ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

มาตรา 269

ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนสองร้อยห้าสิบคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ โดยในการสรรหาและแต่งตั้งให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้

(1) ให้มีคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาคณะหนึ่งซึ่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ และมีความเป็นกลางทางการเมืองจำนวนไม่น้อยกว่าเก้าคนแต่ไม่เกินสิบสองคน มีหน้าที่ดำเนินการสรรหาบุคคลซึ่งสมควรเป็นสมาชิกวุฒิสภาตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้

(ก) ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา 107 จำนวนสองร้อยคนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา โดยให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จก่อนวันที่มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามมาตรา 268 ไม่น้อยกว่าสิบห้าวันแล้วนำรายชื่อเสนอต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติ

(ข) ให้คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา คัดเลือกบุคคลผู้มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมในอันจะเป็นประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าที่ของวุฒิสภาและการปฏิรูปประเทศมีจำนวนไม่เกินสี่ร้อยคน ตามวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภากำหนดแล้วนำรายชื่อเสนอต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ทั้งนี้ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จไม่ช้ากว่าระยะเวลาที่กำหนดตาม (ก)

(ค) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติคัดเลือกผู้ได้รับเลือกตาม (ก) จากบัญชีรายชื่อที่ได้รับจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง ให้ได้จำนวนห้าสิบคน และคัดเลือกรายชื่อสำรองจำนวนห้าสิบคนโดยการคัดเลือกดังกล่าวให้คำนึงถึงบุคคลจากกลุ่มต่าง ๆ อย่างทั่วถึง และให้คัดเลือกบุคคลจากบัญชีรายชื่อที่ได้รับการสรรหาตาม (ข) ให้ได้จำนวนหนึ่งร้อยเก้าสิบสี่คนรวมกับผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นสองร้อยห้าสิบคน และคัดเลือกรายชื่อสำรองจากบัญชีรายชื่อที่ได้รับการสรรหาตาม (ข) จำนวนห้าสิบคน ทั้งนี้ ให้แล้วเสร็จภายในสามวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามมาตรา 268

(๒) มิให้นำความในมาตรา 108 ข. ลักษณะต้องห้าม (6) ในส่วนที่เกี่ยวกับการเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีมาใช้บังคับแก่ผู้ดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาซึ่งได้รับสรรหาตาม (1) (ข) และมิให้นำความในมาตรา 108 ข. ลักษณะต้องห้าม (2) มาตรา 184 (1) และมาตรา 185 มาใช้บังคับแก่ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาโดยตำแหน่ง

(3) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาตินำรายชื่อบุคคลซึ่งได้รับการคัดเลือกตาม (1) (ค) จำนวนสองร้อยห้าสิบคนดังกล่าวขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไป และให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

(4) อายุของวุฒิสภาตามมาตรานี้มีกำหนดห้าปีนับแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาเริ่มตั้งแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ถ้ามีตำแหน่งว่างลง ให้เลื่อนรายชื่อบุคคลตามลำดับในบัญชีสำรองตาม (1) (ค) ขึ้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาแทน โดยให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ดำเนินการและเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรับสมาชิกวุฒิสภาโดยตำแหน่งเมื่อพ้นจากตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในขณะได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาก็ให้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาด้วย และให้ดำเนินการเพื่อแต่งตั้งให้ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาโดยตำแหน่งแทน ให้สมาชิกวุฒิสภาที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทนตำแหน่งที่ว่าง อยู่ในตำแหน่งเท่าอายุของวุฒิสภาที่เหลืออยู่

(5) ในระหว่างที่ยังไม่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งบุคคลในบัญชีรายชื่อสำรองขึ้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาแทนตำแหน่งที่ว่างตาม (4) หรือเป็นกรณีที่ไม่มีรายชื่อบุคคลเหลืออยู่ในบัญชีสำรอง หรือไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งที่เป็นสมาชิกวุฒิสภาโดยตำแหน่ง ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาเท่าที่มีอยู่

(6) เมื่ออายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลงตาม (4) ให้ดำเนินการเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา 107 ต่อไป และให้นำความในมาตรา 109 วรรคสามมาใช้บังคับโดยอนุโลม

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก

วุฒิสภาแห่งราชอาณาจักรไทย

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน
ประเภท
ประเภท

สภาสูง

เป็นส่วนหนึ่งของรัฐสภาไทย

ผู้บริหาร

ประธาน

พรเพชร วิชิตชลชัย[1]
ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2562

รองประธานคนที่ 1

พล.อ.สิงห์ศึก สิงห์ไพร
ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2562

รองประธานคนที่ 2

ศุภชัย สมเจริญ
ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2562

โครงสร้าง
สมาชิก250
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

กลุ่มการเมือง

     แต่งตั้ง (250)
การเลือกตั้ง

ระบบการเลือกตั้ง

แต่งตั้ง

การเลือกตั้งครั้งล่าสุด

11 พฤษภาคม 2562[2]
ที่ประชุม
ห้องประชุมใหญ่พระจันทรา [3]อาคารรัฐสภา (เกียกกาย) ชั้น ๒ ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร[4]
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความว่าด้วย
การเมืองไทย
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

รัฐธรรมนูญ

  • รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
  • กฎหมาย

พระมหากษัตริย์

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

พระมหากษัตริย์

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

รัชทายาท


  • ราชวงศ์จักรี
  • การสืบราชสันตติวงศ์ของไทย
  • คณะองคมนตรี

ฝ่ายบริหาร

รัฐบาล


ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

นายกรัฐมนตรี

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

  • คณะรัฐมนตรี
    • คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 62
  • กระทรวง
  • องค์กรตามรัฐธรรมนูญ

ฝ่ายนิติบัญญัติ

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

รัฐสภา
ประธานรัฐสภา

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน


วุฒิสภา (ชุดปัจจุบัน)

  • พรเพชร วิชิตชลชัย
    • ประธานวุฒิสภา

สภาผู้แทนราษฎร (ชุดปัจจุบัน)

  • ชวน หลีกภัย
    • ประธานสภาผู้แทนราษฎร
  • ชลน่าน ศรีแก้ว
    • ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

  • พระราชบัญญัติ

ฝ่ายตุลาการ

ศาลฎีกา

  • ประธาน
    • โชติวัฒน์ เหลืองประเสริฐ

ศาลปกครองสูงสุด

  • ประธาน
    • วรพจน์ วิศรุตพิชญ์

ศาลรัฐธรรมนูญ

  • ประธาน
    • วรวิทย์ กังศศิเทียม

  • ศาลไทย

การเลือกตั้ง

  • การเลือกตั้งที่ผ่านมา
    • วุฒิสภา: พ.ศ. 2557
    • สภาผู้แทนราษฎร: พ.ศ. 2562
  • พรรคการเมือง
  • พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560

การแบ่งเขตการปกครอง

  • การปกครองส่วนภูมิภาค
    • จังหวัด
  • การปกครองส่วนท้องถิ่น
    • องค์การบริหารส่วนจังหวัด
    • เทศบาล
    • องค์การบริหารส่วนตำบล
    • กรุงเทพมหานคร
      • ผู้ว่าราชการ
      • สภา
    • เมืองพัทยา
      • นายก

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

  • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • อาเซียน

ปัญหาที่เกี่ยวข้อง

  • ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้
  • ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย
  • รัฐประหาร พ.ศ. 2557

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน
สถานีย่อยประเทศไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง ตามรัฐธรรมนูญปี 2560 วุฒิสภามีวาระคราวละ 5 ปี ใช้ห้องประชุมวุฒิสภา ณ สัปปายะสภาสถาน เป็นที่ประชุม

วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2489 สมาชิกวุฒิสภาส่วนใหญ่มาจากการแต่งตั้งทั้งหมด หรือผสมระหว่างแต่งตั้งกับเลือกตั้ง มีเพียงวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 และ พ.ศ. 2540 เท่านั้นที่มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด และมีบางช่วงที่ไม่มีวุฒิสภา

ยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง[แก้]

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

ยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งทั้งหมดและยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งผสมกับการสรรหา[แก้]

วุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540[แก้]

วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้งจำนวน 200 คน ตามวิธีแบ่งเขตเลือกตั้ง โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง มีหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2541 มีกำหนดวาระคราวละ 6 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง

สมาชิกวุฒิสภาย่อมเป็นผู้แทนของปวงชนชาวไทยเช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของปวงชนชาวไทย

วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ในการกลั่นกรองกฎหมาย ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาโดยไม่มีการลงมติ และมีหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ

นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช 2540) ยังได้บัญญัติให้วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่โดยเฉพาะอีกหลายประการ คือ การพิจารณาเลือก แต่งตั้ง ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ

  1. การสรรหาและการเลือกประธานกรรมการและกรรมการการเลือกตั้ง
  2. ถวายคำแนะนำต่อพระมหากษัตริย์ในการแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา และการแต่งตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
  3. การสรรหาและการเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และถวายคำแนะนำต่อพระมหากษัตริย์ เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
  4. เลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 2 คน ซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการตุลาการ เป็นกรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
  5. ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์และผู้ทรงคุณวุฒิในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทั้งหมดและให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งประธานศาลปกครองสูงสุด และเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน ในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง
  6. ถวายคำแนะนำต่อพระมหากษัตริย์ในการแต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และการแต่งตั้งเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
  7. ถวายคำแนะนำต่อพระมหากษัตริย์ในการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน

นอกจากนี้ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด หรืออัยการสูงสุด รวมทั้งกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ผู้มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปรกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้.

วุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560[แก้]

มาตรา 269 ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 250 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามที่ถวายคำแนะนำ มาตรา 270 นอกจากจะมีหน้าที่และอำนาจตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว ให้วุฒิสภาตามมาตรา 269 มีหน้าที่และอำนาจติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ในการนี้ ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศต่อรัฐสภาเพื่อทราบทุกสามเดือน

ลำดับชุดวุฒิสภา[แก้]

ชุดที่ จำนวนสมาชิก ระยะการดำรงตำแหน่ง การสิ้นสุดสมาชิกสภาพ รัฐธรรมนูญ หมายเหตุ
(แต่งตั้ง/เลือกตั้ง/สรรหา)
180 24 พฤษภาคม 2489 – 8 พฤศจิกายน 2490 รัฐประหาร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
2301 18 พฤศจิกายน 2490 – 29 พฤศจิกายน 2494 ยึดอำนาจ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
3120 4 กรกฎาคม 2511 – 17 พฤศจิกายน 2514 คณะปฏิวัติประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 (ฉบับที่ 3) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
4100 26 มกราคม 2518 – 6 ตุลาคม 2519 ยุบสภาตามประกาศของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
5225 22 เมษายน 2522 – 23 กุมภาพันธ์ 2534 รัฐประหาร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 ในวาระเริ่มแรกให้จับสลากออก 1 ใน 3 เมื่อครบ 2 ปีแรก และอีก 2 ปีถัดมาให้จับสลากออกกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่เหลือจากการถูกจับสลากออกคราวแรก
  • จับสลากออก 17 เมษายน 2524 และแต่งตั้งเพิ่มเติม 22 เมษายนของปีเดียวกัน
  • จับสลากออก 15 เมษายน 2526 และแต่งตั้งเพิ่มเติม 22 เมษายนของปีเดียวกัน
  • สมาชิกครบวาระ 6 ปี วันที่ 22 เมษายน 2528 และแต่งตั้งเพิ่มเติมในวันเดียวกัน
  • แต่งตั้งสมาชิกเพิ่มเติมตามจำนวน ส.ส.ที่เพิ่มขึ้น 28 กรกฎาคม 2529
  • สมาชิกครบวาระ 6 ปี วันที่ 22 เมษายน 2530
  • แต่งตั้งสมาชิกเพิ่มเติมตามจำนวน ส.ส.ที่เพิ่มขึ้น 25 กรกฎาคม 2531
  • สมาชิกครบวาระ 6 ปี วันที่ 22 เมษายน 2532
6270 22 มีนาคม 2535 – 22 มีนาคม 2539[5] ครบวาระ 4 ปี ตามมาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
7260 22 มีนาคม 2539 – 21 มีนาคม 2543 ครบวาระ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2535 (พ.ศ. 2538)
8200 22 มีนาคม 2543 – 21 มีนาคม 2549 ครบวาระ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เลือกตั้ง 2543 ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ได้มาจากการเลือกตั้ง สว. โดยตรง เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543
9200 19 เมษายน 2549 – 19 กันยายน 2549 รัฐประหาร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เลือกตั้ง 2549
10150 2 มีนาคม 2551 – 1 มีนาคม 2557 ครบวาระ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เลือกตั้ง 2551
11150 30 มีนาคม 2557 – 24 พฤษภาคม 2557 รัฐประหาร/ รัฐสภา วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบเลิก
(ประกาศ คสช. ฉบับที่ 30/2557)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เลือกตั้ง 2557
12250 11 พฤษภาคม 2562 - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 คัดเลือก 2561-2562

อ้างอิง[แก้]

  1. ประกาศแต่งตั้งประธานและรองประธานวุฒิสภา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๐ ง หน้า ๒ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒
  2. ประกาศแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง หน้า ๑-๙ วันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒
  3. เปิดห้องประชุมสุริยัน-จันทรา พาชม “สัปปายะสภาสถาน” ก่อนใช้งานจริง ส.ค.นี้
  4. ประกาศรัฐสภา เรื่อง กำหนดสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา เป็นการชั่วคราว
  5. รายชื่อสมาชิกวุฒิสภา ชุดที่ 6

ดูเพิ่ม[แก้]

  • วุฒิสภา
  • รายนามประธานวุฒิสภาไทย
  • สภาผู้แทนราษฎรไทย
  • สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • เว็บไซต์วุฒิสภาไทย เก็บถาวร 2015-02-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป และการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไทย

แบบเลือกตั้ง

  • 2543
  • 2549
  • 2551
  • 2557

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

แบบสรรหา

  • 2551
  • 2554
  • 2561-2562

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน
บทความเกี่ยวกับประเทศไทย

ประวัติศาสตร์
แบ่งตามเวลา

  • ประวัติศาสตร์ช่วงต้น
  • อาณาจักรสุโขทัย
  • อาณาจักรอยุธยา
  • อาณาจักรธนบุรี
  • อาณาจักรรัตนโกสินทร์
  • การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475
  • พ.ศ. 2475–2516
  • พ.ศ. 2516–2544
  • หลัง พ.ศ. 2544

แบ่งตามหัวข้อ

  • สงคราม
  • ศักดินา
  • หน่วยเงิน
  • หัวเมือง
  • มณฑลเทศาภิบาล
  • แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม
  • อุทยานประวัติศาสตร์

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน

ภูมิศาสตร์

  • ภูมิภาค
    • เหนือ
    • ตะวันออกเฉียงเหนือ
    • กลาง
    • ตะวันออก
    • ตะวันตก
    • ใต้
  • เส้นแบ่งเขตแดน
  • ทรัพยากรธรรมชาติ
  • ปัญหาสิ่งแวดล้อม
  • ภูมิอากาศ
  • แม่น้ำ
  • น้ำตก
  • เกาะ
  • กลุ่มรอยเลื่อน
  • แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ
  • พื้นที่สงวนชีวมณฑลโลก
  • อุทยานธรณีโลก
  • อุทยานแห่งชาติ

การเมือง

  • การเลือกตั้ง
  • เขตการปกครอง
    • จังหวัด
    • เทศบาล
  • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • พรรคการเมือง
  • พระมหากษัตริย์
    • รายพระนาม

รัฐบาล

  • กฎหมาย
  • รัฐธรรมนูญ
    • ฉบับปัจจุบัน
  • รัฐสภา
    • สภาผู้แทนราษฎร
    • วุฒิสภา
  • นายกรัฐมนตรี
    • รายชื่อ
  • คณะรัฐมนตรี
    • ชุดปัจจุบัน
  • กระทรวง
  • ราชการส่วนกลาง
  • ราชการส่วนภูมิภาค
  • ราชการส่วนท้องถิ่น
  • ข้าราชการ
  • องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
  • ศาล
  • กองทัพ
    • กองทัพบก
    • กองทัพเรือ
    • กองทัพอากาศ
  • ตำรวจ

เศรษฐกิจ

  • เงินบาท
  • ธนาคาร (ธนาคารกลาง)
  • งบประมาณแผ่นดิน
  • เกษตรกรรม
  • การขนส่ง
  • การท่องเที่ยว
  • พลังงาน
  • การว่างงาน
  • ตลาดหลักทรัพย์
  • โทรคมนาคม
  • บริษัทมหาชน
  • ภาษีอากร
  • รัฐวิสาหกิจ
  • ค่าจ้างขั้นต่ำ
  • วิดีโอเกม

สังคม

  • การศึกษา
  • กีฬา
  • เชื้อชาติไทย
  • ภาษา
    • ไทยกลาง
    • ไทยถิ่นอีสาน
    • ไทยถิ่นเหนือ
    • ไทยถิ่นใต้
  • ประชากรศาสตร์
  • ศาสนา
    • พุทธ
    • อิสลาม
    • คริสต์
    • ฮินดู
    • ซิกข์
  • สตรี
    • การทำแท้ง
  • สาธารณสุข
    • บริการสุขภาพ
    • โรงพยาบาล
    • การแพทย์แผนไทย
  • โทรทัศน์
  • ภัยพิบัติ

วัฒนธรรม

  • ศิลปะ
  • จิตรกรรม
  • ประติมากรรม
  • สถาปัตยกรรม
  • ดนตรี
    • เพลง
  • นาฏศิลป์
  • การไหว้
  • สีประจำวัน
  • ภาพยนตร์
  • ละครโทรทัศน์
  • การ์ตูน
  • วรรณกรรม
    • วรรณคดี
  • การละเล่นพื้นเมือง
    • การละเล่นเด็ก
  • ผี
  • อาหาร
    • ขนม
  • ชื่อบุคคล
  • การแต่งงาน
  • เรือ
  • หน่วย
  • วันสำคัญ
  • เวลา
    • ปฏิทิน
  • สัญลักษณ์ประจำชาติ
    • ตราแผ่นดิน
    • ธงชาติ
    • เพลงชาติ
  • ความเป็นไทย

ประเด็น

  • การเกณฑ์ทหาร
  • คตินิยมเชื้อชาติ
  • การแผลงเป็นไทย
  • ลัทธิข้อยกเว้นไทย
  • ความรู้สึกต่อต้านไทย
  • การตรวจพิจารณา
  • โทษประหารชีวิต
  • สิทธิมนุษยชน
    • กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
  • อาชญากรรม
    • กบฏ
    • การก่อการร้าย
    • การสังหารหมู่
    • การค้าประเวณี
    • การค้าหญิงและเด็ก
    • การฉ้อราษฎร์บังหลวง
    • การพนัน
    • การเพิ่มจำนวนอาวุธปืน
    • ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์
  • รัฐประหาร

  • ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน
    หมวดหมู่
  • ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน
    สถานีย่อย
  • ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากี่คน
    โครงการวิกิ