ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50

รหัสสินค้า : BAS-THA-030-008

Show

ราคา

0.00 ฿

0.00 ฿

ราคารวม 0.00 ฿

ชื่อสินค้า : Hydrogenperoxide 50% (ไฮโดรเยนเปอร์อ็อกไซด์ 50%)

CAS No. : 7722-84-1

ขนาดบรรจุ : 30 kg

สูตร : H2O2

น้ำหนักโมเลกุล : 34.01470

ชื่อพ้อง : น้ำยาฟอกขาว

คุณสมบัติทางกายภาพ

  • ภาวะปกติ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์อยู่ในสถานะของเหลวที่ไม่คงตัว ไม่มีสี มีรสขม มักทำอยู่ในรูปสารละลายในน้ำความเข้มข้น 3%-90 % และที่อุณหภูมิต่ำ(< 120C)จะเป็นเกล็ดแข็งสีขาว

ลักษณะการใช้งาน

  • ช่วยขจัดผ้าให้สะอาดใด้หากมีคราบสกปกบนเสื้อผ้าเพียงเทโดยตรงในจุดประมาณ1นาทีแล้วถูและล้างออกด้วยน้ำเย็นก็สามารถขจัดคราบสกปรกนั้นได้
  • ป้องกันสารพิษปรสิตแบคทีเรียไวรัสและยีสต์
  • ฟื้นฟู/ขับพิษใช้ประมาณ 3% ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในน้ำอุ่น แช่เป็นเวลาอย่างน้อย 1/2 ชั่วโมง
  •  เท้าเป็นเชื้อราสเปรย์ 50/50 ส่วนผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์และน้ำ ฉีดที่เท้าทุกคืน ปล่อยให้แห้ง
  • ใช้รักษาแผลติดเชื่้อที่ยารักษาไม่หายเพียงนำไปแช่ สัก 5-10 นาที วันละหลายครั้ง เกินกว่า 5 ครั้ง แม้แผลเรื้อรังที่จะไม่รักษาด้วยยาใด ๆ ก็จะได้รับการรักษาโดยการแช่ในไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ได้ ใส่ลงไปครึ่งขวดสำหรับอาบน้ำ กำจัดโรคผิวหนังหรือเชื้อรา
  • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ สามารถใช้สเปรย์ในจมูก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับของไซนัส จะต้องปรับปริมาณของเปอร์ออกไซด์ที่ใช้ตามปริมาณที่เหมาะสม
  • รักษาบาดแผล/น้ำยาบ้วนปาก / การดูแลฟันน้ำยาบ้วนปากใช้ 1ฝา แล้วอมไว้ในปาก 10 นาที แล้วคายออกคุณจะไม่ได้มีแผลเปื่อยและฟันจะขาวขึ้น
  • ยาสีฟัน
  • ปวดฟัน
  • แปรงสีฟันสะอาดมากขึ้น จุ่มใน 3% ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่จะทำให้เชื้อโรคหายไป
  • ฟัน
  • ฟอกสีฟัน
  • หมายเหตุ: อย่ากลืนเปอร์ออกไซด์ใด ๆ และล้างปากด้วยน้ำเปล่า 1 รอบ
  • ผสมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์กับน้ำ (50/50)กำจัดสีย้อมผมได้
  • ฆ่าเชื้อ / ยาฆ่าเชื้อ / อุปกรณ์ทำความสะอาดเคาน์เตอร์และโต๊ะของคุณด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เพื่อฆ่าเชื้อโรค เพียงคุณเช็ดหรือฉีดสเปรย์ลงบนเคาน์เตอร์ ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในการทำความสะอาดกระจกและ การฆ่าเชื้อภายในของตู้เย็นและฉีดสเปย์ที่โรงเรียนได้
  • ล้างจาน
  •  แม่พิมพ์ 
  • ความชื้น/ดับไฟ3% ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ต่อ 1 แกลลอนน้ำ
  • ซักรีด / ถอดคราบ
  • ซักผ้า / ซักอบ 
  • ผักแช่
  •  เนื้อสัตว์ฆ่าเชื้อ

สินค้าไม่เพียงพอ

สินค้าหมด

MOBILE

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide)

✅ บทความนี้ได้รับการตรวจสอบแล้ว

KEY POINTS:


  • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide; H2O2) เป็นสารเคมีของเหลวใส มีคุณสมบัติเป็นสารฆ่าเชื้อ (Disinfectants) สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อจุลชีพ ในช่วงการระบาดของโคโรนาไวรัส จึงได้มีการนำมาใช้ฆ่าเชื้อไวรัสในบริเวณต่างๆ ที่มีความเสี่ยง
  • เนื่องจาก Hydrogen Peroxide มีจุดเด่น 3 ประการ คือ ต้านจุลชีพ (Antimicrobial Activity) เข้ากับของเหลวอื่นได้ดี และมีความปลอดภัยกับผู้ใช้งาน จึงมีการนำมาใช้ในหลายอุตสาหกรรม ใช้เป็นสารกันเสียในอาหาร สารฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้ำยาล้างแผล น้ำยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดพื้นผิว รวมถึงการฆ่าเชื้ออุปกรณ์การแพทย์
  • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ มีข้อควรระวังเรื่องการระคายเคืองผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ ในร่างกาย การใช้กับบาดแผลบางประเภทจึงต้องให้ความระมัดระวังเป็นอย่างมาก นอกจากนี้การล้างแผลด้วย Hydrogen Peroxide ยังทำให้สมานแผลช้าอีกด้วย


Table of Contents
Hydrogen Peroxide คืออะไร?
ชื่ออื่นๆ ของ Hydrogen Peroxide
การออกฤทธิ์ของ Hydrogen Peroxide: ทำไมถึงนิยมใช้ในการฆ่าเชื้อ?
รูปแบบของ Hydrogen Peroxide
Hydrogen Peroxide ราคาเท่าไหร่?
ใช้ Hydrogen Peroxide ทำอะไรได้บ้าง?
วิธีใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ข้อควรระวังในการใช้ Hydrogen Peroxide
ผลข้างเคียงและอาการแพ้ Hydrogen Peroxide
การเก็บรักษา Hydrogen Peroxide
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับยา Hydrogen Peroxide


Hydrogen Peroxide คืออะไร?


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide: H2O2) เป็นสารเคมีเหลวใสไม่มีสีที่อุณหภูมิห้อง มีความหนืดกว่าน้ำเล็กน้อย มีรสขม ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีคุณสมบัติเป็นสารฆ่าเชื้อพื้นผิว (Disinfectants) สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อไวรัส แบคทีเรีย ยีสต์ โดยการนำมาเช็ด ล้างบนผิวกายที่เกิดบาดแผล รอยถูกของมีคมบาด รอยไหม้ หรือใช้ในน้ำยาบ้วนปากและกลั้วคอ แต่ไม่สามารถใช้สำหรับแผลหรือรอยไหม้รุนแรงโดยเฉพาะแผลลึก กว้าง หรือเป็นโพรง รวมถึงรอยสัตว์กัด

นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทำความสะอาดสิ่งของ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จึงถูกเรียกว่า “น้ำยาฆ่าเชื้อ (Antiseptic)” ตามบ้านเรือนเราสามารถพบไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ฟอกผ้าขาว ครีมเปลี่ยนสีผม และจัดเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535


ชื่ออื่นๆ ของ Hydrogen Peroxide

ชื่ออื่นๆ ของ Hydrogen Peroxide เช่น Hydrogen dioxide, Hydroperoxide, Perhydrol, Oxydol


การออกฤทธิ์ของ Hydrogen Peroxide: ทำไมถึงนิยมใช้ในการฆ่าเชื้อ?


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อได้หลายชนิด การออกฤทธิ์ของ Hydrogen Peroxide เกิดจากการปลดปล่อยอนุมูลอิสระไฮดรอกซิล และทำปฏิกิริยากับเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นชั้นไขมัน โปรตีน และสารพันธุกรรมซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในของเชื้อโรคได้ ในกระบวการดังกล่าวจะอาศัยเอนไซม์คะตาเลส (Catalase Enzyme) ซึ่งอยู่ในเซลล์ต่างๆ ทำให้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์แตกตัวกลายเป็นน้ำ (H2O) และออกซิเจน (O2) เวลาใช้ทำความสะอาดแผลหรือเชื้อโรคจะเกิดเป็นฟอง เป็นสัญญาณว่ามีการปลดปล่อยออกซิเจนและไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์กำลังออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรคนั่นเอง

แต่ Hydrogen Peroxide ก็มีข้อจำกัดบางอย่างคือ ออกฤทธิ์ในช่วงเวลาอันสั้น และความความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อโรคจะขึ้นอยู่กับตัวแปร 3 อย่าง ดังนี้


  1. ชนิดของเชื้อโรค
  2. ความเข้มข้นของ Hydrogen Peroxide
  3. ระยะเวลาที่ใช้ในการสัมผัสกับ Hydrogen Peroxide

รูปแบบของ Hydrogen Peroxide

Hydrogen peroxide จะถูกนำมาใช้โดยผสมกับน้ำหรือของเหลวชนิดอื่น ผลิตเป็นของเหลว เจล น้ำยาบ้วนปาก หรือรูปแบบอื่นๆ Hydrogen peroxide นอกจากนี้ยังสามารถนำมาใช้เป็นสารกันเสีย (Preservative) น้ำยาฆ่าเชื้อบนผิวหนัง (Antiseptic) สารฆ่าเชื้อบนพื้นผิวอุปกรณ์และข้าวของเครื่องใช้ (Disinfectant) พ่นเป็นละอองฝอย (Fumigant)


Hydrogen Peroxide ราคาเท่าไหร่?

Hydrogen peroxide 3% สำหรับล้างแผลขนาด 450 ml ราคาขวดละ 40-80 บาท



ใช้ Hydrogen Peroxide ทำอะไรได้บ้าง?


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50


  • ใช้เป็นน้ำยาเช็ดล้างทำความสะอาดแผล เพื่อไม่ให้เกิดการระคายเคืองต่อผิว
  • ใช้เป็นสารฆ่าเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ อวัยวะเทียม
  • ใช้สำหรับฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ อย่างสปอร์ของเชื้อราในอุตสาหกรรมผักผลไม้ เนื้อสัตว์สด โดยนำมาผสมกับกรดแอซีติก (Acetic acid) และสารช่วยให้คงตัว เพื่อผลิตเป็นกรดเปอร์ออกซิแอซีติก (Peroxyacetic acid)
  • ใช้เพื่อการฆ่าเชื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์แปรรูปอาหาร และบรรจุภัณฑ์อาหาร (Packaging)
  • ใช้เป็นสารกันเสียใน นม น้ำผลไม้
  • ใช้เป็นน้ำยากลั้วปาก หรือเป็นส่วนผสมของน้ำยาบ้วนปาก
  • ใช้เป็นส่วนผสมในยาย้อมสีผมบางชนิด
  • ใช้ทำความสะอาดสิ่งของภายในบ้าน เช่น ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อฟองน้ำล้างจาน ทำความสะอาดกรรไกรตัดเล็บ ทำความสะอาดตู้เย็น ฯลฯ
  • ใช้เป็นสารทำความสะอาดแหล่งน้ำหรือสารดับกลิ่นในน้ำ
  • ใช้เป็นสารฟอกขาวในอุตสาหกรรม เช่น กระดาษ เส้นใยผ้า โฟมยาง และใช้เป็นส่วนผสมของเชื้อเพลิงจรวดได้อีกด้วย

วิธีใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50


  • ใช้ทำความสะอาดแผล: โดยจะต้องทำความสะอาดแผลก่อน แล้วค่อยใช้สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 1.5-3% ล้างแผล แต่มีข้อเสียคือรบกวนการสมานแผลและทำให้แผลหายช้าหรือมีรอยแผลเป็นได้
  • ใช้ทำความสะอาดในช่องปาก: ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สำหรับบ้วนปากความเข้มข้นไม่เกิน 3% ผสมกับน้ำอีกเท่าตัว ใช้อมในปากและบ้วนทิ้ง ห้ามกลืนเด็ดขาด
  • ใช้ฆ่าเชื้อโรคบนพื้นผิววัสดุต่างๆ: ด้วยสถานการณ์การระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัสต้นเหตุของโรคโควิด 19 ทำให้มีการนำสารละลาย Hydrogen Peroxide มาใช้ทำความสะอาดพื้นผิวต่างๆ ที่อาจเป็นจุดสะสมของเชื้อไวรัสและเชื้อโรคอื่นๆ
    วิธีการคือให้ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 0.5% จำนวน 1 ส่วน ต่อน้ำกลั่นสเตอร์ไรด์ 5 ส่วน เทผสมลงในภาชนะและคนให้เข้ากัน ก่อนจะนำไปใส่กระบอกฉีดที่มีสีขุ่นหรือทึบแสง แล้วนำไปฉีดในจุดที่ต้องการฆ่าเชื้อ ทั้งนี้ควรเตรียมใช้ทีละน้อยไม่เก็บไว้นาน เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อลดลง

ข้อควรระวังในการใช้ Hydrogen Peroxide


  • ใช้สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์อย่างระมัดระวัง เพราะหากสัมผัสโดนผิวหนังจะทำให้เกิดการระคายเคืองได้
  • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เป็นสารที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อและส่งผลให้แผลหายช้าลง จึงไม่ควรนำไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มาใช้กับบาดแผลลึกและมีการฉีกขาดเพราะจะทำให้เกิดก๊าซขึ้นในผิวหนังชั้นลึก (Subcutaneous)
  • ระมัดระวังไม่ให้สาร Hydrogen Peroxide เข้าตา หากสารเข้าตาให้ล้างตาโดยเปิดน้ำไหลผ่านประมาณ 15 นาทีแล้วรีบไปพบแพทย์ หากใส่คอนแทคเลนส์ให้ถอดออดก่อนล้างน้ำ
  • หากบังเอิญกลืนสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เข้าไป อย่าพยายามทำให้ตัวเองอ้วกออกมา แต่ให้ดื่มน้ำตามเข้าไปมากๆ แล้วรีบไปพบแพทย์

ผลข้างเคียงและอาการแพ้ Hydrogen Peroxide

อาการข้างเคียงจากการใช้ Hydrogen Peroxide เกิดขึ้นจากการรับสารเข้าจากหลายช่องทาง ได้แก่ สูดดม รับประทาน สัมผัสทางผิวหนังหรือดวงตา หากมีอาการต่างๆ เหล่านี้ไปรีบไปพบแพทย์


  • ผลต่อทางเดินหายใจ เช่น ระคายเคืองจมูก คอ เจ็บคอ ไอ แน่นหน้าอกหายใจผิดปกติ
  • ผลต่อทางเดินอาหารกรณีกลืนสารเคมี เช่น แสบคอ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
  • ผลต่อผิวหนังและดวงตา เช่น ตาแดง ตาพร่ามัว ผิวหนังแสบร้อน ไหม้
  • อาการแพ้ เช่น ผื่นแดง ผื่นคัน มีอาการบวมที่ใบหน้า ลิ้น คอ วิงเวียนศีรษะ หายใจลำบาก
  • อาการอื่นๆ เช่น เวียนหัว ปวดหัว ภาวะช็อก


การเก็บรักษา Hydrogen Peroxide


  • เนื่องจากสารชนิดนี้ไวต่อแสงและความร้อนจึงควรเก็บในภาชนะทึบแสง
  • เก็บในบริเวณที่แห้งและไม่ร้อน อุณหภูมิไม่เกิน 30 องศาเซลเซียส
  • เก็บห่างจากสารไวไฟ และเบสเข้มข้น

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับยา Hydrogen Peroxide


1. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์อันตรายไหม?

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีความอันตรายมากขึ้นตามความเข้มข้น หากสัมผัสโดนเยื่อบุต่างๆ จะทำให้ระคายเคือง ทั้งผิวหนัง ตา ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ควรระมัดระวังในการใช้งานโดยการสวมถุงมือ


2. ทำไมถึงไม่ควรใช้ Hydrogen Peroxide ล้างแผล?

สามารถใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ทำความสะอาดแผลขนาดเล็กได้ แต่สำหรับแผลลึกหรือแผลฉีกขาดขนาดใหญ่ไม่ควรใช้เพราะทำให้แผลสมานช้าเพราะมีฤทธิ์กัดกร่อนเนื้อเยื่อ และอาจทำให้มีก๊าซสะสมในชั้นผิวหนังลึกจากการแตกตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์


3. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ใช้บ้วนปากได้ไหม?

ใช้ได้ โดยใช้ Hydrogen Peroxide ความเข้มข้นไม่เกิน 3% สามารถใช้บ้วนปากเพื่อฆ่าเชื้อได้


4. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ใช้ล้างหูได้ไหม?

ใช้ได้ โดยการใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้นไม่เกิน 3% ช่วยละลายขี้หูได้ แต่มีข้อเสียคือ เมื่อสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์แตกตัวแล้วจะทำให้มีน้ำขังในหูมาก อาจนำไปสู่การติดเชื้อแบคทีเรียได้


5. สามารถใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ฆ่าเชื้อ COVID-19 ภายในครัวเรือนได้ไหม?

ใช้ได้ โดยการใช้สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 0.5% 1 ส่วน ผสมกับน้ำกลั่นสเตอร์ไรด์ 5 ส่วน คนให้เข้ากันแล้วใส่ในกระบอกฉีดทึบ นำไปฉีดตามพื้นผิวที่อาจมีอาการสะสมของเชื้อไวรัส เช่น ราวบันได ลิฟต์ ลูกบิดประตู



✅ ตรวจสอบข้อมูลโดย




แหล่งข้อมูล


ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide)

✅ บทความนี้ได้รับการตรวจสอบแล้ว

KEY POINTS:


  • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide; H2O2) เป็นสารเคมีของเหลวใส มีคุณสมบัติเป็นสารฆ่าเชื้อ (Disinfectants) สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อจุลชีพ ในช่วงการระบาดของโคโรนาไวรัส จึงได้มีการนำมาใช้ฆ่าเชื้อไวรัสในบริเวณต่างๆ ที่มีความเสี่ยง
  • เนื่องจาก Hydrogen Peroxide มีจุดเด่น 3 ประการ คือ ต้านจุลชีพ (Antimicrobial Activity) เข้ากับของเหลวอื่นได้ดี และมีความปลอดภัยกับผู้ใช้งาน จึงมีการนำมาใช้ในหลายอุตสาหกรรม ใช้เป็นสารกันเสียในอาหาร สารฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้ำยาล้างแผล น้ำยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดพื้นผิว รวมถึงการฆ่าเชื้ออุปกรณ์การแพทย์
  • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ มีข้อควรระวังเรื่องการระคายเคืองผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ ในร่างกาย การใช้กับบาดแผลบางประเภทจึงต้องให้ความระมัดระวังเป็นอย่างมาก นอกจากนี้การล้างแผลด้วย Hydrogen Peroxide ยังทำให้สมานแผลช้าอีกด้วย


Table of Contents
Hydrogen Peroxide คืออะไร?
ชื่ออื่นๆ ของ Hydrogen Peroxide
การออกฤทธิ์ของ Hydrogen Peroxide: ทำไมถึงนิยมใช้ในการฆ่าเชื้อ?
รูปแบบของ Hydrogen Peroxide
Hydrogen Peroxide ราคาเท่าไหร่?
ใช้ Hydrogen Peroxide ทำอะไรได้บ้าง?
วิธีใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ข้อควรระวังในการใช้ Hydrogen Peroxide
ผลข้างเคียงและอาการแพ้ Hydrogen Peroxide
การเก็บรักษา Hydrogen Peroxide
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับยา Hydrogen Peroxide


Hydrogen Peroxide คืออะไร?


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide: H2O2) เป็นสารเคมีเหลวใสไม่มีสีที่อุณหภูมิห้อง มีความหนืดกว่าน้ำเล็กน้อย มีรสขม ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีคุณสมบัติเป็นสารฆ่าเชื้อพื้นผิว (Disinfectants) สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อไวรัส แบคทีเรีย ยีสต์ โดยการนำมาเช็ด ล้างบนผิวกายที่เกิดบาดแผล รอยถูกของมีคมบาด รอยไหม้ หรือใช้ในน้ำยาบ้วนปากและกลั้วคอ แต่ไม่สามารถใช้สำหรับแผลหรือรอยไหม้รุนแรงโดยเฉพาะแผลลึก กว้าง หรือเป็นโพรง รวมถึงรอยสัตว์กัด

นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทำความสะอาดสิ่งของ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จึงถูกเรียกว่า “น้ำยาฆ่าเชื้อ (Antiseptic)” ตามบ้านเรือนเราสามารถพบไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ฟอกผ้าขาว ครีมเปลี่ยนสีผม และจัดเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535


ชื่ออื่นๆ ของ Hydrogen Peroxide

ชื่ออื่นๆ ของ Hydrogen Peroxide เช่น Hydrogen dioxide, Hydroperoxide, Perhydrol, Oxydol


การออกฤทธิ์ของ Hydrogen Peroxide: ทำไมถึงนิยมใช้ในการฆ่าเชื้อ?


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อได้หลายชนิด การออกฤทธิ์ของ Hydrogen Peroxide เกิดจากการปลดปล่อยอนุมูลอิสระไฮดรอกซิล และทำปฏิกิริยากับเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นชั้นไขมัน โปรตีน และสารพันธุกรรมซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในของเชื้อโรคได้ ในกระบวการดังกล่าวจะอาศัยเอนไซม์คะตาเลส (Catalase Enzyme) ซึ่งอยู่ในเซลล์ต่างๆ ทำให้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์แตกตัวกลายเป็นน้ำ (H2O) และออกซิเจน (O2) เวลาใช้ทำความสะอาดแผลหรือเชื้อโรคจะเกิดเป็นฟอง เป็นสัญญาณว่ามีการปลดปล่อยออกซิเจนและไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์กำลังออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรคนั่นเอง

แต่ Hydrogen Peroxide ก็มีข้อจำกัดบางอย่างคือ ออกฤทธิ์ในช่วงเวลาอันสั้น และความความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อโรคจะขึ้นอยู่กับตัวแปร 3 อย่าง ดังนี้


  1. ชนิดของเชื้อโรค
  2. ความเข้มข้นของ Hydrogen Peroxide
  3. ระยะเวลาที่ใช้ในการสัมผัสกับ Hydrogen Peroxide

รูปแบบของ Hydrogen Peroxide

Hydrogen peroxide จะถูกนำมาใช้โดยผสมกับน้ำหรือของเหลวชนิดอื่น ผลิตเป็นของเหลว เจล น้ำยาบ้วนปาก หรือรูปแบบอื่นๆ Hydrogen peroxide นอกจากนี้ยังสามารถนำมาใช้เป็นสารกันเสีย (Preservative) น้ำยาฆ่าเชื้อบนผิวหนัง (Antiseptic) สารฆ่าเชื้อบนพื้นผิวอุปกรณ์และข้าวของเครื่องใช้ (Disinfectant) พ่นเป็นละอองฝอย (Fumigant)


Hydrogen Peroxide ราคาเท่าไหร่?

Hydrogen peroxide 3% สำหรับล้างแผลขนาด 450 ml ราคาขวดละ 40-80 บาท



ใช้ Hydrogen Peroxide ทำอะไรได้บ้าง?


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50


  • ใช้เป็นน้ำยาเช็ดล้างทำความสะอาดแผล เพื่อไม่ให้เกิดการระคายเคืองต่อผิว
  • ใช้เป็นสารฆ่าเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ อวัยวะเทียม
  • ใช้สำหรับฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ อย่างสปอร์ของเชื้อราในอุตสาหกรรมผักผลไม้ เนื้อสัตว์สด โดยนำมาผสมกับกรดแอซีติก (Acetic acid) และสารช่วยให้คงตัว เพื่อผลิตเป็นกรดเปอร์ออกซิแอซีติก (Peroxyacetic acid)
  • ใช้เพื่อการฆ่าเชื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์แปรรูปอาหาร และบรรจุภัณฑ์อาหาร (Packaging)
  • ใช้เป็นสารกันเสียใน นม น้ำผลไม้
  • ใช้เป็นน้ำยากลั้วปาก หรือเป็นส่วนผสมของน้ำยาบ้วนปาก
  • ใช้เป็นส่วนผสมในยาย้อมสีผมบางชนิด
  • ใช้ทำความสะอาดสิ่งของภายในบ้าน เช่น ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อฟองน้ำล้างจาน ทำความสะอาดกรรไกรตัดเล็บ ทำความสะอาดตู้เย็น ฯลฯ
  • ใช้เป็นสารทำความสะอาดแหล่งน้ำหรือสารดับกลิ่นในน้ำ
  • ใช้เป็นสารฟอกขาวในอุตสาหกรรม เช่น กระดาษ เส้นใยผ้า โฟมยาง และใช้เป็นส่วนผสมของเชื้อเพลิงจรวดได้อีกด้วย

วิธีใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์


ประโยชน์ ของไฮโดรเจน เปอร์ ออกไซด์ 50


  • ใช้ทำความสะอาดแผล: โดยจะต้องทำความสะอาดแผลก่อน แล้วค่อยใช้สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 1.5-3% ล้างแผล แต่มีข้อเสียคือรบกวนการสมานแผลและทำให้แผลหายช้าหรือมีรอยแผลเป็นได้
  • ใช้ทำความสะอาดในช่องปาก: ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สำหรับบ้วนปากความเข้มข้นไม่เกิน 3% ผสมกับน้ำอีกเท่าตัว ใช้อมในปากและบ้วนทิ้ง ห้ามกลืนเด็ดขาด
  • ใช้ฆ่าเชื้อโรคบนพื้นผิววัสดุต่างๆ: ด้วยสถานการณ์การระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัสต้นเหตุของโรคโควิด 19 ทำให้มีการนำสารละลาย Hydrogen Peroxide มาใช้ทำความสะอาดพื้นผิวต่างๆ ที่อาจเป็นจุดสะสมของเชื้อไวรัสและเชื้อโรคอื่นๆ
    วิธีการคือให้ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 0.5% จำนวน 1 ส่วน ต่อน้ำกลั่นสเตอร์ไรด์ 5 ส่วน เทผสมลงในภาชนะและคนให้เข้ากัน ก่อนจะนำไปใส่กระบอกฉีดที่มีสีขุ่นหรือทึบแสง แล้วนำไปฉีดในจุดที่ต้องการฆ่าเชื้อ ทั้งนี้ควรเตรียมใช้ทีละน้อยไม่เก็บไว้นาน เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อลดลง

ข้อควรระวังในการใช้ Hydrogen Peroxide


  • ใช้สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์อย่างระมัดระวัง เพราะหากสัมผัสโดนผิวหนังจะทำให้เกิดการระคายเคืองได้
  • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เป็นสารที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อและส่งผลให้แผลหายช้าลง จึงไม่ควรนำไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มาใช้กับบาดแผลลึกและมีการฉีกขาดเพราะจะทำให้เกิดก๊าซขึ้นในผิวหนังชั้นลึก (Subcutaneous)
  • ระมัดระวังไม่ให้สาร Hydrogen Peroxide เข้าตา หากสารเข้าตาให้ล้างตาโดยเปิดน้ำไหลผ่านประมาณ 15 นาทีแล้วรีบไปพบแพทย์ หากใส่คอนแทคเลนส์ให้ถอดออดก่อนล้างน้ำ
  • หากบังเอิญกลืนสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เข้าไป อย่าพยายามทำให้ตัวเองอ้วกออกมา แต่ให้ดื่มน้ำตามเข้าไปมากๆ แล้วรีบไปพบแพทย์

ผลข้างเคียงและอาการแพ้ Hydrogen Peroxide

อาการข้างเคียงจากการใช้ Hydrogen Peroxide เกิดขึ้นจากการรับสารเข้าจากหลายช่องทาง ได้แก่ สูดดม รับประทาน สัมผัสทางผิวหนังหรือดวงตา หากมีอาการต่างๆ เหล่านี้ไปรีบไปพบแพทย์


  • ผลต่อทางเดินหายใจ เช่น ระคายเคืองจมูก คอ เจ็บคอ ไอ แน่นหน้าอกหายใจผิดปกติ
  • ผลต่อทางเดินอาหารกรณีกลืนสารเคมี เช่น แสบคอ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
  • ผลต่อผิวหนังและดวงตา เช่น ตาแดง ตาพร่ามัว ผิวหนังแสบร้อน ไหม้
  • อาการแพ้ เช่น ผื่นแดง ผื่นคัน มีอาการบวมที่ใบหน้า ลิ้น คอ วิงเวียนศีรษะ หายใจลำบาก
  • อาการอื่นๆ เช่น เวียนหัว ปวดหัว ภาวะช็อก


การเก็บรักษา Hydrogen Peroxide


  • เนื่องจากสารชนิดนี้ไวต่อแสงและความร้อนจึงควรเก็บในภาชนะทึบแสง
  • เก็บในบริเวณที่แห้งและไม่ร้อน อุณหภูมิไม่เกิน 30 องศาเซลเซียส
  • เก็บห่างจากสารไวไฟ และเบสเข้มข้น

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับยา Hydrogen Peroxide


1. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์อันตรายไหม?

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีความอันตรายมากขึ้นตามความเข้มข้น หากสัมผัสโดนเยื่อบุต่างๆ จะทำให้ระคายเคือง ทั้งผิวหนัง ตา ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ควรระมัดระวังในการใช้งานโดยการสวมถุงมือ


2. ทำไมถึงไม่ควรใช้ Hydrogen Peroxide ล้างแผล?

สามารถใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ทำความสะอาดแผลขนาดเล็กได้ แต่สำหรับแผลลึกหรือแผลฉีกขาดขนาดใหญ่ไม่ควรใช้เพราะทำให้แผลสมานช้าเพราะมีฤทธิ์กัดกร่อนเนื้อเยื่อ และอาจทำให้มีก๊าซสะสมในชั้นผิวหนังลึกจากการแตกตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์


3. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ใช้บ้วนปากได้ไหม?

ใช้ได้ โดยใช้ Hydrogen Peroxide ความเข้มข้นไม่เกิน 3% สามารถใช้บ้วนปากเพื่อฆ่าเชื้อได้


4. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ใช้ล้างหูได้ไหม?

ใช้ได้ โดยการใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้นไม่เกิน 3% ช่วยละลายขี้หูได้ แต่มีข้อเสียคือ เมื่อสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์แตกตัวแล้วจะทำให้มีน้ำขังในหูมาก อาจนำไปสู่การติดเชื้อแบคทีเรียได้


5. สามารถใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ฆ่าเชื้อ COVID-19 ภายในครัวเรือนได้ไหม?

ใช้ได้ โดยการใช้สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 0.5% 1 ส่วน ผสมกับน้ำกลั่นสเตอร์ไรด์ 5 ส่วน คนให้เข้ากันแล้วใส่ในกระบอกฉีดทึบ นำไปฉีดตามพื้นผิวที่อาจมีอาการสะสมของเชื้อไวรัส เช่น ราวบันได ลิฟต์ ลูกบิดประตู



✅ ตรวจสอบข้อมูลโดย




แหล่งข้อมูล