Calcium l-threonate ผลข้างเคียง

คำตอบ

แคลเซียมแอลทรีโอเนต (calcium L-threonate) ให้ธาตุแคลเซียมประมาณ 13% ของน้ำหนัก ดังนั้นแคลเซียมแอลทรีโอเนตขนาด 1,000 มิลลิกรัม จะให้แคลเซียมประมาณ 130 มิลลิกรัม หากต้องการได้รับแคลเซียมวันละ 1,000 มิลลิกรัม ต้องรับประทานแคลเซียมแอลทรีโอเนตประมาณ 7 หรือ 8 แคปซูล/วัน แต่อย่างไรก็ตามเราได้รับแคลเซียมจากอาหาร เช่น นม เนย เต้าหู้ บร็อคโคลี เมล็ดธัญพืช ในกรณีได้รับแคลเซียมไม่เพียงพออาจรับประทานยาเสริมแคลเซียม มักได้รับในขนาด 500 มิลลิกรัม/วัน (เทียบเท่ากับแคลเซียมแอลทรีโอเนต 3 หรือ 4 แคปซูล/วัน) Keywords: calcium L-threonate, แคลเซียมแอลทรีโอเนต

Reference:
1. Rosen HN, Drezner MK. Overview-of-the-management-of-osteoporosis-in-postmenopausal-women. Uptodate.com. 2020. Available from: https://www.uptodate.com/contents/overview-of-the-management-of-osteoporosis-in-postmenopausal-women?search=osteoporosis&source=search_result&selectedTitle=1~150&usage_type=default&display_rank=1#H3
2. Wang HY, Hu P, Jiang J. Pharmacokinetics and safety of calcium L-threonate in healthy volunteers after single and multiple oral administrations. Acta Pharmacol Sin 2011;32:1555-60.
3. European Food Safety Authority (EFSA). Opinion on calcium L-threonate for use as a source of calcium in food supplements. EFSA J 2008;866:1-20.

Keywords:
-

แคลเซียมแอล-ทรีโอเนต (Calcium L-Threonate) ได้มาจากการสกัดจากข้าวโพดจึงเป็นสารสกัดจากธรรมชาติและเป็นแคลเซียมโมเลกุลเล็ก ละลายดี ดูดซึมดีเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายไม่ตกตะกอนเป็นนิ่วในไต ไม่ทำให้ท้องผูก โดยแคลเซียมแอล-ทรีโอเนต (Calcium L-Threonate) สามารถดูดซึมได้ด้วยตัวเองถึง 90 % เป็น passive transport ซึมผ่านระหว่างเซลล์ โดยไม่ต้องอาศัยวิตามินดีและสามารถทานตอนท้องว่างได้ซึ่งแคลเซียมชนิดอื่นๆต้องใช้วิตามินดีเพื่อช่วยในการดูดซึมและดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้เพียง 15% เท่านั้น แถมยังเป็นสารประกอบภายในร่างกายอยู่แล้วจึงใช้ได้อย่างปลอดภัยและไม่เป็นสารก่อมะเร็ง

Calcium l-threonate ผลข้างเคียง

ข้อแตกต่างกับแคลเซียมชนิดอื่น

  1. แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium carbonate) ดูดซึมได้10% ผลข้างเคียงท้องอืด, ท้องผูก มักทำจากกระดูกสัตว์ป่น ละลายยาก และดูดซึมได้น้อยมาก ที่เหลือมีโอกาสสะสม ก่อให้เกิดหินปูนในร่างกาย ไปตามอวัยวะต่างๆ เสี่ยงโรคนิ่วในไต ,หินปูนที่เต้านม,หินปูนต่อมลูกหมาก
  2. แคลเซียมซิเตรท (Calcium citrate) ดูดซึมได้50% ทำจากนม ต้องทานพร้อมอาหาร (ทำงานได้ต่อเมื่อมีกรดในกระเพาะเท่านั้น) ดูดซึมไม่หมด ก็มีโอกาสสะสม เกิดหินปูนได้

Calcium l-threonate ผลข้างเคียง

ปริมาณแคลเซียมที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันจะแตกต่างกันในแต่ละช่วงอายุ และมักจะมีค่าเพิ่มขึ้นในผู้สูงอายุ เช่น
200 มิลลิกรัม ในเด็กแรกเกิด-6เดือน

260 มิลลิกรัม ในกลุ่มเด็ก7-12 เดือน

700 มิลลิกรัม ในกลุ่มอายุ1-3ปี

1ooo มิลลิกรัม ในกลุ่มอายุ 4-8ปี

1300 มิลลิกรัม ในกลุ่มกลุ่มอายุ9-18ปี

1,000 มิลลิกรัม ในกลุ่มอายุ 19-50 ปี

1,000 มิลลิกรัม ในกลุ่มอายุ 51-70 ปีขึ้นไป

1,200 มิลลิกรัม ในกลุ่มอายุ 71ปีขึ้นไป

ดังนั้นแคลเซียมแอล-ทรีโอเนต (Calcium L-Threonate) ช่วยตอบโจทย์เรื่องกระดูกเหมาะสำหรับ ผู้สูงอายุ ผู้หญิงที่ใกล้หมดประจำเดือน วัยทำงาน เด็ก และผู้ที่มีภาวะขาดแคลเซียม หรือเป็น โรคกระดูกพรุนและโรคกระดูกอื่นๆ

Calcium L

Calcium L-threonate เป็นผลิตภัณฑ์ calcium ในรูปแบบที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาสำหรับใช้ในภาวะกระดูกพรุน ซึ่งนอกจากให้ calcium ซึ่งเป็นสารที่ช่วยเสริมสร้างกระดูดแล้ว ยังให้ L-threonic acid ซึ่งเป็น active metabolite ของ vitamin C ทำหน้าที่ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ collagen จึงมีบทบาทในกระบวนการสร้างกระดูกของ osteoblast ...

แคลเซียมแอลทรีโอเนตกินตอนไหนดี

Calsium L-Threonate สกัดมาจากข้าวโพดเป็นแคลเซียมชนิดที่ละลายน้ำได้ดีมาก สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ประมาณ 90% สามารถทานก่อนหรือหลังอาหารได้ เนื่องจากดูดซึมได้ดีจึงทำให้ไม่ตกตะกอนค้างในไต (นิ่ว) ไม่ทำให้ท้องผูก ทั้งยังช่วยกระตุ้นการสร้างคอลาเจนในกระดูก และกระดูกอ่อนสร้างน้ำไขข้อได้ดีอีกด้วย โดยแคลเซียมแอล-ทรีโอเนตแตก ...

กินแคลเซียมมีผลข้างเคียงไหม

หากกินแคลเซียมในปริมาณที่มากเกินไปจนเกิดการสะสม จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดนิ่วในไต หินปูนในเต้านม มะเร็งเต้านม หินปูนในหลอดเลือด และหลอดเลือดตีบตัน

แคลเซียมเพิ่มความสูงได้จริงไหม

ที่จริงแล้วแคลเซียมนั้นเป็นสารอาหารที่ช่วยในเรื่องของความสูงได้จริง โดยเฉพาะในช่วงที่กำลังอยู่ในช่วงวัยที่กำลังเจริญเติบโต อย่างไรก็ดียังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มความสูงให้ร่างกายอีกหลายปัจจัย ได้แก่