ���� ����Ţ 10 ��� �����������к��Ţ�ҹ�Ժ �����������ѡ��������ѧ��� A, B, C, D, E ��� F ᷹����Ţ 10 11 12 13 14 ��� 15 ����ӴѺ

������ҧ�Ţ�ҹ�Ժˡ �� A159 16 F7DA2 16

������ҧ   ����ŧ�Ţ�ҹ�Ժ���Ţ�ҹ�ͧ

2 ) 191. ���������� 19 ��� ������ô��� 22 ) 9��� 12. �ҡ��� 1 ����Ѿ���� 9 ��� 12 ) 4��� 13. ���Ѿ��ҡ��� 2 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 4 ��� 12 ) 2��� 04. ���Ѿ��ҡ��� 3 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 2 ��� 02 ) 1��� 05. ���Ѿ��ҡ��� 4 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 1 ��� 0   0��� 16. ���Ѿ��ҡ��� 5 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 0 ��� 17. �������è���з�觼������ 0 ��¹��ɷ����� �����ҡ���������§�ѹ�ҡ��ҧ��鹺� �����ٻẺ�ͧ�Ţ�ҹ�ͧ����դ����ҡѺ 19

������ҧ    ����ŧ�Ţ�ҹ�Ժ���Ţ�ҹ�ͧ

2 ) 291. ���������� 29 ��� ������ô��� 22 ) 14��� 12. �ҡ��� 1 ����Ѿ���� 14 ��� 12 ) 7��� 03. ���Ѿ��ҡ��� 2 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 7 ��� 02 ) 3��� 14. ���Ѿ��ҡ��� 3 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 3 ��� 12 ) 1��� 15. ���Ѿ��ҡ��� 4 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 1 ��� 1    0��� 16. ���Ѿ��ҡ��� 5 ��ô��� 2 ���Ѿ���� 0 ��� 17. �������è���з�觼������ 0 ��¹��ɷ����� �����ҡ���������§�ѹ�ҡ��ҧ��鹺� �����ٻẺ�ͧ�Ţ�ҹ�ͧ����դ����ҡѺ 29

����᷹������

1) ������ʡ� �繰ҹ��������ѹ�ҡ��к���������������к�������â���������᷹�����Ū�Դ������Ţ�ҹ�ͧ�ӹǹ 8 �Ե������ҡѺ 1 亵�᷹�ѡ��������ѭ�ѡɳ����е�� ������¤�����ҡ��᷹�ѡ������е�Ǩл�Сͺ�����Ţ�ҹ�ͧ 8 �Ե���§�ѹ ����ӴѺ�ͧ���кԵ�繴ѧ���

������ҧ����᷹������
ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง

2) �����ͺ�մԡ ������纫Դԡ (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code : EBCDIC) �Ѳ���º���ѷ�ͺ����� ����᷹�����Ź������繷�����������㹻Ѩ�غѹ
��á�˹����ʨ��� 8 �Ե ���˹���ѡ��� ����͹�Ѻ������ʡ� ��Ẻ�ͧ���ʷ���˹���ᵡ��ҧ�ѹ ��������纫Դԡ�����§�ӴѺ���кԵ�����᷹�ѡ��дѧ���

ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง
����Ẻ��纫մԡ ������ö���˹����Ѻ�ѡ���������������ͧ�������� �������ǡѹ ������ҧ����᷹������Ẻ��纫մԡ
ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง

3) �����ٹ��� �����ʷ�����ҧ������������ѧ����ա�����ҧẺ����ѡ�âͧ���ҵ�ҧ�����ٹ��������ʷ���ҧ�ҡ 2 ��Դ����������Ң�ҧ�� ������Ţ�ҹ�ͧ 16 �Ե㹡��᷹����ѡ�� ���ͧ�ҡ����Ңͧ��äԴ�����ʹ���� ������ա����ҹ��������������»��������ա�����ҧẺ����ѡ�âͧ���ҵ�ҧ�����š㹺ҧ������ ���Ҩչ ������ҭ���� �����ҫ�����¡����ٻ�Ҿ����յ���ѡ�������蹵�� �ҡ�����ʷ�����Ţ�ҹ�ͧ 8 �Ե �������ö᷹�ٻẺ����ѡ������§ 256 �ٻẺ �����������᷹����ѡ����ú �֧���ҧ������������᷹�������ö᷹����ѡ�����֧ 65,536 ��� ����ҡ����������᷹�ѭ�ѡɳ��ҿԡ����ѭ�ѡɳ�ҧ��Ե��ʵ�����ա����

ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง

ความหมายและประเภทของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล(Data)  คือ  สิ่งต่าง ๆ หรือข้อเท็จจริง  ที่ได้รับจากประสาทสัมผัสหรือสื่อต่าง ๆที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์
หรือการประมวลผล  โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น

ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง

ข้อมูลดิบ  (Raw  Data)  คือ  ข้อมูลทุกรูปแบบที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล

การแบ่งประเภทของข้อมูลขึ้นอยู่กับ
– ความต้องการของผู้ใช้
– ลักษณะของข้อมูลที่นำไปใช้
– เกณฑ์ที่นำมาพิจารณา

ในหน่วยการเรียนนี้จะยกตัวอย่างการแบ่งข้อมูลไว้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1. การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล
เป็นการแบ่งข้อมูลโดยพิจารณาจากการรับข้อมูลของประสาทสัมผัสของร่างกาย  ได้แก่
– ข้อมูลภาพที่ได้รับจากการมองเห็นด้วยดวงตา
– ข้อมูลเสียงที่ได้รับจากการฟังด้วยหู
– ข้อมูลกลิ่นที่ได้รับจากการสูดดมด้วยจมูก
– ข้อมูลรสชาติที่ได้รับจากการรับรสชาติด้วยลิ้น
– ข้อมูลสัมผัสที่ได้รับจากความรู้สึกด้วยผิวหนัง

2. การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลที่ได้รับ
โดยพิจารณาจากลักษณะของที่มาหรือการได้รับข้อมูล  ได้แก่
– ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)  คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูล
โดยตรงด้วยวิธีต่างๆ เช่น จากการสอบถามการสัมภาษณ์การสำรวจการจดบันทึก
ตัวอย่างข้อมูลปฐมภูมิ  ได้แก่  ข้อมูลการมาโรงเรียนสายของนักเรียน  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ซึ่งได้จากการจดบันทึกในรอบ  1  เดือนที่ผ่านมา
– ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)  คือ  การนำข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บรวบรวมหรือบันทึกไว้มาใช้งาน
ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเก็บรวบรวมและบันทึกด้วยตนเอง  จัดเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต  มักผ่านการประมวลผลแล้ว
ตัวอย่างข้อมูลทุติยภูมิ  ได้แก่  สถิติการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  ในปีพ.ศ.2550

3. การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในในสื่ออิเล็กทรอนิกส์
มีลักษณะคล้ายการแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล  แต่มีการแยกลักษณะข้อมูลตามชนิดและนามสกุล
ของข้อมูลนั้น ๆ  ได้แก่
– ข้อมูลตัวอักษร เช่น  ตัวหนังสือ  ตัวเลข  และสัญลักษณ์  ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้าย
ชื่อไฟล์เป็น  .txt  และ  .doc
– ข้อมูลภาพ  เช่น  ภาพกราฟิกต่าง ๆ และภาพถ่ายจากกล้องดิจิทัล ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุล
ต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น  .bmp  .gif  และ .jpg
– ข้อมูลเสียง  เช่น  เสียงพูด  เสียงดนตรี  และเสียงเพลง ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้าย
ชื่อไฟล์เป็น .wav  .mp3  และ  .au
– ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว  เช่น  ภาพเคลื่อนไหว  ภาพมิวสิกวีดีโอ  ภาพยนตร์  คลิปวิดีโอ ข้อมูลประเภท
นี้มักมีนามสกุลต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น  .avi

4. การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพิวเตอร์
มีลักษณะคล้ายและใกล้เคียงกับการแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาก  แต่มุ่งเน้นพิจารณา
การแบ่งประเภทตามการนำข้อมูลไปใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์  ได้แก่
– ข้อมูลเชิงจำนวน  มีลักษณะเป็นตัวเลขที่สามารถนำมาคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ได้  เช่น
จำนวนเงินในกระเป๋า  จำนวนค่าโดยสารรถประจำทาง  และจำนวนนักเรียนในห้องเรียน
– ข้อมูลอักขระ  มีลักษณะเป็นตัวอักษร  ตัวหนังสือ  และสัญลักษณ์ ต่างๆ ซึ่งสามารถนำเสนอข้อมูล
และเรียงลำดับได้แต่ไม่สามารถนำมาคำนวณได้  เช่น  หมายเลขโทรศัพท์  เลขที่บ้านและชื่อของนักเรียน
                – ข้อมูลกราฟิก  เป็นข้อมูลที่เกิดจากจุดพิกัดทางคอมพิวเตอร์  ทำให้เกิดรูปภาพหรือแผนที่  เช่น
เครื่องหมายการค้า  แบบก่อสร้างอาคาร  และกราฟ
– ข้อมูลภาพลักษณ์  เป็นข้อมูลแสดงความเข้มและสีของรูปภาพที่เกิดจากการสแกนของสแกนเนอร์
์เป็นหลัก  ซึ่งสามารถนำเสนอข้อมูล  ย่อหรือขยาย  และตัดต่อได้  แต่ไม่สามารถนำมาคำนวณหรือดำเนินการ
อย่างอื่นได้

ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง

ปัจจุบันบริษัท  NTT  Communications  Corp
ประเทศญี่ปุ่นได้มีการทดลองส่งข้อมูลกลิ่นผ่านทางอินเตอร์เน็ต
โดยมีโครงการที่จะเปิดให้บริการ  Aromatherapy  online  ในอนาคต


สารสนเทศ(Information)  คือ  สิ่งที่ได้จากการประมวลผลของข้อมูล  เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์
ในด้านการวางแผน  การพัฒนา  การควบคุม  และการตัดสินใจ
การแบ่งสารสนเทศสามารถแบ่งได้หลายรูปแบบ  เช่น
                1. การแบ่งสารสนเทศตามหลักแห่งคุณภาพ  ได้แก่  สารสนเทศแข็งและสารสนเทศอ่อน
                2. การแบ่งสารสนเทศตามแหล่งกำเนิด  ได้แก่  สารสนเทศภายในองค์กรและสารสนเทศ
ภายนอกองค์กร
                3. การแบ่งสารสนเทศตามสาขาความรู้  ได้แก่  สารสนเทศสาขามนุษยศาสตร์  สารสนเทศ
สาขาสังคมศาสตร์  สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  และสารสนเทศสาขาอื่น ๆ
                4. การแบ่งตามการนำสารสนเทศไปใช้งาน  ได้แก่  สารสนเทศด้านการตลาด  สารสนเทศ
ด้านการวิจัยและพัฒนาบุคลากร  และสารสนเทศด้านการเงิน
5. การแบ่งตามการใช้และการถ่ายทอดสารสนเทศ  ได้แก่    สารสนเทศที่เน้นวิชาการ  สารสนเทศ
ที่เน้นเทคนิค  สารสนเทศที่เน้นบุคคล  และสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
6. การแบ่งตามขั้นตอนของการพัฒนาสารสนเทศ  ได้แก่  สารสนเทศระยะแรกเริ่มและ
สารสนเทศระยะยาว
7. การแบ่งสารสนเทศตามวิธีการผลิตและการจัดทำ  ได้แก่  สารสนเทศต้นแบบและสารสนเทศปรุงแต่ง
8. การแบ่งสารสนเทศตามรูปแบบที่นำเสนอ  ได้แก่  สารสนเทศที่มีลักษณะเป็นเสียง  สารสนเทศ
ที่มีลักษณะเป็นข้อความ  สารสนเทศที่มีลักษณะเป็นโสตทัศนวัสดุ  และสารสนเทศที่มีลักษณะเป็นอิเล็กทรอนิกส์
9. การแบ่งสารสนเทศตามสภาพความต้องการที่จัดทำขึ้น  ได้แก่  สารสนเทศที่ทำประจำ
สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย  และสารสนเทศที่ได้รับหมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ

ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง

การนำความรู้หรือวิธีการมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ
ความถูกต้อง และความรวดเร็วให้แก่  สารสนเทศ
เรียกว่า  ไอทีหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ  (IT:  Information  Technology)

การจัดการสารสนเทศ
การจัดการสารสนเทศมี  3  ขั้นตอน  คือ  การเก็บรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล  การประมวลผลข้อมูล
และการดูแลรักษาข้อมูล

การเก็บรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล
เป็นขั้นตอนแรกในการจัดการสารสนเทศ  ซึ่งควรกระทำควบคู่กันไป  คือ  เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้ว
ก็ทำการตรวจสอบข้อมูลนั้นทันที  เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตามความต้องการมากที่สุด
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล  เป็นการจัดการกับข้อมูลจำนวนมาก  จึงควรกำหนดว่าจะต้องใช้ข้อมูลอะไร
บ้าง  ข้อมูลได้มาจากไหน  และจัดเก็บข้อมูลนั้นมาได้อย่างไร
2. การตรวจสอบข้อมูล  เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาเพื่อได้สารสนเทศ
ที่คุณภาพ

การประมวลผลข้อมูล
 การประมวลผลข้อมูล  คือ  การนำข้อมูลที่มีอยู่แล้วหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมและตรวจสอบมา
กระทำเพื่อให้ข้อมูลเปลี่ยนแปลงไปจนเกิดผลลัพธ์ตามที่ต้องการ  ดังนี้
1. การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล  เป็นการแยกประเภทของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาอย่างเป็นระบบตามกลุ่ม
และประเภทของข้อมูลนั้น  เพื่อให้สามารถดำเนินการในขั้นตอนต่อไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ทั้งนี้อาจเก็บไว้ในรูปของแฟ้มเอกสารหรือแฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในคอมพิวเตอร์ก็ได้
2. การจัดเรียงข้อมูล  เป็นขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล  เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาหรืออ้างอิงข้อมูลในอนาคต
 3. การคำนวณ  เป็นการประมวลผลที่ต้องการผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่มีความละเอียดถูกต้อง  แม่นยำ
เนื่องจากที่รวบรวมและจัดเก็บมานั้นอาจมีทั้งรูปแบบของข้อความและตัวเลข  ซึ่งต้องมีการคำนวณหาค่าเฉลี่ยหรือ
ผลรวมของข้อมูลนั้น ๆ
4. การทำรายงาน  เป็นการประมวลผลที่มีความสลับซับซ้อนมากที่สุด  โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อเผยแพร่ ข้อมูลในอนาคต  ผู้ดำเนินการจะต้องสรุปข้อมูลเพื่อทำรายงานให้ตรงกับความต้องการในการใช้สารสนเทศ นั้น ๆ
โดยจะต้องนำเสนอรายงานในรูปแบบที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดการสารสนเทศ

การดูแลรักษาข้อมูล
การดูแลรักษาข้อมูล  เป็นขั้นตอนการจัดการสารสนเทศมีจุดประสงค์หลักเพื่อป้องกันและเก็บรักษาข้อมูล ไม่ให้สูญหาย  ช่วยอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลสำหรับนำกลับมาใช้ใหม่ในอนาคต
  1. การจัดเก็บ  คือการนำข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบและประมวลผลแล้วมาบันทึกเข้าสู่ระบบข้อมูล
อย่างมีระเบียบและเป็นหมวดหมู่  เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้งาน  ทั้งนี้อาจจัดเก็บไว้ในรูปแบบของแฟ้มเอกสาร
สิ่งพิมพ์หรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในคอมพิวเตอร์ก็ได้
        2. การทำสำเนา  คือ  การเพิ่มจำนวนข้อมูลด้านปริมาณ  โดยเนื้อหาของข้อมูลจะไม่เปลี่ยนแปลงไป
จากต้นฉบับหรือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว  สามารถกระทำได้โดยการคัดลอกทั้งจากมนุษย์หรือ
เครื่องจักรต่าง ๆ  ซึ่งเป็นเครื่องถ่ายเอกสารหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้
        3. การแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล  คือ  การนำสำเนาที่ทำเพิ่มไว้แจกจ่ายให้แก่ผู้ใช้และผู้เกี่ยวข้อง
        4. การปรับปรุงข้อมูล  คือ  การแก้ไขปรับปรุงรายการข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน  อาจกระทำโดยการแก้ไขข้อมูลบางส่วนหรือบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมลงในระบบข้อมูล

ข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่าง

การจัดการสารสนเทศมีการพัฒนาไปตามเทคโนโลยีที่หลากหลาย
ทำให้สามารถนำผลที่ได้รับไปใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น  จนถือได้ว่า การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการสารสนเทศ

แบ่งปันสิ่งนี้:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศคืออะไร

สารสนเทศ คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความคิดเห็น หรือประสบการณ์ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง ที่ผ่านกระบวนการประมวลผล และบันทึกไว้อย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการในสื่อประเภทต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ วีดีโอ ซีดีรอม ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ เพื่อนำออกเผยแพร่ และใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะเป็น ...

ข้อมูล และสารสนเทศ คืออะไร แตกต่างกันอย่างไร ยกตัวอย่างประกอบ

ข้อมูลแตกต่างจากสารสนเทศ คือ ข้อมูล เป็นส่วนของข้อเท็จจริง โดยได้ จากการเก็บมาจากเหตุการณ์ต่างๆ สารสนเทศ คือข้อมูลที่นามาผ่าน กระบวนการเพื่อสามารถนาไปใช้ในการตัดสินใจต่อไปได้ทันที

ข้อมูลและสารสนเทศมีกี่ประเภท

การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น 3 ประเภทย่อย คือ ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (Transaction Processing Systems) ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ (Management Reporting Systems) และระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems)

ข้อมูล (data) และสารสนเทศ (Information) คืออะไร

Data vs Information ความเหมือนที่แตกต่างกัน เช่น จำนวนผู้ติดเชื้อ Covid-19 คือ Data แต่เรานำเอาข้อมูลมาเข้ากระบวนการทางสถิติจะได้ออกมาว่าค่าเฉลี่ยของอายุผู้ติดเชื้อ Covid-19 สิ่งนี้จะเรียกว่า Information เพราะผ่านกระบวนการเรียบร้อยแล้ว หรือราคาน้ำมันที่เปลี่ยนแปลงในรอบเดือนอันนี้ก็จะนับเป็น Information เช่นกัน