การวิเคราะห์ข้อมูล โครงงาน

            ผู้วิจัย ได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นตอนๆ เพื่อสะดวกต่อการทำความเข้าใจโดยเสนอเรียงตามลำดับดังนี้

       ตอนที่ 1  วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างในการทำวิจัย

       ตอนที่ 2  วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน

       ตอนที่ 3 วิเคราะห์สรุปผลแบบประเมินความพึ่งพอใจของนักเรียน

    ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

            ผู้ทำวิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับดังนี้

    ตอนที่ 1 ผลการแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง

    การวิจัยครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน ซึ่งแบ่งเป็นนักเรียนชาย 11 คน นักเรียนหญิง 19 คน ดังตารางที่ 1

    ตารางที่ 1 ตารางแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง

เพศ

N = 30

ร้อยละ

นักเรียนชาย

11

36.67

นักเรียนหญิง

19

63.33

            จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชายร้อยละ 36.76 และนักเรียนหญิงร้อยละ 63.33

            ตอนที่ 2 คะแนนผลสัมฤทธิ์การใช้ชุดกิจกรรมนิทานเรื่อง อยู่อย่างพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปรากฏผลตามตารางที่ 2  ดังนี้

    ผลรวมคะแนนสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมนิทาน เรื่อง อยู่อย่างพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปรากฏผลตามตารางที่ 2   ดังนี้

    ตารางที่ 2   ตารางแสดงคะแนนผลสัมฤทธิ์ ชุดกิจกรรมนิทานเรื่อง อยู่อย่างพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังของนักเรียนที่ได้รับการสอน

นักเรียน (30 คน)

คะแนน

ก่อนเรียน

หลังเรียน

D

1

13

15

-2

2

11

11

0

3

8

10

-2

4

5

11

-6

5

6

8

-2

6

7

10

-3

7

9

10

-1

8

6

10

-4

9

8

9

-1

10

11

15

-4

11

12

13

-1

12

8

7

1

13

16

15

1

14

7

10

-3

15

9

12

-3

16

5

11

-6

17

7

10

-3

18

9

7

2

19

5

8

-3

20

7

8

-1

21

9

11

-3

22

4

10

-6

23

8

10

-2

24

15

17

-2

25

9

12

-3

26

10

13

-3

27

10

10

0

28

7

11

-4

29

9

11

-2

30

11

13

-2

เลขที่

ก่อนเรียน

หลังเรียน

D

x

การวิเคราะห์ข้อมูล โครงงาน

S.D.

การวิเคราะห์ข้อมูล โครงงาน
%

261

8.7

2.81

26.10

328

10.93

2.38

32.80

67

-

-

-

            จากตารางที่ 2  พบว่า นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 8.7 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.81 ร้อยละของค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.10 และคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 10.93             ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.38 ร้อยละของค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.80 แสดงให้เห็นว่า เมื่อนักเรียนได้รับการสอนนักเรียนจะได้รับผลสัมฤทธิ์ที่ดีกว่า

            ตอนที่ 3 ผลเฉลี่ยความพึ่งพอใจของนักเรียน

            การวิจัยครั้งนี้เก็บข้อมูลจากแบบประเมินความพึ่งพอใจหลังเรียนของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ จำนวน 30 คน โดยวิเคราะห์หาค่าสถิติ คือค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ผลเฉลี่ยดังตาราง

                        ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลรวมการวิเคราะห์ความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อแบบฝึกทักษะ

ที่

                              ความพึ่งพอใจ          (N=30)

การวิเคราะห์ข้อมูล โครงงาน

S.D.

การแปลผล

1

ขนาด รูปแบบ สวยงาม

4.75

7.38

มากที่สุด

2

ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร  

3.5

10.27

มาก

3

ความเหมาะสมของการใช้ภาษา

4.5

11.81

มากที่สุด

4

ช่วยส่งเสริมหรือพัฒนาสติปัญญาผู้เรียน

3.75

10.39

มาก

5

เนื้อหาเหมาะสมกับวัตถุประสงค์

4

12.86

มาก

6

รูปภาพประกอบในการนำเสนอ

4.25

12.31

มาก

7

ความน่าสนใจในหนังสือ

5

8.15

มากที่สุด

8

ประโยชน์ที่ได้รับ

4.75

11.31

มากที่สุด

9

ความเหมาะสมในการเชื่อมโยงภาพและข้อความ

3.25

9.41

ปานกลาง

10

การลำดับความยากง่ายของเนื้อหาใน บทเรียน

4.5

6.28

มากที่สุด

เฉลี่ย

4.23

10.02

มาก/มากที่สุด

            จากตารางที่ 3 พบว่าระดับความพึ่งพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ อยู่ในระดับพึ่งพอใจมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึ่งพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนเป็นอย่างมากในด้านขนาด             ความเหมาะสม ความน่าสนใจของหนังสือ  ในด้านรูปแบบการจัดการเรียนการสอน (

การวิเคราะห์ข้อมูล โครงงาน
= 4.75 และค่า S.D. = 7.38)แต่ในด้ายความเหมาะสมขอในการเชื่อมโยงภาพและข้อความพบว่าความพึ่งพอใจในระดับปานกลาง (
การวิเคราะห์ข้อมูล โครงงาน
= 3.25และค่า S.D. = 9.41)