พิธีทําขวัญข้าวในลานนวดหรือทําขวัญข้าวเข้าบ้าน มีวิธีการทํา คือ

ประเพณีการทำขวัญข้าว

Show

พิธีทําขวัญข้าวในลานนวดหรือทําขวัญข้าวเข้าบ้าน มีวิธีการทํา คือ


เป็นประเพณีที่เชื่อกันว่ามีเทพเจ้าเป็นเจ้าของมีอำนาจในการดลบันดาลให้ผู้ปลูกได้ผลผลิตมากหรือน้อย คือ

 " เจ้าแม่โพสพ "

    ตามความเชื่อว่าแม่โพสพมีพระคุณจึงต้องทำขวัญเป็นการกล่าวขอขมาต่อต้นข้าวทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับข้าว ทั้งการเกิดเองตามธรรมชาติ และจากการที่มนุษย์จะกระทำอะไรก็ตามกับต้นข้าว เช่น เกี่ยวข้าว อีกทั้งเพื่อเป็นการขอบคุณและเอาใจแม่โพสพที่ให้ความอุดมสมบูรณ์แก่ผืนนา และเพื่อขออภัยและเรียกขวัญแม่โพสพ เป็นสิริมงคลดลบันดาลให้มั่งมียิ่งขึ้น ปกติจะทำกันในวันศุกร์ซึ่งถือว่าเป็นวันขวัญข้าว

พิธีทําขวัญข้าวในลานนวดหรือทําขวัญข้าวเข้าบ้าน มีวิธีการทํา คือ


    ประเพณีทำขวัญข้าวของบางจังหวัด อาจมีประเพณีทำขวัญข้าว อยู่ 2 ช่วง คือ ช่วงที่ข้าวตั้งท้อง และช่วงข้าวพร้อมเกี่ยว โดยในแต่ละช่วงจะมีเครื่องเซ่นไม่เหมือนกัน เครื่องเซ่นของการทำขวัญข้าวตอนตั้งท้อง ด้วยความเชื่อที่ว่า แม่โพสพเป็นมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกัน พอข้าวตั้งท้อง จึงเชื่อว่าจะอยากทานอาหารเหมือนคนท้อง สิ่งที่ขาดไม่ได้ในเครื่องเซ่นช่วงดังกล่าวจึงเป็นของรสเปรี้ยว อ้อย น้ำมะพร้าว นอกเหนือจากหมาก พลู ธงกระดาษสีต่างๆ ผ้าแดง ผ้าขาว ใส่ลงในชะลอมเล็ก ๆ มีเส้นด้ายสีแดงและสีขาวเพื่อผูกเครื่องเซ่นเข้ากับต้นข้าว ดอกไม้ และด้วยความเชื่อว่าแม่โพสพเป็นผู้หญิง จึงต้องมีน้ำอบ น้ำหอมด้วย โดยคนที่ทำพิธีมักจะเป็นผู้หญิงเจ้าของที่นา แต่พิธีนี้ให้โอกาสผู้ชายทำได้แต่ไม่นิยม

พิธีทําขวัญข้าวในลานนวดหรือทําขวัญข้าวเข้าบ้าน มีวิธีการทํา คือ

    หลังจากมัดโยงเครื่องเซ่นกับต้นข้าวด้วยด้ายสีแดงและขาวเข้าด้วยกันแล้ว ผู้ทำพิธีจะพรมน้ำหอมแป้งร่ำต้นข้าว จากนั้นจึงจุดธูปปักลงบนที่นาพร้อมกล่าวคำขอขมาต่าง ๆ แล้วแต่ที่จะนึกได้ ส่วนมากก็จะเป็นการบอกกล่าวถึงสิ่งที่กำลังจะทำ เช่น ขอให้มีรวงข้าวสวย มีข้าวเยอะ ๆ ให้ผลผลิตสูง ๆ เมื่อพูดทุกอย่างที่อยากพูดจบก็ต้องกู่ร้องให้แม่โพสพรับทราบเจตนาดัง ๆ

พิธีทําขวัญข้าวในลานนวดหรือทําขวัญข้าวเข้าบ้าน มีวิธีการทํา คือ

    เมื่อข้าวเริ่มตั้งท้องชาวนาจะเอาไม้ไผ่มาสานชะลอมแล้วนำเครื่องแต่งตัวของหญิง เช่นแป้ง น้ำมันใส่ผม น้ำอบไทย หวี กระจกใส่ในชะลอม พร้อมด้วยขนมหวานสักสองสามอย่าง ส้มเขียวหวาน ส้มโอแกะกลีบ ปักเสาไม้ไผ่แล้วเอาชะลอมแขวนไว้ในนา เพื่อให้แม่พระโพสพแต่งตัวและเสวยสิ่งของนั้น จะได้ออกรวงได้ผลดีเขาเรียกว่า เฉลว

    หลังจากพิธีทำขวัญข้าวในช่วงข้าวพร้อมเกี่ยว ก็ทำการเก็บเกี่ยวข้าวได้เลย หลังจากนั้นก็เตรียมตัวทำพิธี รับขวัญแม่โพสพ ในวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 6 ของทุกปีต่อไป แม้ว่าการทำนาปัจจุบันจะทำได้ถึงปีละ 3 ครั้งแต่ประเพณียังคงต้องทำตามการปลูกข้าวตามฤดูกาลในอดีตเท่านั้น การทำขวัญข้าว ผู้ชายสามารถทำขวัญข้าวได้ แต่รับขวัญข้าวไม่ได้เด็ดขาด

พิธีทําขวัญข้าวในลานนวดหรือทําขวัญข้าวเข้าบ้าน มีวิธีการทํา คือ


ช่วงเวลา 

กลางเดือน ๑๐ ประมาณเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน ของทุกปี


ลักษณะความเชื่อ
เชื่อว่าถ้าได้ทำขวัญข้าว และถ้าพระแม่โพสพได้รับเครื่องสังเวยแล้ว ไม่ทำให้เมล็ดข้าวล้ม หนอน สัตว์ต่าง ๆ มากล้ำกราย ได้ผลผลิตอุดมสมบูรณ์ ตลอดจนถวายแก่พระสงฆ์เมื่อข้าวนาสุกดีแล้ว เมื่อนวดข้าวเสร็จก็จะกำหนดวันพฤหัสบดีหรือวันศุกร์นำข้าวขึ้นยุ้ง ชาวบ้านก็จะมาร่วมทำขวัญข้าว ร้องเพลงทำขวัญแม่โพสพ

ความสำคัญ                                                                                                                                                                                                       การทำขวัญข้าวนั้น เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับชาวนาให้รู้ว่า การทำนาปลูกข้าวของตนนั้น จะไม่สูญเปล่า เพราะพระแม่โพสพเป็นผู้ดูแล และเมื่อมีการเกี่ยวข้าวก็จะมาช่วยกันเกี่ยวข้าว เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคี และที่สุดคือการร่วมสนุกสนานเมื่อทุกคนเหนื่อยยาก และประสบความสำเร็จด้วยดี

เครื่องสังเวย
ให้นำเครื่องสังเวยไปบูชาแม่โพสพในแต่ละครั้ง
๑. ช่วงข้าวในนากำลังตั้งท้อง
-กล้วย อ้อย ถั่ว งา ส้ม อย่างละ ๑ คำใส่ตะกร้าสาน
-หมาก พลูจีบ ๑ คำ
๒. เมื่อเกี่ยวข้าวและนำขึ้นยุ้งข้าว
- หมาก พลูจีบ ๑ คำ
- บุหรี่ ๑ มวน
- ข้าวที่เกี่ยวแล้ว ๑ กำ
- ผ้าแดง ผ้าขาว ขนาด ๑ คืบ อย่างละ ๑ ผืน

วิดีโอ YouTube


ทำขวัญข้าวทำอย่างไร

การทำขวัญข้าวในนา มีขั้นตอนดังนี้ 1. รวบกอข้าวเข้าด้วยกันจำนวน 9 กอ 2. เตรียมย่านลิเพา ด้ายแดง ด้ายขาว ด้ายดำ 3. ยกบายศรีตั้งไว้ใกล้ ๆ นา กับข้าว 9 กอ ปากถ้วยบายศรีใส่ขนมแดง ขนมขาว ข้าวสุก กุ้ง กล้วย อ้อย แตงกวา ถั่ง งา และแหวน

การทำพิธีขวัญข้าวทำเพื่ออะไร

พิธีกรรมบูชาแม่โพสพหรือพิธีกรรมทำขวัญข้าว เป็นพิธีกรรมตามความเชื่อและศรัทธาที่มีต่อแม่โพสพ ซึ่งเป็นเทพธิดา ข้าว เพื่อความเป็นศิริมงคลและขอบคุณพระแม่โพสพที่ดูแลให้ความอุดมสมบูรณ์แก่ผืนนา โดยเชื่อกันว่าเมื่อทำพิธีนี้แล้ว

ประเพณีทําขวัญข้าว มีอะไรบ้าง

ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าว คือก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บที่ยุ้งฉาง จะมีการทำบุญนิมนต์พระสงฆ์มาสวดเพื่อให้เกิดความเป็นศิริมงคล โดยอัญเชิญรูปหล่อแม่โพสพมาไว้ตรงกลางประรำพิธี เพื่อประกอบพิธีสงฆ์ พิธีบายศรี โดยหมอขวัญ หลังจากนั้นก็เป็นการละเล่นพื้นบ้านและร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน และจัดทำขึ้นเพื่อเป็นการบูชาพระแม่โพสพ ...

เพราะเหตุใดชุมชนที่มีการทำนาจึงมีประเพณีการทำขวัญข้าว

ประเพณีรับขวัญข้าวเป็นประเพณีที่ชาวนาส่วนใหญ่เชื่อว่า แม่โพสพเป็นเทพธิดาประจำต้นข้าว และเป็นผู้คุ้มครองดูแลต้นข้าวให้เจริญงอกงาม ได้ผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์ ชาวนาจึงได้ให้ความเคารพนับถือกราบไหว้แม่โพสพมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล และด้วยความเชื่อที่ว่า “แม่โพสพเป็นผู้หญิง ตกใจและเสียขวัญง่าย จึงมักจะมีการทำพิธีรับขวัญแม่โพสพใน ...