วิตามินซีกินคู่กับยาพาราได้ไหม

วิตามินซีกินคู่กับยาพาราได้ไหม

ปกติผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมีแต่ข้อดี แต่ก็ไม่ใช่ทุกตัว บางอย่างอาจไปขัดกับยาบางตัวและไม่เหมาะกับผู้ป่วยบางคน สำหรับคนที่ที่กินยาเจ็ดกลุ่มนี้อยู่ ห้ามกินวิตามินซีนะคะ เพราะจะทําให้เกิดผลร้ายมากกว่าผลดี มีผลบางอย่างที่อาจเป็นอันตรายต่อร่างกายหรือทำให้ตัวยาลดประสิทธิภาพลงได้ ส่งผลต่อการรักษาในระยะยาว

ยาที่ไม่ควรทานพร้อมวิตามิน C

1. ยาที่มีส่วนผสมของอลูมินัม เช่น ยาโรคกระเพาะ ยาโรคไต เพราะอาจทําให้ร่างกายดูดซึมอลูมินัมมากเกินไป และเป็นผลต่อไตได้

2. ยาในกลุ่มคีโม เพราะวิตามินซีอาจไปส่งผลต้านการออกฤทธิ์ของยา

3. ยาที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจน เพราะอาจส่งผลให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกายเพิ่มขึ้น

4. ยาต้านไวรัสกลุ่มโปรตีนเอสทีนฮิมพิเตอร์ อาจทําให้ประสิทธิภาพของตัวยาลดลง

5. ยาลดไขมันกลุ่ม Statin อาจทําให้ประสิทธิภาพของตัวยาลดลง

6. ยาละลายลิ่มเลือดกลุ่มวาฟารีน อาจทําให้ประสิทธิภาพของตัวยาลดลง

7. โรคพร่องเอนไซม์ จีซิกพีดี (G6PD deficiency) ก็ควรระมัดระวังในการรับประทานวิตามินซีเช่นกัน เพราะผู้ป่วยภาวะนี้มีภาวะเม็ดเลือดแดงไม่แข็งแรงแตกง่าย เพราะฉะนั้นก็ควรที่จะปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทานวิตามินซีค่ะ

หากมีข้อสงสัยว่า ยาที่กำลังทานอยู่ ห้ามทานคู่กับวิตามินตัวไหนไหม และไม่สะดวกที่จะปรึกษาแพทย์ มาปรึกษาเภสัชกรที่ฟาสิโนผ่านระบบ ได้เลยค่ะ ปรึกษาเภสัชกรพร้อมสั่งซื้อสินค้าจากที่บ้านได้เลยค่ะ

  • ปรึกษาง่าย ๆ ไม่ต้องโหลดแอป ได้ที่ https://telepharmacy.fascino.co.th/
  • Facebook : https://m.me/fascinohealthcarethailand
  • Line : https://lin.ee/3mHf2nZ
  • โทร : 02-111-6999

ยา 7 ชนิดที่ห้ามทานคู่กับวิตามินซี | Telepharmacy 1 นาที

อ่านอะไรต่อดี ? 

วิตามินซี (Vitamin C) ประโยชน์ ปริมาณที่ควรทานแต่ละวัน

แคลเซียมผสมวิตามินรวม ดีอย่างไร ช่วยด้านไหนบ้าง

คอลลาเจน ต้องทานเวลาไหน ทำไมต้องทานคู่กับวิตามินซี

 สวัสดีค่ะคุณpubpa

ยา doxycycline เป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติในการรักษาอาการติดเชื้อแบคทีเรียต่าง ๆ เช่น สิว การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อในลำไส้ใหญ่ ติดเชื้อที่ตา โรคหนองในแท้ โรคหนองในเทียม  เป็นต้น

โดยยาอาจมีปฏิกิริยากับยาอื่นๆได้ จึงควรแจ้งแพทย์ให้ทราบทุกครั้งที่มีการใช้ยา 2 ชนิดขึ้นไปร่วมกัน แต่โดยส่วนใหญ่แล้ววิตามินซีไม่ได้มีผลกับยาตัวนี้โดยตรง สามารถใช้ด้วยกันได้ค่ะ


เผยแพร่ 15 ต.ค. 2564 ,17:16น.




เปิดรายชื่อกลุ่มยา-วิตามิน-อาหารที่ "ควร" และ "ไม่ควร" รับประทานร่วมกัน เพื่อผลลัพธ์ที่ดีต่อร่างกาย

การรับประทานอาหารเสริม เพื่อให้ร่างกายได้รับแร่ธาตุและวิตามินที่จำเป็น ชดเชยในบางมื้ออาหารที่เรารับประทานไม่ครบหมู่ แต่ก็พบว่าในบางคนมีการรับประทานอาหารเสริมมากเกินไป ซึ่งจะกลายเป็นผลเสียมากกว่าผลดี ส่งผลเสียต่อตับ รวมถึงผลข้างเคียงอื่นๆ นอกจากนี้อาหารเสริมบางชนิด ไม่ควรรับประทานคู่กับยาบางรายการ เพราะอาจเกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์ ลดประสิทธิภาพของยาที่รับประทาน หรือทำให้เกิดพิษในร่างกายได้ ฉะนั้น มาดูกันว่า กลุ่มยา-วิตามิน-อาหาร ประเภทใดที่ควรรับประทานร่วมกัน หรือควรหลีกเลี่ยง
เปิดวิธีรับประทานวิตามินซีที่ถูกต้องเพื่อ “รักษาโรคหวัด”
6 ข้อแนะนำ เสริมระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้ดีขึ้น ช่วงโควิด-19
"วิตามิน" เป็นอันตรายต่อสุขภาพมากกว่าที่เราคิด

วิตามินซีกินคู่กับยาพาราได้ไหม

5 กลุ่ม ยา วิตามินและอาหาร ที่ไม่ควรรับประทานร่วมกัน

1.ยารักษาเบาหวาน
     ไม่ควรรับประทานร่วมกับ : มะระขี้นก,ว่านหางจระเข้, โสม, แมงลัก, พืชตระกูลลูกซัด, ผักเชียงดา, และ อาหารเสริมที่มีแร่ธาตุโครเมียม
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : เสริมการออกฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดทำให้น้ำตาลลดลงมากเกินไป อาจเกิดอาการหัวใจเต้นเร็ว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ สายตาพร่า เหงื่อออกมาก หิวบ่อย อ่อนเพลีย

2.ยาลดความดันโลหิต, ยาลดไขมันในเลือด
     ไม่ควรรับประทานร่วมกับ : น้ำเกรปฟรุต
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : ทำให้ปริมาณยาสูงหลายเท่าในกระแสเลือด อาจให้เกิดพิษจากยาได้

3.ยาละลายลิ่มเลือด
     ไม่ควรรับประทานร่วมกับ : น้ำมันดอกคำฝอย, น้ำมันปลา, น้ำมันดอกอีฟนิ่ง, ตังกุย, กระเทียม, แป๊ะก๊วย, ขิง
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : หากรับประทานมากไป จะเสริมฤทธิ์ของยาทำให้เลือดออกง่ายขึ้น

4.ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
     ไม่ควรรับประทานร่วมกับ : ผักใบเขียว ยอ ชาเขียว ถั่วเหลือง บรอกโคลี และ อาหารเสริมโคเอ็นไซม์คิวเท็น
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : ต้านการออกฤทธิ์ของยา

5.ยาปฏิชีวนะกลุ่ม fluoroquinolone และกลุ่ม tetracycline
     ไม่ควรรับประทานร่วมกับ : นม โยเกิร์ตหรือยาลดกรด ยาเคลือบกระเพาะอาหาร และแคลเซียม
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : ทำให้ยาดูดซึมได้ลดลง ระดับยาในเลือดไม่เพียงพอต่อการรักษา

วิตามินซีกินคู่กับยาพาราได้ไหม

5 กลุ่ม ยา วิตามินและอาหาร ที่ควรรับประทานร่วมกัน

1.วิตามินเอ ดี อี เค
     ควรรับประทานร่วมกับ : อาหารที่มีไขมันจากสัตว์ หรือจากพืช หรืออาหารเสริมกลุ่มน้ำมันปลา
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : ช่วยให้วิตามินดูดซึมได้ดี

2.ธาตุเหล็ก
     ควรรับประทานร่วมกับ : วิตามินซี ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : ช่วยให้การดูดซึมธาตุเหล็กดีขึ้น

3.แคลเซียม
     ควรรับประทานร่วมกับ : วิตามินดี หรืออาหารที่มีวิตามินดี
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : ช่วยให้แคลเซียมดูดซึมได้ดีขึ้นในลำไส้เล็ก

4.คอลลาเจนเปปไทด์
     ควรรับประทานร่วมกับ : วิตามินซี
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : การกระตุ้นการสร้างคอลลาเจนของผิวพรรณ

5.โคเอนไซม์คิวเท็น
     ควรรับประทานร่วมกับ : หลังอาหารมื้อใหญ่หรือมื้อที่มีไขมันจากสัตว์หรือจากพืช
     ผลลัพธ์เมื่อรับประทานร่วมกัน : ช่วยให้โคเอนไซม์คิวเท็นดูดซึมได้ดีในร่างกาย

ที่มา รพ.สมิติเวช 

อัปเดตข่าวล่าสุดก่อนใคร Add friend ได้ที่ @PPTVOnline

ห้ามกินวิตามินซีคู่กับยาอะไร

ยาที่ไม่ควรทานพร้อมวิตามิน C. 1. ยาที่มีส่วนผสมของอลูมินัม เช่น ยาโรคกระเพาะ ยาโรคไต เพราะอาจทําให้ร่างกายดูดซึมอลูมินัมมากเกินไป และเป็นผลต่อไตได้ 2. ยาในกลุ่มคีโม เพราะวิตามินซีอาจไปส่งผลต้านการออกฤทธิ์ของยา 3. ยาที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจน เพราะอาจส่งผลให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกายเพิ่มขึ้น

วิตามินซีกินคู่กับยาฆ่าเชื้อได้ไหม

โดยยาอาจมีปฏิกิริยากับยาอื่นๆได้ จึงควรแจ้งแพทย์ให้ทราบทุกครั้งที่มีการใช้ยา 2 ชนิดขึ้นไปร่วมกัน แต่โดยส่วนใหญ่แล้ววิตามินซีไม่ได้มีผลกับยาตัวนี้โดยตรง สามารถใช้ด้วยกันได้ค่ะ

กินวิตามินซีร่วมกับยาอื่นได้ไหม

ข้อควรระวังในการกินวิตามินซี ผู้ที่กินยาลดเบาหวานอยู่ หากทานวิตามินซีร่วมด้วย จะทำให้ประสิทธิภาพยารักษาเบาหวานลดลง ผู้ที่กินยาคุมกำเนิดอยู่ ควรเพิ่มปริมาณการกินวิตามินซี หากรับประทานยาแอสไพลินอยู่ ควรเพิ่มปริมาณการกินวิตามินซี เพราะยาแอสไพลินจะทำให้วิตามินซีถูกขับออกไวขึ้น

กินยากับวิตามินพร้อมกันได้ไหม

ยา วิตามิน สมุนไพร และอาหารเสริมจึงเปรียบเสมือนดาบสองคม หากรับประทานร่วมกันโดยไม่ได้ระมัดระวังอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงต่างๆ โดยไม่รู้ตัว ในปัจจุบัน เราสามารถตรวจระดับวิตามินแร่ธาตุในร่างกายได้โดยการเจาะเลือด เพื่อค้นหาวิตามินและแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการจริง นำไปสู่การเลือกรับประทานอาหารหรืออาหารเสริมในแบบเฉพาะบุคคล