ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12

Skip to content

ค่านิยมหลัก (CORE VALUE)

พล.ต.ต.ศุภณัฎฐ์ เจริญเรืองสกุล ผบก.ตม.5

บริการแจ้ง 90 วันออนไลน์

การรับแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน ทางระบบออนไลน์ (ตม.47)

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12

แจ้งที่พักอาศัยออนไลน์

การแจ้งรับคนต่างด้าวเข้าพักอาศัย สำหรับเจ้าบ้าน เจ้าของหรือผู้ครอบครองเคหะสถาน (ตม.30)

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12

บริการจองคิวออนไลน์

จองคิวสำหรับเข้ารับบริการ ตรวจคนเข้าเมือง
จังหวัดน่าน

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12

ขออยู่ต่อในราชอาณาจักรไทย ผ่านระบบออนไลน์

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12

ข้อมูลบริการ

แนะนำหน่วยงาน

วีดิทัศน์แนะนำหน่วยงาน
ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดน่าน

หน่วยงานในสังกัด บก.ตม.5

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12
��Ǩ��������ͧ�ѧ��Ѵ��ط�ʧ����
229 ���� 3 �.�Ҵ�˭� �.���ͧ �.��ط�ʧ���� 75000, �������

���Ѿ�� 034-711-878   Email:

˹���á ����ǡѺ ��.��.��ط�ʧ���� �������/�Ԩ���� �ҹ��ԡ�û�ЪҪ� �Դ������

Copyright © 2018 samutsongkhramimmigration.go.th All rights reserved. Powered by ThaiORC.com
ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12

ประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดี ปรับปรุงใหม่

ผู้แต่ง : ฝ่าบวิชาการสูตรไพศาล

ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : กรกฎาคม 2561

จำนวนหน้า : 640 หน้า

ขนาด : 18.5 x 26 ซม.

รูปแบบ : ปกแข็ง เย็บกี่

9786163251299

คำนำ

ระเบียบคู่กับกฎหมายระเบียบเป็นแนวทางปฏิบัติที่สืบทอดประเพณีอันดีงามแฝงความสำนึกความรับผิดชอบความเอื้ออาทรและอีกหลากหลายคำนิยามสอดรับกับกฎหมายซึ่งบางครั้งรุนแรงแปลกใหม่มีความจริงจังแฝงด้วยอำนาจเด็ดขาดมักเปิดช่องให้อนุบัญญัติเป็นกลไกขับเคลื่อนกำหนดบทบาท

ประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดี ย้อนอดีตนับแต่.-

- ข้อบังคับที่ 1/2498 เรื่องวางระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดี การดำเนินคดีอาญาในหน้าที่ตำรวจนอกวิ.อาญาหลักปฏิบัติจึงต้องกำหนดรายละเอียดเป็นเครื่องมือให้ทันกับเหตุการณ์ฯ

- ข้อบังคับที่ 4/2499เรื่องวางระเบียบการตำรวจฯนโยบาย 4 ข้อ

ข้อ 1รวมซึ่งตำรวจมีหน้าที่ต้องปฏิบัติทั้งหมดสะดวกปฏิบัติ

ข้อ 2ต้องตรวจตราแก้ไขให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์อยู่เสมอไม่ต้องกังวลไปตรวจค้นระเบียบปฏิบัติอื่นอีกเสียเวลาโดยไม่จำเป็น

ข้อ 3ถ้าไม่จำเป็นจริงๆไม่ควรแก้ไขให้คลายความสำคัญลงไป

ข้อ 4ให้ตำรวจทุกคนถือปฏิบัติตามระเบียบนี้อย่างเคร่งครัด

- คำสั่งกระทรวงมหาดไทยที่ 639/2534เรื่องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดีตั้งไว้ 2คณะรวม 19 คนปลายปี พ.ศ.2539สำเร็จเป็นประมวลใหม่สุดขณะนั้นและพร้อมประกาศใช้แทนประมวลระเบียบเดิม คณะกรรมการ ณ ในขณะนั้นตั้งข้อสังเกตว่าหากรอรัฐธรรมนูญฯ 2540ที่ใกล้วันประกาศใช้ ได้ประกาศใช้น่าจะเหมาะสมด้วยมิต้องปรับแก้ประมวลใหม่ซึ่งมี 17 ลักษณะใหม่ (ขณะนั้น) มท.1 (นายเสนาะ เทียนทอง) ไม่ขัดข้องกระทั้งบัดนี้ประมวลก็ยังคงเดิม

คำสั่งข้อบังคับดังกล่าวและอีกหลายฉบับที่เกี่ยวข้องดังที่พิมพ์ไว้ณประมวลเล่มก่อนและปรากฏใน CD ประมวลการจัดพิมพ์ใหม่นี้ต้องสงวนเนื้อที่มิให้หนาเกินความจำเป็นมิให้กระทบกับราคาอันสอดคล้องกับปริมาณและเนื้อหา

 สารบัญ

ลักษณะ๑ข้อความเบื้องต้น

- บทที่๑ คำนำ

- บทที่๒ อำนาจและหน้าที่ของตำรวจ 

- บทที่๓ คำจำกัดความ

ลักษณะ๒การสืบสวน

- บทที่๑ หลักทั่วไป

- บทที่๒ การสืบสวนและตรวจสถานที่เกิดเหตุ

- บทที่๓ การบันทึกการสืบสวน

ลักษณะ๓การจับกุม

- บทที่๑ อำนาจการจับกุม

- บทที่๒ การจับในที่รโหฐาน 

- บทที่๓ การจับกุมของราษฎร

- บทที่๔ วิธีการจับ

- บทที่๕ การจับกุมพระภิกษุสามเณร 

- บทที่๖ การจับกุมข้าราชการชั้นสัญญาบัตรและชั้นตรีขึ้นไป 

- บทที่๗ การแจ้งข้อกล่าวหา การจับ การคุมขังหรือการออกหมายเรียกตัวสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

- บทที่๘ การจับกุมทูตานุทูตและกงสุลต่างประเทศ

- บทที่๙ การจับกุมบุคคลในองค์การสหประชาชาติ 

- บทที่๑๐การจับกุมผู้กระทำผิดในเรือต่างประเทศ

- บทที่๑๑การจับกุมพนักงานรถไฟ

- บทที่๑๒การจับกุมไปรษณียบุรุษและคนขับรถบางประเภท 

- บทที่๑๓การจับกุมคนขอทานคนเป็นโรคเรื้อนและคนทุพพลภาพ 

- บทที่๑๔การจับกุมผู้ต้องสงสัยว่าหลบหนีคดีอาญา 

- บทที่๑๕การจับกุมบุคคลที่เป็นยามเฝ้าทรัพย์หรือสถานที่

- บทที่๑๖การตรวจจับผู้กระทำผิดกฎหมายซึ่งอยู่ในหน้าที่ ของกรมสรรพสามิต

- บทที่๑๗การจับกุมและสงเคราะห์หญิงนครโสเภณี  

ลักษณะ๔การค้น

- บทที่๑ อำนาจในการค้น

- บทที่๒ วิธีปฏิบัติเกี่ยวแก่การค้นในที่รโหฐาน 

- บทที่๓ การค้นในที่สาธารณสถาน

- บทที่๔ การค้นร้านจำหน่ายฝิ่น 

- บทที่๕ การตรวจค้นรถไฟ

- บทที่๖ การตรวจค้นของผิดกฎหมายในหีบเงินหลวงในระหว่างทาง

- บทที่๗ การค้นของผิดกฎหมายในเรือค้าขายต่างประเทศและเรือค้าขายชายฝั่ง

- บทที่๘ การตรวจค้นของตำรวจหน่วยอื่นที่ไม่ใช่ตำรวจเจ้าของท้องที่

- บทที่๙ ข้อตกลงว่าด้วยการอายัดพัสดุไปรษณีย์ในประเทศระหว่างการสื่อสาร 

แห่งประเทศไทย กรมศุลกากรและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ 

ลักษณะ๕ หมายเรียกและหมายอาญา 

- บทที่๑ หมายเรียก

- บทที่๒ หมายจับ

- บทที่๓ หมายค้น

ลักษณะ๖การควบคุม

- บทที่๑ อำนาจการควบคุม

- บทที่๒ การควบคุมตัวที่สถานีตำรวจ

- บทที่๓ การขออำนาจศาลขัง 

- บทที่๔ การใช้เครื่องพันธนาการ

- บทที่๕ การนำผู้ถูกควบคุมเดินทาง

- บทที่๖ ความรับผิดชอบในการควบคุมร่วมกันระหว่างฝ่ายปกครองและตำรวจ

- บทที่๗ การรับช่วงคุมส่ง 

- บทที่๘ การปฏิบัติในการควบคุมผู้ต้องหาที่บาดเจ็บในโรงพยาบาล 

- บทที่๙ การควบคุมผู้ต้องหาหรือจำเลยหรือผู้ต้องขังไปมาระหว่างศาลกับเรือนจำ

- บทที่๑๐ การควบคุมผู้ต้องขังส่งทางรถไฟ

- บทที่๑๑ การฝากควบคุม

- บทที่๑๒ การควบคุมผู้ต้องขังย้ายเรือนจำและการป้องกันจำเลยหรือ 

ผู้ต้องขังก่อการร้ายหรือหลบหนี

- บทที่๑๓ การอายัดตัวผู้ต้องขังยังเรือนจำ 

- บทที่๑๔ การควบคุมผู้ต้องขังทำการงาน 

- บทที่๑๕ การให้ผู้ถูกคุมขังพบและปรึกษาทนายความ

ลักษณะ๗การปล่อยชั่วคราว

- บทที่ ๑ การปล่อยชั่วคราวเฉพาะหน้าที่ตำรวจ 

- บทที่ ๒ สัญญาประกัน 

- บทที่ ๓ ข้าราชการตำรวจประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย

- บทที่ ๔ ค่าเขียนคำร้องและสัญญาประกัน

- บทที่ ๕ สถิติประกัน

- บทที่ ๖ การใช้บุคคลเป็นประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราว 

ลักษณะ๘การสอบสวน

- บทที่ ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการสอบสวน

- บทที่ ๒ อำนาจการสอบสวน

- บทที่๒/๑การสอบสวนคดีความผิดฐานหมิ่นประมาท ในกรณีความผิด

 กรรมเดียวกระทำลงในหลายท้องที่ 

- บทที่ ๓ การสอบสวนคดีที่ยังไม่ได้หลักฐานพอฟ้อง

- บทที่ ๔ การบันทึกการสอบสวน

- บทที่ ๕ การถามปากคำ 

- บทที่ ๖ การคุมพยานและการป้องกันพยานสำคัญในคดีอาญา 

- บทที่ ๗ การกันผู้ต้องหาเป็นพยานในบางคดี

- บทที่ ๘ การชี้ตัวและชี้รูปผู้ต้องหา 

- บทที่ ๙ การทำแผนที่และถ่ายรูปสถานที่เกิดเหตุ 

- บทที่๑๐ การประสานงานระหว่างพนักงานสอบสวนท้องที่ กับพนักงาน

สอบสวนกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง 

- บทที่๑๑การเรียงลำดับเอกสาร การใช้หมายเลข การลงชื่อในสำนวน

การสอบสวนและการรวบรวมสำนวนการสอบสวนประกอบด้วยความเห็น

- บทที่๑๒ อำนาจการทำความเห็นทางคดีของตำรวจนครบาล 

- บทที่๑๓ การส่งคดีแก่พนักงานอัยการเฉพาะกรุงเทพมหานคร 

- บทที่๑๔ ความเกี่ยวพันระหว่างพนักงานอัยการกับพนักงานสอบสวน 

- บทที่๑๕ การเก็บสำนวน 

- บทที่๑๖ แบบบันทึกการสอบสวน 

- บทที่๑๗ จรรยาบรรณของพนักงานสอบสวน

ลักษณะ๙การเปรียบเทียบคดีอาญา

- บทที่ ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการเปรียบเทียบคดีอาญา 

- บทที่ ๒ การเปรียบเทียบคดีความผิดต่อพระราชบัญญัติศุลกากร

 ในหน้าที่พนักงานสอบสวน 

- บทที่ ๓ การเปรียบเทียบคดีตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก 

- บทที่ ๔ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเปรียบเทียบปรับคดี

ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบ การจอดรถยนตร์

ในเขตเทศบาลและสุขาภิบาล

- บทที่ ๕ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเปรียบเทียบปรับ

คดีความผิดตามกฎหมายรักษาความสะอาดและความเป็น

ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 

ลักษณะ๑๐การชันสูตรพลิกศพ 

- บทที่๑ อำนาจและหน้าที่ในการชันสูตรพลิกศพ

- บทที่๒ การชันสูตรพลิกศพที่ไม่ทราบว่าผู้ตายเป็นใครหรือตายในที่สาธารณะ

- บทที่๓ การพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลในกรณีวินาศภัย 

ลักษณะ๑๑การฟ้องคดีอาญา

- บทที่๑การฟ้องคดี 

- บทที่๒การอุทธรณ์ 

- บทที่๓การฎีกา

ลักษณะ๑๒รายงานประจำวัน  

ลักษณะ๑๓การรายงานคดีอาญา

- บทที่ ๑ สมุดสารบบการดำเนินคดี 

- บทที่ ๒การรายงานคดีอาญา

- บทที่ ๓ คำร้องทุกข์หรือคำกล่าวโทษ

- บทที่ ๔ การปฏิบัติเกี่ยวกับการรายงานคดี

- บทที่ ๕ ระเบียบวิธีปฏิบัติกรณีสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (เฉพาะในราชการตำรวจ) เป็นโจทก์หรือจำเลยในคดีแพ่ง

- บทที่ ๖ ในกรณีที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(เฉพาะในราชการตำรวจ) เป็นโจทก์

- บทที่ ๗ ในกรณีที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(เฉพาะในราชการตำรวจ)เป็นจำเลย

ลักษณะ ๑๔ การออกตำหนิรูปพรรณบุคคลและทรัพย์

- บทที่ ๑ การออกตำหนิรูปพรรณผู้กระทำความผิด 

- บทที่ ๒ การออกตำหนิรูปพรรณทรัพย์หายและได้คืน 

- บทที่ ๓ การดำเนินการเกี่ยวกับคนหายพลัดหลงและได้คืน 

ลักษณะ ๑๕ ของกลางและของส่วนตัวผู้ต้องหา

- บทที่ ๑ ของกลาง

- บทที่ ๒ สิ่งของส่วนตัวของผู้ต้องหา

- บทที่ ๓ สัตว์พลัดเพลิด 

- บทที่ ๔ ของตกที่มีผู้เก็บได้

- บทที่ ๕ บัญชีของกลางคดีอาญาติดสำนวนการสอบสวน

- บทที่ ๖ ข้อตกลงระหว่างกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงอุตสาหกรรม

 เรื่องการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลาง ในคดีความผิดตามกฎหมาย

 ว่าด้วยแร่ และกฎหมายน้ำบาดาล๒๕๔๐ 

- บทที่ ๗ ข้อตกลงระหว่างกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงเกษตรและ

 สหกรณ์ เรื่องการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลางในคดีความผิดเกี่ยวกับการป่าไม้

- บทที่ ๘ ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการเก็บรักษายาเสพติด

 ให้โทษของกลางพ.ศ. ๒๕๔๑

- บทที่ ๙ การปฏิบัติเกี่ยวกับรถของกลาง 

ลักษณะ๑๖ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน

- บทที่ ๑ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับเด็กนักเรียนและเด็กอนาถาไม่เกี่ยวแก่ผู้ต้องหาในคดีอาญา

- บทที่ ๒ การปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนในส่วนที่เกี่ยวกับคดี 

- ภาคผนวก 

ลักษณะ๑๗การควบคุมอาชญากรบางประเภท

- บทที่ ๑ การทำตำหนิรูปพรรณและประวัติย่อผู้ต้องขังพ.ศ. ๒๕๒๗

- บทที่ ๒ การทำบัตรประวัติคนพ้นโทษและการรายงานพฤติการณ์

- บทที่ ๓ การทำบัตรคนอันธพาล 

- บทที่ ๔ การทำตำหนิรูปพรรณและประวัติย่อของบุคคลผู้ได้รับการ 

อาชีวศึกษาสงเคราะห์ 

ลักษณะ๑๘กรณีบางเรื่องที่มีวิธีปฏิบัติเป็นพิเศษ

- บทที่ ๑ เหตุอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญและเหตุที่ต้องรายงานด่วน

- บทที่ ๒ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 

- บทที่ ๓ ระเบียบการปฏิบัติเกี่ยวกับรถโดนกันชนหรือทับบุคคลหรือทรัพย์

- บทที่ ๔ วิธีปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติอาชีวศึกษาสงเคราะห์ในหน้าที่ตำรวจ

- บทที่ ๕ ระเบียบจัดการเกี่ยวกับการเมือง

- บทที่ ๖ ระเบียบการป้องกันการจารกรรม

- บทที่ ๗ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวแก่ส่งผู้ร้ายข้ามแดน

- บทที่ ๘ วิธีจัดการเกี่ยวกับคดียาเสพติดให้โทษอื่นๆ 

- บทที่ ๘/๑ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจับ ยึดและตรวจพิสูจน์ยาเสพติด 

- บทที่ ๘/๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประสานงานในคดี

ความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดพ.ศ. ๒๕๓๗

- บทที่ ๘/๓ กำหนดระบบรายงานคดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด

- บทที่๙ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับยาพิษและสารเป็นพิษ

- บทที่๑๐ ระเบียบการปฏิบัติเกี่ยวกับคนต้องบาดเจ็บ

- บทที่๑๑ การปฏิบัติหน้าที่และการประสานงานเกี่ยวกับการตรวจสอบ

 ประวัติและการตรวจสอบแผนประทุษกรรมฯ

- บทที่๑๒ การปฏิบัติเกี่ยวกับโรงจำนำ

- บทที่๑๓ คุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว 

- บทที่๑๔ ครูลงโทษนักเรียนเกินกว่าเหตุ

- บทที่๑๕ วิธีการเพื่อความปลอดภัยของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

- บทที่๑๖ จรจัด

- บทที่๑๗ ระเบียบปฏิบัติของพนักงานสอบสวนเมื่อมีชายพาหญิงที่อ้างว่าพากันหลบหนีบิดามารดาหรือผู้ปกครอง มาแจ้งความ

- บทที่๑๘ระเบียบปฏิบัติในการป้องกันและปราบปรามการลักรถยนต์

- บทที่๑๘/๑หลักเกณฑ์การขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้เชี่ยวชาญของศาลและ

การขอแต่งตั้งผู้ชำนาญการพิเศษของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ 

- บทที่ ๑๙การขอรับชดใช้ค่าใช้จ่ายเบื้องต้นตามพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก 

- บทที่๒๐การอนุญาตให้ใช้รถบรรทุกของสูงเกินกำหนดชั่วคราว 

- บทที่๒๑ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การปฏิบัติงานประนีประนอม

ข้อพิพาทของคณะกรรมการหมู่บ้านพ.ศ. ๒๕๓๐

- บทที่๒๒การติดตามประเมินผลการประนีประนอมข้อพิพาทของ

คณะกรรมการหมู่บ้าน 

- บทที่๒๓แนวทางปฏิบัติในการดำเนินคดีความผิดตามกฎหมา

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

- บทที่๒๔แนวทางการปฏิบัติในการดำเนินคดีความผิดตามกฎหมาย

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

 ลักษณะ๑๙ การเนรเทศ

- บทที่ ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการเนรเทศ

- บทที่ ๒ ฐานความผิดที่จะต้องพิจารณาเนรเทศ

- บทที่ ๓ การสอบสวนคดีเนรเทศ

- บทที่ ๔ วิธีจัดการเมื่อมีคำสั่งให้เนรเทศแล้ว 

- บทที่ ๕ การควบคุมผู้ต้องเนรเทศ 

 ลักษณะ๒๐ข้อตกลงระหว่าง

- บทที่ ๑ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการปฏิบัติและประสานงาน

 กรณีทหารถูกหาว่ากระทำความผิดอาญาพ.ศ.๒๕๔๔

- บทที่ ๑/๑ แบบของหนังสือตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย

การปฏิบัติและประสานงานกรณีทหารถูกหาว่ากระทำความผิดอาญาพ.ศ.๒๕๔๔

- บทที่๒ข้อตกลงระหว่างกระทรวงมหาดไทย กับกระทรวงเกษตรและ

 สหกรณ์เรื่อง การปฏิบัติเกี่ยวกับสัตว์ป่าและซากของสัตว์ป่าและ

ของกลางอื่น ๆในคดีความผิดตามพระราชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓