ข้าราชการ เบิกค่าฟันปลอม ได้ หรือ ไม่

  1. ˹���á
  2. ��дҹʹ���
  3. �ѵ�Ҥ�ҷӿѹ��������Ѻ�ԴҢ���Ҫ���

�ѵ�Ҥ�ҷӿѹ��������Ѻ�ԴҢ���Ҫ���

12 �ԧ�Ҥ� 2558 15:37 �. ��ҹ 1913 ���� �� ����Ҫ�������

ú�ǹ�ͺ�������ͧ�ѵ�Ҥ�ҷӿѹ������駻ҡ�ʹ��Ẻ�ҹ���Ф�� ��Һؤ�ŷ��зӿѹ�������Է���ԡ�ç㹰ҹкԴҢͧ����Ҫ���

�ó��� ����ö���Է����ԡ�ç�������� �����ѵ�Ҥ�ҷӿѹ�����Ҥ������ ��ͧ������ǹ��ҧ����ä��

�ͺ�س�ҡ���

1 �����Դ���

�����Դ��繷�� 1

�Ҥҿѹ������駻ҡ�ҹ���� �Ҥһ���ҳ 8,000 �ҷ��ͪ�鹤��

��ǹ�Է���ԡ���µç�ԡ�����ҳ 800 �ҷ���

�ѹ����� 26 �ԧ�Ҥ� 2558 14:5 �.

�����ʴ������Դ���

** �ٻ�Ҿ ��Ҵ��ͧ����Թ 500 KB ������ٻ�Ҿ ���ʡ�� .jpg, .gif, .png ��ҹ�� **

�����Դ��繢ͧ��ҹ���ʴ������䫵� ����ͤ����Դ��繢ͧ��ҹ���Ѻ���͹��ѵԨҡ�������к�

�ʴ������Դ���

กรมบัญชีกลางปรับเพิ่มค่ารักษาทางทันตกรรม ระบุเพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน หวังช่วยให้ผู้มีสิทธิสวัสดิการข้าราชการและบุคคลในครอบครัวเข้าถึงการรับบริการมากขึ้น มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป คาดจะใช้งบเพิ่มขึ้นปีละ 410 ล้านบาท ขณะที่ปี 58 ใช้งบด้านทันตกรรม 1,170 ล้านบาท รวมเป็นเงินเฉพาะทันตกรรมประมาณปีละ 1,580 ล้านบาท

นายมนัส แจ่มเวหา อธิบดีกรมบัญชีกลาง เปิดเผยว่า ได้ปรับอัตราค่าบริการสาธารณสุข ในส่วนค่าบริการทางทันตกรรม ฟันเทียมถอดได้และอุปกรณ์เพื่อให้การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน อันเนื่องมาจากการพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์และลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัว รวมถึงจะช่วยให้เข้าถึงการรับบริการทางทันตกรรมได้มากขึ้น โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป

"กรมบัญชีกลางได้ปรับปรุงอัตราค่าบริการสาธารณสุขใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้ปรับปรุงค่าบริการและเพิ่มรายการเกี่ยวกับทันตกรรม ฟันเทียมถอดได้และอุปกรณ์ ให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นรายการที่มีการใช้บริการจำนวนมาก และมีความจำเป็นในการรักษา ซึ่งการปรับปรุงดังกล่าวจะใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 410 ล้านบาท ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2558 ใช้งบประมาณในด้านทันตกรรมเป็นเงิน 1,170 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 1.76 ของค่ารักษาพยาบาลทั้งหมด" นายมนัส กล่าว

ทั้งนี้ กรมบัญชีกลางได้ประกาศกำหนด รายการ อัตรา และเงื่อนไขการเบิกจ่ายอัตราค่าบริการทางทันตกรรมฟันเทียมถอดได้และอุปกรณ์ สำหรับสถานพยาบาลของทางราชการ ประกอบด้วย

1.เพิ่มรายการค่าบริการ 11 รายการ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่จำเป็นต่อการรักษา

และ 2.ปรับเพิ่มอัตราค่าบริการ จำนวน 46 รายการ เพื่อให้มีความสอดคล้องกับโครงสร้างต้นทุนของสถานพยาบาล และลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัว

รายการและอัตราค่าบริการทางทันตกรรมใหม่ ที่ให้เบิก อาทิเช่น

รายการ

หน่วย

อัตราเดิม (บ.)

อัตราใหม่ (บ.)

1.ถอนฟันน้ำนม/ฟันแท้          

ซี่

170

200

2.ผ่าตัดฟันคุดหรือฟันฝังโดยกรอกระดูกและฟัน                 

ซี่

600

1,000

3.ผ่าตัดและอุดปลายราก (retrograde) ฟันหลัง    

ซี่

860

1,480

4.อุดฟันชั่วคราว    

ซี่

200

240

5.ขูดหินน้ำลายทั้งขากรรไกร (บนหรือล่าง)     

ครึ่งปาก

-

140

6.เพดานเทียมพร้อมฟันปลอมบางส่วนถอดได้สำหรับผู้ใหญ่Adult definitive obturator with upper Temporary Plate

ชิ้น

-

6,210

7.เพดานเทียมพร้อมฟันปลอมถอดได้ทั้งปากสำหรับผู้ใหญ่Adult definitive obturator with upper Temporary Plate

มัดรวม 3 สิทธิประโยชน์ทันตกรรมของรัฐ การ "เบิกค่าทำฟัน" โดยใช้สิทธิประกันสังคม สิทธิบัตรทอง และสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

ใครที่มีสิทธิบัตรทอง 30 บาท หรือเป็นผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม รวมทั้งเป็นข้าราชการ มีสวัสดิการเบิกค่ารักษาพยาบาล สามารถ "เบิกค่าทำฟัน" ได้ ซึ่งแต่ละสวัสดิการของรัฐนั้น ได้รับสิทธิประโยชน์ไม่เหมือนกัน จะมีอะไรที่เบิกได้บ้าง ไปดูกันเลย...

สิทธิประกันสังคม

สำนักประกันสังคม ได้ให้สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตน กรณีทันตกรรม ในสถานพยาบาลที่เข้าร่วมกับประกันสังคม โดยจะต้องเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 และ 39 ไม่นับมาตรา 40 ผู้ประกันตนต้องส่งเงินครบ 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน หากลาออกจากงานแล้วยังใช้สิทธิ์ได้อีก 6 เดือน โดยผู้ประกันตนสามารถรับบริการทางการแพทย์ได้ดังนี้

1. อุดฟัน ขูดหินปูน ถอนฟัน ผ่าฟันคุด เบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ ไม่เกิน 900 บาท/ปี

2. การใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน มีสิทธิเบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินวงเงิน 1,300 – 4,400 บาทต่อ 5 ปี ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้

2.1 กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน

- 1 - 5 ซี่เท่าที่จ่ายจริงในวงเงินไม่เงิน 1,300 บาท

- มากกว่า 5 ซี่เท่าที่จ่ายจริงในวงเงินไม่เกิน 1,500 บาท

2.2 กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปาก

- ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริงในวงเงินไม่เกิน 2,400 บาท

- ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนและล่าง เท่าที่จ่ายจริงในวงเงินไม่เกิน 4,400 บาท

ทั้งนี้ ผู้ประกันตนสามารถเข้ารับบริการได้ที่สถานพยาบาลที่ติดสติ๊กเกอร์ ระบุว่า "สถานพยาบาลแห่งนี้ให้บริการผู้ประกันตน กรณีทันตกรรม ทำฟันไม่ต้องสำรองจ่าย"

สำหรับกรณีที่เข้ารับการรักษากับสถานพยาบาล ที่ไม่ได้ทำความตกลงเรื่องการเบิกจ่ายกับประกันสังคม ผู้ประกันตนจะต้องเตรียมหลักฐานไปยื่นรับเงินที่สำนักงานประกันสังคม ดังนี้

- แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีทันตกรรม (สปส.2-16)

- ใบรับรองแพทย์

- ใบเสร็จรับเงิน

- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรอื่น ๆ ที่ออกโดยหน่วยงานราชการ

- เวชระเบียนของแพทย์ผู้รักษา(กรณีเบิกฟันปลอมฐานอะคริลิก)

อย่างไรก็ตาม สามารถเบิกค่าทำฟันได้ภายใน 1 ปี นับจากวันที่ระบุในใบเสร็จ

ข้าราชการ เบิกค่าฟันปลอม ได้ หรือ ไม่

สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ บัตรทอง

บัตรประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ บัตรทอง สามารถเข้ารับบริการด้านทันตกรรมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ดังนี้

- การถอนฟัน การอุดฟัน การขูดหินปูน ผ่าฟันคุด

- การทำฟันเทียมฐานฐานพลาสติก

- การรักษาโพรงประสาทฟันน้ำนม

- การใส่เพดานเทียมในเด็กปากแหว่งเพดานโหว่

- การรักษาฟันคุดตามข้อบ่งชี้ของแพทย์

* ยกเว้น การรักษารากฟันแท้ การจัดฟัน การทำฟันเพื่อความสวยงาม *

ทั้งนี้ ผู้ประกันตนสามารถเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตามสิทธิที่อยู่ ถ้ารักษาต่างโรงพยาบาลต้องมีหนังสือส่งตัวระบุโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ จึงจะสามารถใช้สิทธิได้ โดยสิทธิบัตรทอง คุ้มครองค่าใช้จ่ายตามการวินิจฉัยทางการแพทย์และประกาศของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สอบถามเพิ่มเติม โทร สายด่วน สปสช. 1330 ตลอด 24 ชม.

ข้าราชการ เบิกค่าฟันปลอม ได้ หรือ ไม่

สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

ข้าราชการมีสิทธิได้รับค่ารักษาพยาบาลจากทางราชการสำหรับตนเองและบุคคลในครอบครัว ประกอบด้วย บิดา มารดา คู่สมรส และบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมายที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

สำหรับการเบิกค่ารักษาพยาบาลทางทันตกรรม สามารถเบิกได้ตามอัตราไม่เกินกว่าที่กรมบัญชีกลางกำหนดไว้ เช่น

- การอุดฟัน การถอนฟัน การผ่าฟันคุด

- การผ่าตัดอื่นๆ เกี่ยวกับช่องปากและขากรรไกร

- การรักษาโรคปริทันต์ การรักษารากฟัน การแก้ไขการสบฟันที่ผิดปกติ

- การเคลือบฟลูโอไรด์ทั้งปาก

- การใส่เฝือกฟัน

- การฟอกสีฟันที่ตายแล้ว

- การใส่เครื่องมือปิดช่องเพดานโหว่

- การใส่ฟันเทียมพลาสติกถอดได้ และครอบฟัน

โดยนำใบเสร็จจากสถานพยาบาลของรัฐไปเบิกจากหน่วยงานต้นสังกัดภายใน 1 ปี นับจากวันที่ระบุในใบเสร็จ หรือใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยใช้บัตรประชาชน เฉพาะกรณีผู้ป่วยนอก ส่วนกรณีเด็กอายุต่ำกว่า 7 ปีที่ยังไม่มีบัตรประชาชนใช้สูติบัตรและบัตรประชาชนผู้ดูแล

ทำฟัน ปลอม เบิก สิทธิ ข้าราชการ ได้ไหม

เดิมการเบิกจ่ายค่าฟันปลอมหรือการครอบฟัน ไม่สามารถเบิกจ่ายจากทางราชการได้ เนื่องจากกรม บัญชีกลางถือว่าฟันปลอม และครอบฟัน เป็นอุปกรณ์ ที่ยังไม่ได้กำหนดอัตราให้เบิกจ่ายไว้ ดังนั้นสิทธิ ประโยชน์ที่เกี่ยวกับฟันจะเบิกได้เฉพาะในกรณีของ การถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และรักษาคลองรากฟัน เท่านั้น ต่อมา กรมบัญชีกลางได้มีการประชุมร่วม

ข้าราชการเบิกค่าทำฟันอะไรได้บ้าง

1. อุดฟัน ขูดหินปูน ถอนฟัน ผ่าฟันคุด เบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ ไม่เกิน 900 บาท/ปี 2. การใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน มีสิทธิเบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินวงเงิน 1,300 – 4,400 บาทต่อ 5 ปี ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.1 กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน

รักษารากฟัน เบิกจ่ายตรงได้ไหม

การรักษารากฟันสามารถเบิกได้ค่ะ /// ในเวลาราชการ สำหรับฟันหน้า ราคาซี่ละ 1200-2300 บาท สามารถเบิกได้ 1750 บาท สำหรับกรามน้อย ราคาซี่ละ 2000-3000 สามารถเบิกได้ 2500 บาท สำหรับกรามใหญ่ ราคาซี่ละ 2800-4000 สามารถเบิกได้ 3500 บาท /// นอกเวลาราชการ ฟันหน้า ราคาซี่ละ 3000 สามารถเบิกได้ 1750 บาท กรามน้อย ราคาซี่ละ 5200 สามารถ ...

อุดฟัน เบิกได้ไหม

ผู้ประกันตนมีสิทธิเข้ารับการบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลใดก็ได้ในกรณี อุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน ผ่าฟันคุด โดยสำรองเงินจ่ายไปก่อนและนำหลักฐานมาขอเบิกเงินคืนได้ในอัตราปีละไม่เกิน 900 บาท/ปี (เงื่อนไขการเบิกเงินเป็นไปตามประกาศประกันสังคม) และมีสิทธิใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ฐานอคริลิก (พลาสติก) 1-5 ซี่ ในวงเงินไม่เกิน 1,300 ...