สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม

1.เอกสารแสดงสิทธิของที่ดิน

ส่วนใหญ่มักจะเป็นโฉนดที่ดิน แสดงว่าจะสร้างในที่ดินใด ถ้าผู้ที่จะสร้างบ้านไม่ใช่เจ้าของที่ดิน จะต้องมีหลักฐานการยินยอมให้สร้างในที่ดินนี้ได้

2.แบบก่อสร้าง จัดเตรียมโดยสถาปนิกและวิศวกร

โดยรายละเอียดในแบบก่อสร้างจะต้องแสดงผังบริเวณรวม และแสดงแบบรายละเอียดของชั้นต่างๆ รวมถึงแบบแสดงรูปด้านทุกด้าน แสดงรายละเอียดทั้งหมดของงานสถาปัตยกรรมและงานวิศวกรรม

3.รายการคำนวณ ของวิศวกรโครงสร้าง

เป็นการแสดงว่าอาคารได้ผ่านการออกแบบโดยวิศวกรแล้ว เพื่อให้มั่นใจในเรื่องของความปลอดภัยสำหรับก่อสร้างและใช้งานได้

4.เอกสารแสดงการมอบอำนาจให้ดำเนินการแทนในเรื่องการขออนุญาตก่อสร้าง

เพราะส่วนมากแล้ว เจ้าของมักจะไม่ได้เป็นผู้ยื่นเรื่องเอง จึงต้องมีเอกสารการมอบอำนาจให้ดำเนินการแทน

5.เอกสารแสดงการเป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้าง

ซึ่งต้องเป็นวิศวกร และส่วนมากผู้ออกแบบมักจะเซ็นเป็นผู้ควบคุมงานในตอนยื่นขออนุญาตก่อสร้าง และเมื่อใบอนุญาตก่อสร้างออกแล้ว อาจเปลี่ยนวิศวกรผู้ควบคุมงานเป็นผู้อื่นแทนครับ

ดูแล้วอาจจะคิดว่าเอกสารช่างมากมาย-ยุ่งยาก แต่การมีเอกสารมากมายก็เพื่อให้เป็นหลักฐานยืนยันว่าบ้านของเราได้รับการก่อสร้างอย่างมั่นคงและไม่สร้างผลกระทบแก่ผู้อื่น และที่สำคัญผู้ออกแบบเป็นผู้จัดเตรียมและดำเนินการให้ (เนื่องจากเป็นผู้ที่ต้องรับผิดชอบทางกฎหมายหากมีปัญหา)

อาคารแต่ละประเภทก็มีข้อกำหนดที่ต่างกัน เช่น อาคารสาธารณะก็จะมีข้อกำหนดต่างจากอาคารพักอาศัยส่วนตัว เนื่องจากจะต้องคิดถึงความปลอดภัยของผู้มาใช้พร้อมกันจำนวนมากๆ

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และการปลูกสร้างบ้าน

  หากคุณมีที่ดินเปล่าและต้องการปลูกสร้างบ้านของตัวเองอยู่ล่ะก็ กระปุกดอทคอมได้นำเอาข้อมูลดี ๆ จาก เว็บไซต์ alinehomecare.com เกี่ยวกับการสร้างบ้านมาแนะนำให้คุณได้ศึกษากันค่ะ เพราะก่อนสร้างบ้านสักหลังยังต้องมีกฎเกณฑ์ต่าง ๆ อีกมากที่ควรรู้ แต่จะมีอะไรบ้างนั้นต้องไปดูกันเลยจ้า ..

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 วิธีการขออนุญาตปลูกบ้าน

ก่อนอื่นต้องมีสถาปนิกและวิศวกรทำการออกแบบและเขียนแบบให้ จากนั้นไปขอเอกสารการยื่นขออนุญาตจากทางเทศบาล แล้วนำมากรอกให้ครบถ้วน ประกอบด้วย

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 1. กรอกคำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคารหรือรื้อถอนอาคาร (ข.1)

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 2. แบบแปลนแผนผัง จำนวน 5 ชุด

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 3. หนังสือรับรองว่าเป็นผู้ออกแบบ สถาปนิก และ วิศวกร พร้อมสำเนาใบอนุญาต

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 4. สำเนาโฉนดที่ดินที่จะก่อสร้าง

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 5. สำเนาบัตรประชาชน หรือทะเบียนบ้านเจ้าของอาคาร ในกรณีเป็นนิติบุคคลใช้หนังสือรับรองการจดทะเบียน

จากนั้นนำเอกสารทั้งหมดไปยื่นต่อเทศบาลซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู่ ภายใน 45 วัน ต้องได้รับแจ้งว่าได้รับอนุญาตหรือไม่ ถ้าไม่อนุญาตจะต้องแก้ไขอะไรบ้าง เมื่อแก้ไขแล้วก็ควรจะได้รับอนุญาต และเสียค่าธรรมเนียมตารางเมตรละไม่เกิน 4 บาท

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ข้อมูลเกี่ยวกับการก่อสร้าง ดัดแปลง ต่อเติม รื้อถอน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 การก่อสร้าง ดัดแปลง ต่อเติม ถ้าอยู่ในเขตเทศบาล ต้องขออนุญาตกับนายช่างโยธาในแต่ละท้องถิ่น ถ้าเป็นอาคารใหญ่ก็ต้องติดต่อที่จังหวัด

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ส่วนการรื้อถอน ถ้าอาคารสูงเกิน 15 เมตร และห่าง จากอาคารอื่นน้อยกว่า 2 เมตร ก็ต้องขออนุญาตรื้อถอนเช่นกัน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 แต่ถ้าทั้งหมดที่ว่านี้อยู่นอกเขตเทศบาล ก็ไม่ต้องขอ อนุญาตใด ๆ ทั้งสิ้น

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 วิธีการเริ่มต้นที่จะสร้างบ้าน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ติดต่อกับบริษัทที่รับสร้างบ้านต่าง ๆ

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ดูผลงานของบริษัทจากสถานที่จริง เพื่อคุณภาพของงาน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ดูแบบที่มี ให้ถูกใจและถูกต้องกับความต้องการ หรือติดต่อกับสมาคมสถาปนิกสยาม เพื่อให้คำแนะนำด้านสถาปนิก

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 หรือตระเวนดูบ้านที่คุณพอใจแล้วถามเจ้าของบ้านหลังที่ชอบเพื่อขอเบอร์ติดต่อสถาปนิก

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 อัตราค่าออกแบบบ้าน

อัตราค่าออกแบบเป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งกำหนดโดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งมีหลายประเภทด้วยกัน แต่จะเน้นประเภทบ้านพักอาศัย กับการตกแต่งภายในเท่านั้น

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 บ้านพักอาศัย ถ้างบประมาณก่อสร้างไม่เกิน 10 ล้าน จะคิดค่าออกแบบ 7.5% ของงบประมาณ

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 การตกแต่งภายใน ถ้างบประมาณก่อสร้างไม่เกิน 10 ล้านจะคิดค่าออกแบบ 10% ของงบประมาณ

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ถ้างบประมาณมากกว่านี้ สัดส่วนของค่าออกแบบ ทั้ง 2 ชนิดจะลดลง

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 วิธีการแบ่งงานของสถาปนิกและมัณฑนากร

  งานของสถาปนิกก็คือ การออกแบบตัวบ้าน เพื่อครอบคลุมห้องต่าง ๆ ให้กลมกลืน และมีความงามต่อเนื่องกัน พร้อมทั้งสามารถป้องกันแดดฝน รวมถึงการรับลมตามธรรมชาติด้วย

งานของมัณฑนากรก็คือ การออกแบบตกแต่งภายใน รวมถึงรายละเอียดของผนัง พื้น ฝ้าเพดาน พร้อมทั้ง เฟอร์นิเจอร์ และส่วนประกอบต่าง ๆ ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอยที่สถาปนิกออกแบบไว้

เพราะฉะนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่สถาปนิก กับมัฑนากรจะต้องออกแบบไปด้วยกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอยอย่างสูงสุด รวมถึงความงามที่ต่อเนื่องระหว่างภายในและภายนอกบ้าน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 จรรยาบรรณของสถาปนิก

จรรยาบรรณที่สำคัญ ๆ ที่ควรจะทราบมี ดังนี้

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 1. ต้องทำงานโดยซื่อสัตย์ ไม่ทิ้งงานหากไม่มีเหตุอันควร

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 2. ห้ามใช้แบบที่เคยออกแบบมาแล้วกับคนอื่น ยกเว้นเจ้าของเดิมจะอนุญาต

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 3. ไม่ตรวจงานสถาปนิกอื่น เว้นแต่จะแจ้งให้สถาปนิกนั้นทราบก่อน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 4. ไม่หางานโดยลดหรือประกวดราคาค่าแบบ

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 5. ไม่แย่งงานสถาปนิกอื่น

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 6. ห้ามกินค่าคอมมิชชั่น

ถ้าสถาปนิกไม่ทำตามก็จะมีโทษจากคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพ

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ขั้นตอนการปลูกสร้างบ้าน

ขั้นตอนการปลูกสร้างบ้าน 2 ชั้น โดยทั่วไป แบ่งออกเป็นขั้นตอนใหญ่ ๆ ดังนี้คือ

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ขั้นตอนที่ 1 ตอกเข็มหล่อฐานราก คานคอดิน และ ตั้งเสาชั้นล่าง

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ขั้นตอนที่ 2 หล่อคานชั้นบน และเสาสำหรับรับหลังคาชั้น 2

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ขั้นตอนที่ 3 มุงหลังคา ก่ออิฐผนัง ฉาบปูน ติดตั้ง วงกบ ใส่ฝ้าเพดาน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ขั้นตอนที่ 4 ปูวัสดุพื้น ติดตั้งประตู หน้าต่าง ติดตั้งระบบท่อน้ำ

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ขั้นตอนที่ 5 บุผนังกระเบื้อง ติดตั้งสุขภัณฑ์ ทาสี เดินสายไฟ ติดตั้งดวงโคม เก็บรายละเอียดส่วนที่เหลือให้เรียบร้อย

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ชนิดของห้องต่าง ๆ ในบ้าน

ห้องที่จำเป็นสำหรับบ้านขนาดกลาง ควรมีห้องรับแขก หรือ ห้องนั่งเล่น และ 2 ห้องนี้ อาจจะรวมเป็นห้องเดียวก็ได้ ถ้าบ้านมีขนาดเล็ก ถัดมาก็ควรเป็นห้องทานอาหารและห้องครัว จะเป็นครัวไทย หรือครัวฝรั่ง ก็แล้วแต่ความชอบของเจ้าของบ้าน ที่สำคัญที่สุดคือ ห้องนอน และห้องน้ำ ต้องมีความสบาย อากาศถ่ายเทได้สะดวก ส่วนห้องอื่น ๆ เช่น ห้องแม่บ้าน ห้องเก็บของ ก็แล้วแต่ความจำเป็นของแต่ละบ้าน รวมถึงงบประมาณที่มีอยู่ด้วย

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ขนาดของพื้นที่บ้าน

โดยทั่วไปความต้องการพื้นฐานก็จะประกอบไปด้วย ห้องนอน ห้องพักผ่อน ห้องครัว ห้องน้ำ สำหรับห้องอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นตามมาเพื่อรองรับความสะดวกสบายเท่านั้นก็คือ ห้องรับแขก ห้องทำงาน ห้องอาหาร เป็นต้น และสิ่งที่ต้องคำนึงก็คือ ขนาดของห้อง สำหรับบ้านโดยทั่วไปต้องไม่น้อยกว่า 9 ตร.ม. และพื้นที่ห้องน้ำต้องไม่น้อยกว่า 2 ตร.ม. ซึ่งเป็นไปตามกำหนดของกฎหมาย

  แต่ถ้าพิจารณาความต้องการพื้นฐานสำหรับครอบครัวที่มีสมาชิก 3 ถึง 4 คนแล้ว บ้านหลังหนึ่งควรมีพื้นที่ตั้งแต่ 36 ตร.ม. เป็นอย่างน้อย แต่ถ้าจะอยู่สบายก็ควรมีพื้นที่ราว 50 ตร.ม. ขึ้นไป

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 ความแตกต่างของบ้านปูนกับบ้านไม้

   บ้านปูนจะขึ้นอยู่กับโครงสร้าง ส่วนผสมคอนกรีต ตลอดจนการก่ออิฐฉาบปูน ซึ่งต้องการผู้ที่มีความรู้เป็นพิเศษ มิฉะนั้นจะเกิดการแตกร้าวได้ง่าย

   ส่วนบ้านไม้จะขึ้นอยู่กับชนิดของไม้ที่นำมาใช้ ต้องเป็นไม้เนื้อแข็งชั้นดี เช่น ไม้สัก จะมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน ทนต่อแดดฝนได้ดีกว่าบ้านปูน แต่มีราคาแพงกว่า เพราะไม้ดี ๆ ในปัจจุบันหายากมาก

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 วิธีการออกแบบบ้านให้ประหยัดพลังงาน

วิธีประหยัดพลังงานในบ้าน มีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 1. ใช้ฉนวนป้องกันความร้อน ทั้งบริเวณหลังคา เพ ดาน ผนัง และพื้น มีการติดตั้งอุปกรณ์บังแสงแดด เพื่อลดความร้อนที่จะผ่านเข้ามาทางหน้าต่าง

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 2. ออกแบบและวางตำแหน่งบ้านให้อยู่ในแนวทิศเหนือและทิศใต้ ควรมีช่องเปิดมากพอที่จะระบายลมได้ ห้องเก็บของ หรือห้องน้ำ ควรออกแบบให้อยู่ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก เพื่อกันความร้อนของแสงแดดที่จะเข้าสู่ตัวบ้าน

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 3. ใช้แสงธรรมชาติให้มากเพื่อประหยัดการใช้ไฟฟ้าแสงสว่างภายในบ้าน โดยใช้กระจกให้เหมาะสม เพราะกระจกเป็นทางผ่านของความร้อนได้เป็นอย่างดี และควรมีกระจกน้อยที่สุดในด้านตะวันออกและตะวันตก รวมทั้งกระจกที่ใช้ควรเป็นกระจกตัดแสง

สร้างบ้านไม่ขออนุญาตได้ไหม
 4. ผนังบ้านควรเป็นสีอ่อน เพื่อช่วยสะท้อนรังสีของดวงอาทิตย์ ส่วนบริเวณภายนอกบ้านควรปลูกต้นไม้ เพื่อกั้นแสงบางส่วน และเพื่อให้เกิดลมเย็นพัดเข้าสู่ตัวบ้าน

สร้างบ้านแบบไหนไม่ต้องขออนุญาต

“อาคารอยู่อาศัยไม่เกินสองชั้น และมีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกัน รวมกันไม่เกิน 150 ตารางเมตร นั่นหมายถึงบ้านพักอาศัย มีพื้นที่ไม่เกิน 2 ชั้น และพื้นที่ใช้สอยรวมกันไม่เกิน 150 ตารางเมตร เป็นลักษณะที่ทางกฎหมายอนุญาต ไม่จำเป็นต้องมีสถาปนิก และวิศวกรเซ็นรองรับ ส่วนการคุมงานก่อสร้างนั้น เจ้าของบ้านสามารถเซ็นควบคุมงานได้เอง”

บ้านชั้นเดียวต้องขออนุญาติก่อสร้างไหม

1. บ้าน 1-2 ชั้น พื้นที่ใช้สอยไม่เกิน 150 ตร.ม. ขออนุญาตก่อสร้างได้ อ้างอิง : กฎกระทรวงฉบับที่ 56 (พ.ศ.2543)ฯ ที่กำหนดไว้ดังนี้

สร้างบ้านต้องขออนุญาต เทศบาลไหม

การปลูกสร้างอาคารต้องขออนุญาตต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นเสมอ ในกรุงเทพฯ ขอที่สำนักงานเขตหรือที่กองควบคุมอาคาร สำนักการโยธา แยกตามชนิดอาคาร ต่างจังหวัดถ้าอยู่ในเขตเทศบาลก็ยื่นที่ทำการเทศบาล สำนักการช่าง นอกเขตเทศบาลยื่นที่หน่วยบริการของแต่ละพื้นที่ เช่น อบต. เป็นต้น

ทำไมต้องขออนุญาติก่อสร้างบ้าน

คำตอบก็คือ เพื่อความปลอดภัยของผู้อยู่อาศัยเองและชุมชนรอบข้าง เพราะกฎหมายต่าง ๆ ที่ถูกกำหนดขึ้น ก็เพื่อป้องกันอันตรายจากสิ่งปลูกสร้างทุกรูปแบบ เช่น ความแข็งแรงของโครงสร้าง ระยะร่นจากถนน ระยะห่างจากชุมชนรอบข้าง ฯลฯ เพื่อไม่ให้สิ่งปลูกสร้างเกิดใหม่กระทบกับการอยู่อาศัยเดิมของชุมชนรอบข้าง