การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

การต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรม แบบขนาน

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

ดูเนื้อหานี้บน YOUTUBE

การต่อตัวต้านทาน

การต่อตัวต้านทาน  เป็นการนำตัวต้านทานหลายๆตัวมาต่อกันเป็นวงจร เพื่อให้ได้ค่าความต้านทานที่ต้องการและเหมาะสม เพื่อใช้ประโยชน์ต่อ ๆไป โดยการต่อตัวต้านทานจะมีประเภทหลักๆดังนี้

  1. การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม

การต่อตัวต้านแทนแบบอนุกรม คือ การเอาตัวต้านทานมาต่อกัน ในลักษณะ หางต่อหัวอีกตัว จะได้ลักษณะยาวเป็นขบวนรถไฟ

ความต้านทานรวมจะได้เป็นตามสมการ

Rรวม = R1 + R2 + … + Rn

Test !!  ใช้งาน เครื่องคิดเลขการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม คลิกที่นี 

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

สมบัติของการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม

  • กระแสไฟฟ้า (I) ที่ไหลผ่านตัวต้านทานทุกตัวนั้นเท่ากัน

กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานตัวที่ 1 = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานตัวที่ 2 = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานทุกตัว = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานรวม

I1 = I2 = … = It

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

  • ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม เท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ย่อย

ศักย์ไฟฟ้ารวม = ศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานตัวที่ 1 + ศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานตัวที่ 2 +ศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานทุกตัว

Vt = V1 + V2 + … + Vn

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

2. การต่อตัวต้านทานแบบขนาน

การต่อตัวต้านทานแบบขนานคือการนำตัวต้านทานมาต่อกันเป็นลักษณะหัวต่อหัว หางต่อหาง จะคล้ายกับการทับกันเป็นตึกหลายๆชั้น

ความต้านทานรวมจะได้เป็นตามสมการ

1/Rรวม = 1/R1+ 1/R2 + … + 1/Rn

Test !!  ใช้งาน เครื่องคิดเลขการต่อตัวต้านทานแบบขนาน คลิกที่นี 

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

สมบัติของการต่อตัวต้านทานแบบขนาน

ความต่างศักย์ ที่ตกคร่อมตัวต้านทานทุกตัวจะเท่ากัน

ศักย์ไฟฟ้ารวม = ศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานตัวที่ 1 = ศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานตัวที่ 2 = ศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานทุกตัว

Vt = V1 = V2 = … = Vn

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

  • กระแสไฟฟ้ารวมเท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าย่อย

กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานรวม = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานตัวที่ 1 + กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานตัวที่ 2 + กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานทุกตัว 

It = I1 + I2 + … +In 

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

การต่อตัวต้านทานแบบบริดจ์

เป็นการต่อตัวต้านทาน 5 ตัว ในรูปแบบพิเศษตามภาพด้านล่าง ซึ่งในการหาค่าตัวต้านทานรูปแบบนี้จะต้องใช้วิธีพิเศษในการหา

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

ถ้าการต่อตัวต้านทานในรูปแบบดังนั้น และ ผลคูณของตัวต้านทานด้านทแยงมุมกันเท่ากัน ตามสมการ

R1/R2 = R3/R4

จะสามารถสรุปได้ว่าไม่มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน R5 และสามารถตัดทิ้ง

ตัวอย่าง ตัวต้านทานสามตัว แต่ละตัวมีความต้านทาน 1 โอห์ม ถ้านำตัวต้านทานทั้งสามมาต่อกันแบบอนุกรม จะได้ความต้านทานสมมูลเท่าใดบ้าง

จากโจทย์เป็นการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมกันทั้งหมด 3 ตัวโดยสูตรการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม คือ

Rรวม = R1 + R2 + … + Rn

จะได้ว่า

Rรวม = 1 + 1 + 1 = 3Ω

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

ตัวอย่าง ตัวต้านทานสามตัว แต่ละตัวมีความต้านทาน 1 โอห์ม ถ้านำตัวต้านทานทั้งสามมาต่อกันแบบขนาน จะได้ความต้านทานสมมูลเท่าใดบ้าง

จากโจทย์เป็นการต่อตัวต้านทานแบบขนานกันทั้งหมด 3 ตัวโดยสูตรการต่อตัวต้านทานแบบขนานคือ

1/Rรวม = 1/R1+ 1/R2 + … + 1/Rn

จะได้ว่า 

1/Rรวม = 1/1+ 1/1  + 1/1 = 3/1

Rรวม = 1 / 3 Ω

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

ตัวอย่าง ตัวต้านทานสามตัว แต่ละตัวมีความต้านทาน 1 โอห์ม ถ้านำตัวต้านทานทั้งสามมาต่อกันแบบผสม จะได้ความต้านทานสมมูลเท่าใดบ้าง

จากโจทย์เป็นการต่อตัวต้านทานแบบผสมซึ่งจะเห็นว่ามีการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมกันทั้งหมด 2 ตัวด้านบน ให้เราคิดความต้านทานสมมูลของการต่ออนุกรมก่อนโดยสูตรการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม คือ

Rรวม = R1 + R2 + … + Rn

จะได้ว่า

Rรวม = 1 + 1  = 2 Ω

การต่อวงจรไฟฟ้า แบบ ใด ทำให้ ความต้านทานรวม มีค่า ลด ลง

จากนั้นเมื่อเราหาค่าตัวต้านทานสมมูลของตัวต้านทานแบบขนานแล้ว จะสามารถยุบเป็นตัวต้านทานขนาด 1/2 Ω ได้ จากนั้นเราจะเห็นว่าเป็นการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมกันทั้งหมด 2 ตัวโดยสูตรการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมคือ

ต่อวงจรไฟฟ้าแบบใดทำให้ความต้านทานรวมมีค่าลดลง

คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรขนาน 1. กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของวงจรรวมกัน 2. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด 3. ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัวที่น้อยที่สุดที่ต่ออยู่ในวงจร

การต่อวงจรไฟฟ้าแบบใดที่จะทำให้ความต้านทานรวมมีค่าเพิ่มขึ้น

การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม (Series Circuit) ทำได้โดย เชื่อมต่อหลอดไฟทุกดวงเข้ากับวงจรไฟฟ้าให้เป็นวงเดียวกัน โดยการต่อหลอดไฟแบบอนุกรมนี้ หลอดไฟแต่ละดวงที่เพิ่มเข้าไปจะทำให้ค่าความต้านทานไฟฟ้าของวงจรเพิ่มมากขึ้น ถ้าพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งกำเนิดมีไม่เพียงพอ หลอดไฟจะสว่างน้อยลงเรื่อย ๆ สวนทางกับจำนวนหลอดไฟที่เพิ่มเข้าไป และหากหลอด ...

ความต้านทานรวมของวงจรมีค่าเท่าไร

1. ค่าความต้านทานรวมของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน (Parallel Circuit ) มีค่าเท่ากับ ส่วนกลับของ ความต้านทานรวมของวงจร เท่ากับผลรวมของส่วนกลับของความต้านทานทุกตัวที่ต่ออยู่วงจรไฟฟ้าแบบ ขนาน 2.กระแสไฟฟ้ารวมในวงจร จะเท่ากับกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวรวมกัน IT = I1 + I2 + I3 +…………

ค่าความต้านทานรวม (R) ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม เท่ากับข้อใด

ตัวต้านทาน เมื่อต่ออนุกรมจะท าให้ กระแสไฟฟ้าไหลไปในทิศทางเดียวกันและ ไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัวด้วยค่าที่ เท่ากัน เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า จ่ายออกมา ค่าความต้านทานรวมของวงจร อนุกรมนั้นเท่ากับผลรวมของความต้านทานทุกตัว(R1+R2=RT) ลักษณะดังรูปที่ 2.1 วงจรอนุกรมตัวต้านทานแหล่งจ่ายไฟฟ้า V จะแบ่งออกไปที่ตัวต้านทาน ...