ประเมินความน่าเชื่อถือและความทันสมัยของข้อมูล คือ

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

1. ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

1 ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)

2 มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)

3 ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)

4 สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)

5 เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)

6 ตรวจสอบได้ (Verifiability)

7 ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)

8 มีความทันสมัย เป็ นปัจจุบัน (Up to date)

4. การประเมินสารสนเทศ

ความหมายของการประเมินสารสนเทศ

คือ การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้นสามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประเด็น มีคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็นผลและมีเอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือเพียงใด

ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ

เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือในทางวิชาการ เป็นการพิจารณาคัดเลือกจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ ทั้งจากห้องสมุด อินเทอร์เน็ต เป็นต้น

พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่

เลือกเฉพาะรายการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เราศึกษา

พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศโดยพิจารณาว่าสารสนเทศนั้นได้มาจากแหล่งสารสนเทศใด

ประเมินความน่าเชื่อถือของผู้เขียน ผู้จัดทำสำนักพิมพ์โดยพิจารณาว่า ผู้เขียนมีคุณวุฒิความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ตรง หรือสอดคล้องกับเรื่องที่เขียนหรือไม่

ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศโดยพิจารณาว่า ทรัพยากรสารสนเทศหรือสารสนเทศนั้นๆเป็นรูปแบบใด

ประเมินความทันสมัยของสารสนเทศ

พิจารณาว่าเนื้อหาของสาระสนเทศอยู่ในระดับใด

สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information)

สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)

สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information)

5. การวิเคราะห์สารสนเทศ

ความหมายของการวิเคราะห์สารสนเทศ

หมายถึง กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญและสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออกเป็นกลุ่มย่อยๆ โดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันหรือที่ค้นได้จากคำสำคัญเดียวกันอยู่ด้วยกัน

กระบวนการของการวิเคราะห์สารสนเทศ

การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการประเมินแล้วว่าสามารถนำมาใช้งานได้จริงๆ

การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการประเมินแล้วว่า สามารถนำมาใช้งานได้จริงๆ

ทำการบันทึกเนื้อหาลงใน บัตรบันทึก

นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิดเพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงานต่อไป

ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ

อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง

พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆที่ต้องการจะศึกษา

บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ

แหล่งที่มาของข้อมูล เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ และเลขหน้าของแหล่งข้อมูล

เป็นการเขียนเรื่องราว ข้อความ ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่ได้รับจากการฟังการอ่านเพื่อเตือนความจำ หรือศึกษาค้นคว้า

คือ บัตรแข็งขนาด 5x8 หรือ 4x6 หรือกระดาษรายงาน A 4 พับครึ่งใช้บันทึกข้อมูลที่ ต้องการ ควรจดบันทึกเฉพาะตอนที่จะเกี่ยวข้องกับเนื้อหาตามโครงเรื่องที่กำหนดไว้

ส่วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้

หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า ลงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร

แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

วิธีการเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

แบบย่อความ (Summary Note) หรือสรุปความ

อ่านเอกสารในหัวเรื่องที่กำลังบันทึกให้ตลอดเสียก่อนเพื่อสำรวจเนื้อหาสาระ และแนวคิดของเรื่อง

วิเคราะห์เนื้อหา หรือเก็บประเด็น หรือสาระสำคัญหลักของหัวเรื่องให้ครบถ้วน

ประเด็นรองหรือรายละเอียดที่เป็นสาระที่สำคัญของแต่ละประเด็นให้รวบรวมและจัดให้ป็นระเบียบกะทัดรัดไว้ที่ประเด็นเน้นๆ

แบบคัดลอกข้อความ (Quotation Note)

เป็นคำจำกัดความ หรือความหมายของคำ

เป็นสูตร กฎ หรือระเบียบข้อบังคับ

เป็นข้อความซึ่งมีเนื้อหาสาระที่หนักแน่น กะทัดรัด ลุ่มลึก เฉียบคม และกินใจ

เป็นข้อความซึ่งเป็นคติเตือนใจ มีความงามและความไพเราะทางภาษา

แบบถอดความ (Paraphrase Note)

ต้นฉบับเป็นร้อยกรอง แต่ต้องการใช้เป็นร้อยแก้ว

ต้นฉบับเป็นภาษาที่ไม่แพร่หลายคุ้นเคย เช่น ภาษาบาลี ภาษาถิ่น
เป็ นต้น

ต้นฉบับเป็นภาษาต่างประเทศ

2. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

เปรียบเทียบแหล่งที่มาของสารสนเทศกับสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งอื่นๆว่าสอดคล้องหรือแตกต่างกัน

มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมหรือไม่

เป็นสารสนเทศปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ

การเขียน การสะกดคำถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

พิจารณาเนื้อหาว่ามีส่วนใดที่ทำให้เกิดความลำเอียง

ผู้แต่งใช้ข้อเท็จจริงสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นหรือไม่

2 พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ

มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม

มีคุณวุฒิและประสบการณ์ในเรื่องที่เขียนหรือไม่

มีผลงานเขียนที่เกี่ยวข้องกันในที่อื่นๆอีกหรือไม่

พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

ผู้จัดพิมพ์เป็นที่รู้จักกันดีในสาขาวิชานั้นหรือไม่

จัดพิมพ์จำนวนมากหรือน้อยเพียงใด

เป็นโรงพิมพ์ของมหาวิทยาลัยหรือไม่

ผู้จัดพิมพ์เป็นองค์กรหรือสมาคมมืออาชีพที่มีประสบการณ์หรือไม่

เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ หรือเป็นเพียงบทสรุป บทคัดย่อ สาระสังเขป

เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครอบคลุมหัวข้อเรื่อง หรทอสาขาวิชาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่

เป็นสารสนเทศให้ความรู้ในระดับใด

ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ให้ดูว่ามีการเชื่อมโยงรายละเอียดกับเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ หรือมีการทำคำอธิบายประกอบครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด

4 พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ

ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาอย่างไร เพื่อตอบโจทย์คำถามอะไร

ต้องการสารสนเทศจากแหล่งใด หรือรูปแบบใด

ต้องการใช้สารสนเทศไปทำอะไร

5 พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

สารสนเทศถูกจัดพิมพ์เผยแพร่เมื่อใด

สารสนเทศที่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาที่จัดพิมพ์ ให้พิจารณาถึงแหล่งที่มาอย่างรอบคอบว่าควรจะนำมาอ้างอิงหรือไม่

เป็นสารสนเทศที่ทันสมัย จัดพิมพ์เผยแพร่ใกล้เคียงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ให้ดูวันเวลาที่ปรับปรุงเว็บไซต์นั้นซึ่งมักจะอยู่ด้านล่างของเอกสาร

3. การเลือกใช้สารสนเทศ

การนำสารสนเทศที่ค้นคว้าได้ไปใช้เพื่อทำรายงานหรือบทนิพนธ์ ต้องผ่านกระบวนการ

การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)

การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)

6. การสังเคราะห์สารสนเทศ

การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน หรือแนวคิดเดียวกันไว้ด้วยกัน แล้วนำมาจัดกลุ่มอีกครั้ง ในลักษณะลำดับชั้น หรือรูปแบบของโครงร่าง (outline) ซึ่งจะทำให้เห็นความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูล แล้วรวบรวมหรือสรุปให้ได้ข้อมูล/เนื้อหาใหม่ ด้วยการใช้สำนวน ภาษาของตนเองที่มีความถูกต้อง ตลอดจนนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อแก้ไขปัญหา ตอบคำถามที่กำหนดไว้ หรือนำไปใช้ได้ตรงกับความต้องการ

กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ

จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน

นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อความสัมพันธ์ตามลำดับ

นำแนวคิดต่างๆ ที่เราได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มของแนวคิด มารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง

ประเมินโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่

กรณีไม่ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่

การเขียนโครงร่าง (Outline)

เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตของเรื่อง จัดลำดับหัวข้อให้มีความสัมพันธ์กัน และต่อเนื่องกัน
องค์ประกอบในการวางโครงร่างมี บทนำ เนื้อหา และบทสรุป

ปัจจุบันมีหลายทางเลือกที่ใช้ในการนำเสนอ เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญมากขึ้น เพราะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราสามารถนำเสนอความคิดและสารสนเทศผ่านรูปแบบต่างๆได้

การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด (Mind Map)

คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่างๆที่มีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัดๆเรียงจากบนลงล่าง ทำให้สามารถเห็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูลหรือความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่าใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ขั้นตอนการสร้าง Mind Map
1. เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ
2. เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบ ๆ
3. เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ
4. ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็ นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด
5. เขียนค าส าคัญ (Key word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน
6. กรณีใ่สีทั้งมโนทัศน์รองและย่อยควรเป็นสีเดียวกัน
7. คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำ