วิจัยในชั้นเรียน การงานอาชีพ งานเกษตร

วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผักสวนครัว 2559

วิจัยในชั้นเรียน การงานอาชีพ งานเกษตร

ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผักสวนครัว ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา2559 โรงเรียนโสกแคนหนองหญ้าปล้อง

วิจัยในชั้นเรียน การงานอาชีพ งานเกษตร

ครู at โรงเรียนโสกแคนหนองหญ้าปล้อง

ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผักสวนครัว ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา2559 โรงเรียนโสกแคนหนองหญ้าปล้อง

Download การว จ ยช นเร ยนระด บช นประถมศ กษาป ท 3 ช อเร อง การพ ฒนาท กษะการเร ยนว ชาการงานอาช พฯ สาหร บน กเร ยนช นประถมศ ...

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 1 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การวิจัยชั้นเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพฯ สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการฝึ กปฎิบตั ิ 1. ภูมหิ ลัง จากหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 1 สาระที่ 1 การดารงชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน 1.1 เข้าใจการ ทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะ การทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยการทางาน มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวติ และครอบครัว สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน 1.2 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีทางสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยงั่ ยืน จากการที่ได้ดาเนินการจัดกิจกรรม การเรี ยนรู้ ให้กบั นักเรี ยนในระดับชั้น ป.3 จึงเล็งเห็นความสาคัญของการที่นกั เรี ยนได้ลงมือปฏิบตั จริ ง ซึ่งนักเรี ยน สามารถเรี ยนรู ้และปฏิบตั ิตามได้อย่างมีความสุ ข

2. จุดม่ งหมาย 1. เพื่อพัฒนาทักษะในการเรี ยนวิชาการงานอาชีพฯ สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการฝึ กปฏิบตั ิ 2. เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้วชิ าการงานอาชีพฯ มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น

3. ตัวแปรทีศ่ ึกษา ตัวแปรต้ น - การฝึ กปฎิบตั ิ ตัวแปรตาม - การพัฒนาทักษะในการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ

4. กรอบแนวความคิดในการวิจัย การฝึ กปฏิบัติ

การพัฒนาทักษะในการเรียนวิชาการงานอาชีพ ฯ

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 2 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

5. ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู้จากการเรี ยนวิชาการงานอาชีพฯ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ และตรงกับความต้องการของนักเรี ยน 2. เพื่อให้นกั เรี ยนมีความสุ ขในการเรี ยนวิชาการงานอาชีพฯ

6. ขอบเขตของการวิจัย 6.1 กลุ่มทีศ่ ึกษา การศึกษาครั้งนี้ใช้ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ห้อง 3 จานวน 54 คน ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญศรี ราชาปี การศึกษา 2556 6.2 ทักษะ หมายถึง ความชัดเจน และความชานิชานาญในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง ซึ่ งบุคคลสามารถสร้างขึ้น ได้จากการเรี ยนรู้ ได้แก่ ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น การอ่าน การสอน การจัดการ ทักษะ ทางคณิ ตศาสตร์ ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเป็ นทักษะภายนอกที่สามารถมองเห็นได้ ชัดเจน จากการกระทา หรื อจากการปฏิบตั ิ ซึ่ งทักษะดังกล่าว นั้นเป็ นทักษะที่จาเป็ นต่อการดารงชีวติ ที่จะทาให้ผู ้ มีทกั ษะเหล่านั้น มีชีวติ ที่ดี สามารถดารงชีพอยูใ่ นสังคมได้ โดยมีโอกาสที่ดีกว่าผูไ้ ม่มีทกั ษะ (ประเสริ ฐ ตันสกุล) 7. วิธีดาเนินการวิจัย 7.1 กาหนดกลุ่มทีศ่ ึกษา ผูว้ จิ ยั สนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมในการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนสามารถทางาน ได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ ว สามารถที่จะพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ จึงพิจารณานักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ห้อง 3 จานวน 54 คน 7.2 กาหนดระยะเวลาในการทาวิจัย ในการทาวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้กาหนดระยะเวลาในการทาวิจยั ในเวลาเรี ยน 1 คาบเรี ยน ณ ห้องเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ห้อง 3 ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลประมาณ 8 ครั้ง ได้กาหนด เนื้อหา ในการสอนดังตารางต่อไปนี้

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 3 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

7.3 กาหนดตารางการดาเนินการวิจัย ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดเนื้อหาที่จะทาการวิจยั ดังตารางต่อไปนี้ วัน/เดือน/ปี ครั้งที่ 1

เนื้อหา

กิจกรรมการเรี ยนการสอน - ครู สาธิตการทาความสะอาดบ้าน เช่น 27 พฤษภาคม – บ้านและชีวติ ความเป็ นอยู่ การกวาดพื้นห้องเรี ยน การทาความ 21 มิถุนายน สะอาดตู้ โต๊ะ ฯ ในบ้าน 2556 - สาธิตการใช้อุปกรณ์การสอนที่เป็ นของ จริ ง เช่น ไม้กวาด ไม้ขนไก่ ฯ - ครู ใช้สื่อการสอนที่เป็ นของจริ ง เช่น ไม้ กวาดดอกหญ้า ไม้กวาดขนไก่ ฯ - ครู ให้นกั เรี ยนได้ลงมือปฎิบตั ิจริ งโดย การทาความสะอาดห้องเรี ยน - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน ครั้งที่ 2 - ครู อธิ บายการทาความสะอาดเสื้ อผ้า การดูแลรักษาเสื้ อผ้า เช่นการซักผ้า การซ่อมแซมเสื้ อผ้า 14 มิถุนายน – การซ่อมแซมเสื้ อผ้า 19 กรกฎาคม - สาธิตการใช้อุปกรณ์ในการเย็บผ้า เช่น 2556 ด้าย เข็ม กระดุมเสื้ อ ตะขอกางเกง ฯ - ครู ใช้สื่อการสอนที่เป็ นของจริ ง เช่น ด้าย เข็ม กระดุม ฯ - ครู ให้นกั เรี ยนซ่อมแซมเสื้ อผ้าของ ตนเอง การเย็บกระดุมเสื้ อ การเนาผ้า - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน

หมายเหตุ ให้นกั เรี ยนฝึ ก ทาความสะอาด ห้องเรี ยน ทาความ สะอาดโต๊ะเรี ยน ตู้ ชั้นวางหนังสื อ ฯ

ให้นกั เรี ยนฝึ ก จัดเก็บเสื้ อผ้า การ ซักผ้า ซ่อมแซม เสื้ อผ้า การเย็บ กระดุมเสื้ อ การสอย ขอบกางเกง ฯ

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 4 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วัน/เดือน/ปี

เนื้อหา เครื่ องมือเกษตร การใช้เครื่ องมือเกษตร ครั้งที่ 3 การดูแลและเก็บรักษา 26 สิ งหาคม – 6 เครื่ องมือเกษตร กันยายน 2556

ครั้งที่ 4 9 - 20 กันยายน 2556

การปลูกพืชสวนครัว - ใช้ผลเป็ นอาหาร - ใช้ใบและลาต้นเป็ น อาหาร - ใช้ดอกเป็ นอาหาร - ใช้หวั หรื อรากที่อยู่ ใต้ดิน เป็ นอาหาร

กิจกรรมการเรี ยนการสอน - ครู สาธิต การใช้เครื่ องมือเกษตร ฯ เช่น จอบ เสี ยม บัวรดน้ า ช้อนปลูก - ครู อธิบายการใช้ และการจัดเก็บ อุปกรณ์การการทางานเกษตร เช่น จอบ เสี ยม ฯ - ให้นกั เรี ยนใช้ และเก็บอุปกรณ์ การเกษตร ที่กาหนดให้ เช่น ถ้าต้องการ พรวนดินจะใช้อุปกรณ์ชนิดใด ใช้แล้ว เก็บรักษาอย่างไร - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน

หมายเหตุ ให้นกั เรี ยน สารวจเครื่ องมือ เกษตร และใช้ เครื่ องมือเกษตรให้ เหมาะสมกับงาน เกษตร

- ครู ให้นกั เรี ยนดู CAI พืชสวนครัวชนิด ฝึ กให้นกั เรี ยน ต่างๆ เช่น พืชสวนครัวที่ใช้ผลเป็ นอาหาร ปลูกพืชสวนครัว ใน ใช้ดอกเป็ นอาหาร ฯ ภาชนะสาเร็ จรู ป - ครู อธิบายความหมายและการปลูกพืช สวนครัวชนิดต่าง ๆ - ครู สาธิ ตการปลูกผักบุง้ อธิ บายขั้นตอน การปลูกผักบุง้ ในภาชนะสาเร็ จรู ป (ถุงดา) - ให้นกั เรี ยนปลูกพืชผักสวนครัวใน ภาชนะสาเร็ จรู ป (ถุงดา) และดูแลพืชผัก สวนครัวของตนเอง - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 5 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วัน/เดือน/ปี

เนื้อหา

กิจกรรมการเรี ยนการสอน - ครู ให้นกั เรี ยนดูแผ่นภาพ งานช่าง ประเภทต่าง ๆ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างเหล็ก ฯ - ครู อธิบายประเภทของงานช่างต่าง ๆ และเครื่ องมือช่าง ด้านต่าง ๆ การใช้ เครื่ องมือ และการดูแลรักษาเครื่ องมือช่าง - ให้นกั เรี ยนบอกประโยชน์ของงานช่าง และให้นกั เรี ยนวางแผนซ่อมแซมของ เล่นที่ชารุ ด และซ่อมของเล่น หรื อของ ใช้ต่าง ๆ ที่ชารุ ด - ให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิงานช่าง โดยการ ซ่อมแซมของเล่นของใช้ ฯ - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน

ครั้งที่ 5 28 ต.ค. - 15 พฤศจิกายน 2556

เรียนรู้ งานช่ าง - งานช่างพื้นฐาน - เครื่ องมือช่าง - ประโยชน์งานช่าง - การใช้และดูแลรักษา เครื่ องมือช่าง

ครั้งที่ 6 18- 29 พฤศจิกายน 2556

- ครู ให้นกั เรี ยนดูของเล่น ของใช้ที่ชารุ ด - ครู อธิบายการซ่อมแซมของเล่นของใช้ การบารุ งรักษาและ ซ่ อมแซมของเล่นของใช้ ที่ชารุ ด เช่น การติดกาวหุ่นยนต์ การ ซ่อมแซมหนังสื อเรี ยน ฯ - ให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิซ่อมแซมของเล่น ของใช้ ของตนเอง เช่น หนังสื อขาด ของ เล่นชารุ ด - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน

หมายเหตุ ฝึ กให้นกั เรี ยน ใช้เครื่ องมือช่าง ซ่อมแซมของเล่น ของใช้ ให้นกั เรี ยน เก็บอุปกรณ์ในการ ทางานช่าง

ฝึ กให้นกั เรี ยน ซ่อมแซม ของเล่น ของใช้ที่ชารุ ด ทั้งที่ บ้านและที่โรงเรี ยน เช่นซ่อมกล่องดินสอ ซ่อมหนังสื อ ฯ

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 6 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วัน/เดือน/ปี

เนื้อหา สร้ างสรรค์ งานประดิษฐ์ ครั้งที่ 7 - วัสดุอุปกรณ์งาน 2 - 20 ประดิษฐ์ ธันวาคม 2556 - งานประดิษฐ์จาก เศษวัสดุ - การประดิษฐ์หมวกจาก กล่องนม - การประดิษฐ์โมบาย ปลาตะเพียนจากกล่อง นม

รั้งที่ 8 การออกแบบและ 20 มกราคม – 7 เทคโนโลยี กุมภาพันธ์ 2557 - การเลือกใช้สิ่งของ เครื่ องใช้ใน ชีวติ ประจาวันอย่าง สร้างสรรค์ - การจัดการสิ่ งของ เครื่ องใช้ดว้ ยการนา กลับมาใช้ซ้ า

กิจกรรมการเรี ยนการสอน - ครู ให้นกั เรี ยนสิ่ งประดิษฐ์จากกล่องนม เช่น หมวกจากล่องนม - ครู สาธิ ตการประดิษฐ์หมวกจากกล่อง นม - ครู ให้นกั เรี ยนเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ใน การประดิษฐ์หมวกจากกล่องนม - ครู อธิ บายวิธีการจัดเตรี ยมกล่องนมเพื่อ นามาประดิษฐ์หมวก - ครู อธิ บายการทาหมวกจากกล่องนม - ให้นกั เรี ยนประดิษฐ์หมวกจากกล่อง นม ตามที่นกั เรี ยนได้ออกแบบไว้ - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน - ครู ให้นกั เรี ยนดูกล่องใส่ ดินสอจากแกน กระดาษทิชชู - ครู นาแกนกระดาษทิชชูให้นกั เรี ยนดู แล้วให้นกั เรี ยนออกแบบว่าจะทาอะไรได้ บ้าง จากแกนกระดาษทิชชู - ครู อธิ บายวิธีการทากล่องใส่ ดินสอจาก แกนกระดาษทิชชู - ให้นกั เรี ยนออกแบบสิ่ งของเครื่ องใช้ ด้วยการนากลับมาใช้ซ้ า (แกนกระดาษ ทิชชู) - ให้นกั เรี ยนประดิษฐ์สิ่งของเครื่ องใช้ ด้วยการนากลับมาใช้ซ้ าตามแบบที่ นักเรี ยนวางไว้ - ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน - ครู จดบันทึกผลการทางานของนักเรี ยน

หมายเหตุ ฝึ กให้นกั เรี ยน ประดิษฐ์ของเล่น ของใช้เอง โดยที่ไม่ ต้องไปซื้ อของเล่น มาเล่น หรื อของใช้ มาใช้ เช่น หมวกจาก กล่องนม

ฝึ กให้นกั เรี ยน ประดิษฐ์ของใช้จาก การนากลับมาใช้ซ้ า เช่น แกนกระดาษทิช ชู ให้นากลับมาใช้ ใหม่โดยการทาเป็ น ที่ใส่ ดินสอ หรื อ อื่น ๆ ตามที่นกั เรี ยน ต้องการ

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 7 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

7.4 วิธีดาเนินการ 1. เตรี ยมนักเรี ยนที่เรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ห้อง 3 จานวน 54 คน 2. จัดเตรี ยมเนื้อหาที่นกั เรี ยนเรี ยน แผนการสอน 3. จัดเตรี ยมสื่ อและอุปกรณ์การสอนที่หลากหลาย เช่น ของจริ ง สื่ อการสอนที่เป็ นรู ปภาพ สื่ อการ สอนที่เป็ นเอกสาร 4. ให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตามสัปดาห์ที่กาหนดให้ 6. ครู จดบันทึกรายละเอียดการปฏิบตั ิการตาม บทเรี ยน ของนักเรี ยน

8. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย 8.1 เครื่องมือประกอบการฝึ ก

- แผนการสอน - รู ปภาพ - เอกสารประกอบ - สื่ อการสอนที่เป็ นของจริ ง เช่น จอบ เสี ยม เมล็ดพืชผักสวนครัว เครื่ องมือช่างชนิดต่าง ๆ สิ่ งประดิษฐ์ต่าง ๆ 8.2 เครื่องมือวัด - แบบสังเกต / บันทึกการสอน - แบบสรุ ปย่อย - แบบฟอร์มวิเคราะห์ - ใบงาน

9. การเก็บรวบรวมข้ อมูล 1. เก็บรวบรวมข้อมูลจากการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3

โดยการฝึ กปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิตามแผนการสอน ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด 8 ครั้ง ใน ปี การศึกษา 2556 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผลการการฝึ กปฎิบตั ิงานของนักเรี ยน

10. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 10.1 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากการสั งเกตและจดบันทึก รวบข้อมูลจากแบบสรุ ปบันทึกการสอน และจากการสังเกต การฝึ กปฏิบตั ิงาน ในทุก ๆ ครั้ง รวมทั้งสิ้ น 8 ครั้ง มาสรุ ปเป็ นพฤติกรรมแสดงออกของครู และนักเรี ยน

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 8 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

10. 2 ผลการวิเคราะห์ คะแนน ผูว้ จิ ยั จดบันทึกการฝึ กปฏิบตั ิของนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ห้อง 3 จานวน 54 คน รวม ทั้งหมด 8 ครั้ง มาวิเคราะห์แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์คะแนนการฝึ กทักษะการทาแบบปฏิบตั ิ ใบกรอกคะแนน วิชาการงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ห้ อง 3 ปี การศึกษา 2556 เลขที่ 1

ครั้งที่ 1 10

ครั้งที่ 2 9

ครั้งที่ 3 10

ครั้งที่ 4 9

ครั้งที่ 5 9

ครั้งที่ 6 10

ครั้งที่ 7 10

ครั้งที่ 8 10

รวม 77

% 96.25

2

9

10

10

10

10

10

10

10

79

98.75

3

8

10

9

10

10

9

10

10

76

95

4 5

10 10

10 10

9 10

10 9

9 10

10 10

9 10

10 10

77 79

96.25 98.75

6

8

10

10

10

10

10

10

10

78

97.5

7 8

9 10

10 10

10 9

10 10

10 9

10 10

10 9

10 10

79 77

98.75 96.25

9 10

10 9

9 10

10 9

9 10

10 9

9 10

10 10

10 9

77 76

96.25 95

11

9

10

10

10

10

10

10

10

79

98.75

12

9

10

10

10

10

10

10

10

79

98.75

13

8

10

10

10

10

10

10

10

78

97.5

14 15

10 10

10 10

9 10

10 9

10 10

9 10

10 10

10 10

78 79

97.5 98.75

16 17

9 9

10 10

10 10

10 10

10 10

10 10

10 10

10 10

79 79

98.75 98.75

18

9

10

10

10

10

10

10

10

79

98.75

19

9

10

10

10

10

10

10

10

79

98.75

20

10

10

10

10

9

10

9

10

78

97.5

21 22

10 10

9 10

10 10

10 9

8 10

10 10

9 9

10 10

76 78

95 97.5

23

10

9

10

10

9

10

10

10

78

97.5

24

8

10

10

8

10

9

10

10

75

93.75

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 9 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

25

9

10

10

10

10

10

10

10

79

98.75

26 27 28

10 8 9

9 9 10

10 9 10

10 9 10

9 10 10

10 10 10

10 10 10

9 9 10

77 74 79

96.25 92.5 98.75

29 30 31 32

9 9 10 10

10 10 9 10

10 10 10 10

10 10 10 9

10 10 9 10

10 10 10 9

10 10 9 10

10 10 10 10

79 79 77 78

98.75 98.75 96.25 97.5

33 34

10 10

10 10

8 9

10 10

8 10

10 9

8 10

10 10

74 78

92.5 97.5

35 36

10 10

10 10

9 9

10 10

9 10

10 8

9 10

10 10

77 77

96.25 96.25

37

10

9

10

9

10

10

10

10

78

97.5

38

10

10

10

10

10

9

10

10

79

98.75

39

10

10

9

10

10

10

10

10

79

98.75

40 41

10 10

10 9

10 10

10 9

9 10

10 10

10 10

10 10

79 78

98.75 97.5

42

9

10

9

10

9

9

10

10

76

95

43

8

8

9

9

9

9

10

10

72

90

44

9

10

10

10

10

10

10

10

79

98.75

45 46

9 9

9 10

10 9

9 10

10 10

9 9

10 10

9 10

75 77

93.75 96.25

47

10

10

10

10

8

10

8

10

76

95

48

10

10

9

10

10

8

10

10

77

96.25

49

10

9

10

10

10

10

10

10

79

98.75

50 51 52

9 9 9

9 9 10

10 10 9

10 10 9

10 9 10

10 10 9

10 9 10

10 10 10

78 76 76

97.5 95 95

53 54

9 9

9 10

9 10

10 9

9 10

10 10

9 10

10 10

75 78

93.75 97.5

เฉลีย่

9.37

9.70

9.67

9.72

9.63

9.70

9.76

9.93

77.48 96.85

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 10 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เกณฑ์ การประเมิน 8.0 – 10.0

คะแนน

ดีมาก

6.0 – 7.9

คะแนน

ดี

5.0 – 5.9

คะแนน

พอใช้

คะแนนต่าว่า 4 คะแนน

ต้องปรับปรุ ง

ผลการวิเคราะห์ตามตารางคะแนนการตรวจแบบฝึ กพิมพ์ท้ งั 8 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.37 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก ครั้งที่ 2 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.70 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก ครั้งที่ 3 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.67 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก ครั้งที่ 4 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.72 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก ครั้งที่ 5 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.63 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก ครั้งที่ 6 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.70 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก ครั้งที่ 7 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.76 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก ครั้งที่ 8 ผลการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ กเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 3/3 จานวน 54 คน ค่าเฉลี่ยคิดเป็ นร้อยละ 9.93 อยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก 10.3 ผลการวิเคราะห์ คะแนนทีน่ าเสนอเป็ นแผนภูมิ แท่ง เพื่อให้เห็นภาพที่เด่นชัด ผูว้ จิ ยั ได้นาคะแนนจากการตรวจแบบฝึ กปฏิบตั ิของนักเรี ยนในการทากิจกรรม วิชาการงานอาชีพ ทั้ง 8 ครั้ง ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3/3 ซึ่ งในแต่ละครั้งจะมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน หาค่าเฉลี่ยร้อยละออกมานาเสนอเป็ นแผนภูมิแท่งดังแสดงในภาพประกอบ

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 11 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แผนภูมิที่ 1 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี่ยทั้ง 8 ครั้ง คิดเป็ นร้อยละ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3/3 ได้ดงั นี้ คะแนน

10.00

กราฟแสดงการเปรียบเทียบผลสัมทฤธิ์ทางการเรียน วิชาการงานพืน้ ฐานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3/3

9.90 9.80 9.70

9.70

9.72 9.67

9.93

9.76

9.70 9.63

9.60 9.50 9.40

9.37

9.30 9.20 9.10 9.00 1

2

3

4

5

6

7

8

ครั้งที่

จากแผนภูมิแท่ง ค่าเฉลี่ยของนักเรี ยนทั้งหมด 54 คน ฝึ กปฏิบตั ิ 8 ครั้ง ค่าเฉลี่ยของนักเรี ยนแต่ละครั้งอยู่ ในเกณฑ์ดี ถึง ดีมาก มีผลการเรี ยนครั้งที่ 1 อยูใ่ นเกณฑ์ดีมาก แต่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดในแต่ละครั้ง มีค่าเฉลี่ย 9.37 ซึ่ งครั้งที่ 1 นักเรี ยนเรี ยนเรื่ อง “บ้านและชีวติ ความเป็ นอยูใ่ นบ้าน” ซึ่งนักเรี ยนบางคนกวาดบ้านไม่เป็ น การถือไม้กวาดยังไม่ถูกต้อง การใช้อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทาความสะอาดบ้าน นักเรี ยนบางคนยังใช้ไม่ เป็ น

11. สรุปผลการวิจัย การทาวิจยั ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนที่ทาการวิจยั แต่ละคนมีพฒั นาการในการเรี ยนวิชาการงาน ได้เป็ นอย่างดี จาก ข้อสังเกตของการวิจยั พบว่านักเรี ยนให้ความร่ วมมือในการเรี ยนการสอนเป็ นอย่างดี ข้อสังเกตที่ผวู้ จิ ยั พบในการทาวิจยั เรื่ องพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ ใช้ เวลาเรี ยนตลอดปี การศึกษา ปรากฏว่านักเรี ยนมีทกั ษะในการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ มากขึ้น และสามารถ ปฏิบตั ิงานได้เป็ นอย่างดี เพราะว่านักเรี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง และได้เห็นถึงความสาคัญของการทางาน การ ใช้เครื่ องมือต่าง ๆ การจัดเตรี ยมอุปกรณ์ในการทางาน ความพร้อมของอุปกรณ์ในการประดิษฐ์ชิ้นงาน การที่ นักเรี ยนได้ฝึกปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง ช่วยให้นกั เรี ยน เรี ยนได้อย่างมีความสุ ข และชอบวิชาการงานอาชีพ และ สามารถนาวิชาการงานอาชีพที่เรี ยนมา ไปใช้กบั ชีวติ ประจาวันได้ เป็ นอย่างดี

การวิจยั ชั้นเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนวิชาการงานอาชีพ ฯ โดยการฝึ กปฏิบตั ิ หน้า 12 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

12. ข้ อคิดเห็นทีไ่ ด้ จากการวิจัย 1. จากการทาการวิจยั ของนักเรี ยนทาให้ครู กบั นักเรี ยนมีความใกล้ชิดกันมากขึ้น 2. จากการทาการวิจยั ของนักเรี ยนทาให้นกั เรี ยนกล้าที่จะแสดงออกมากขึ้น 3. จากการทาการวิจยั ของนักเรี ยนทาให้ทราบความก้าวหน้าของนักเรี ยน 4. จากการทาการวิจยั ของนักเรี ยนทาให้นกั เรี ยนสามารถประดิษฐ์ของเล่นของใช้ได้เอง 5. จากการทาการวิจยั ของนักเรี ยนทาให้นกั เรี ยนสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้