ข้อ ใด ไม่ใช่ หน้าที่ ทางการ บริหาร ที่ เรียก ว่า poccc ตาม แนวคิด ของ ฟา โย ล

เครื่องมือการบริหารจัดการสถานศึกษาสมัยใหม่
ทฤษฎีการบริหารจัดการ POCCC

เสนอ
ดร.เชาวนี แกว้ มโน

จัดทาโดย
นางสาวสรอ้ ยสนุ ีย์ รามปลอด

รหัสนักศึกษา 6419050007

รายวิชา หลกั การและทฤษฎีการบริหารการศึกษา
รหสั วิชา 905-502

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั หาดใหญ่

คานา

การบริหารการศึกษา เปน็ กิจกรรมต่างๆ ที่บคุ คลหลายคนร่วมกันดาเนินการ เพื่อพฒั นาสมาชิก
ของสังคมในทุกๆ ด้าน นับแต่ บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ เจตคติ พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มี
ค่านิยมตรงกันกับความต้องการของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคุมสิ่งแวดล้อมให้มีผลต่อ
บุคคล และอาศัยทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่างๆอย่างเหมาะสม เพื่อให้บุคคลพัฒนาไปตรงตามเป้าหมาย
ของสงั คมที่ตนดาเนินชีวิตอยู่

เครื่องมือการบริหารจัดการสถานศึกษาจึงมีความสาคัญในการนามาจัดกระบวนการบริหาร
สถานศึกษา เพื่อนาสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายความสาเร็จที่ต้องการ ผู้จัดทาจึงขอรวบรวมข้อมูล ทฤษฎี
POCCC และหน้าที่ทางด้านการจัดการ (Management Function)หลักในการบริหารจัดการ (Principles of
Management) ตามแนวคิดของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) และ ประโยชน์ของทฤษฎี POCCC และหลักการ
จดั การของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) ซึ่งเป็นเครื่องมือการบริหารจัดการสถานศึกษาสมัยใหม่

ผ้จู ดั ทาหวงั เปน็ อย่างยิง่ ว่าจะเป็นประโยชน์ในการนามาใช้เป็นแนวทางในการบริหารสถานศึกษา
ต่อไป

สารบญั

เร่อื ง หนา้
คานา
สารบญั 4
แนวคิด/ทฤษฎีการบริหารการศกึ ษา 11
20
ทฤษฎี POCCC และหน้าทีท่ างด้านการจดั การ (Management Function) 21
P – Planning : การวางแผน 22
O – Organizing : การจดั องคก์ ร 23
C – Commanding : การบังคบั บญั ชาสงั่ การ 24
C – Coordination : การประสานงาน 25
C – Controlling : การควบคมุ 40
หลักในการบริหารจัดการ (Principles of Management) ตามแนวคิดของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) 42
ประโยชน์ของทฤษฎี POCCC และหลักการจัดการของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) 43
บทสรุป
บรรณานกุ รม

แนวคิด/ทฤษฎีการบริหารการศึกษา

การบริหารการศึกษา” หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลหลายคน
ร่วมกันดาเนินการ เพื่อพัฒนาสมาชิกของสงั คมในทุกๆ ด้าน นับแต่ บุคลิกภาพ
ความรู้ ความสามารถ เจตคติ พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มีค่านิยมตรงกันกับ
ความต้องการของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคมุ สิ่งแวดล้อมให้มี
ผลต่อบุคคล และอาศัยทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม
เพื่อให้บุคคลพัฒนาไปตรงตามเป้าหมายของสังคมที่ตนดาเนินชีวิตอยู่(ภาวิดา
ธาราศรีสทุ ธิ, 2542: 6)

ปัจจยั สาคญั การบริหารทีส่ าคญั มี 4 อยา่ ง ที่เรียกว่า 4Ms

เรียกว่า 4Ms ได้แก่
1. คน (Man)
2 เงิน (Money)
3. วัสดสุ ิ่งของ(Materials)
4. การจัดการ (Management)

การแบง่ กลุ่มทฤษฎีและแนวคิดของการบริหารจัดการ

ทฤษฎีและแนวคิดของการบริหารจดั การน้นั มี 3 กล่มุ ใหญ่ๆ กค็ ือ

1.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบด้งั เดิม (Classical Theory)
2.ทฤษฎีและแนวความคิดด้งั เดิมแบบสมยั ใหม่ (Neo – Classical Theory of
Organization)
3.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบสมัยปัจจบุ ัน (Modern Theory ofOrganization)
ซึง่ ท้งั หมดพัฒนาตามยคุ สมัยที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ทว่าทฤษฎีทุกยุคกย็ ังคง
นิยมใช้มาจนถึงปัจจบุ ัน

1.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบดง้ั เดิม (Classical Theory)

โดยทฤษฎีและแนวความคิดในกล่มุ น้ีอาจแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะดงั นี้
1.1 แนวความคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

นักทฤษฎีและแนวความคิดที่โดดเด่น
Frederic Winslow Taylor (เฟรเดอริค วินสโลว์ เทย์เลอร์) : “บิดาแห่งการจดั การแบบ

วิทยาศาสตร์ (Principle of Scientific Management)”
Max Weber (แมก็ ซ์ เวเบอร์) : ผ้ทู ีไ่ ด้รับการยกย่องว่าเปน็ เจ้าตารับระบบราชการ

(Bureaucracy)
1.2 แนวความคิดการจดั การแบบหลกั การบริหาร (Administrative Management)
นกั ทฤษฎีและแนวความคิดทีโ่ ดดเด่น

Lyndall Urwick & Luther Gulick : เรือ่ งทฤษฎีองค์กรและกระบวนการบริหารงาน
POSDCoRB

2.ทฤษฎีและแนวความคิดดง้ั เดิมแบบสมัยใหม่
(Neo – Classical Theory of Organization)

2.1 แนวความคิดการจัดการแบบมนษุ ย์สมั พันธ์ (Human Relation)
นักทฤษฎีและแนวความคิดทีโ่ ดดเด่น
Abraham H. Maslow : แนวความคิดในเรื่องมนษุ ย์สมั พันธ์
Hugo Münsterberg :นกั จิตวิทยาชาวเยอรมนั -อเมริกนั ที่เป็นหนึง่ ในผ้บู กุ เบิกด้านจิตวิทยา

ประยุกต์
Elton Mayo :นักสงั คมวิทยาแห่งฝ่ายวิจยั ด้านอุตสาหกรรมของฮาร์วาร์ด (The Department of

Industrial Research at Harvard) ที่ได้รับยกย่องว่าเปน็ “บิดาแห่งการจัดการแบบมนษุ ยสัมพนั ธ์”

3.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบสมยั ปจั จุบัน
(Modern Theory of Organization)

นักทฤษฎีและแนวความคิดที่โดดเดน่
Henri Fayol : ถึงแม้ว่าเขาจะเปน็ นักทฤษฎียคุ เดียวกันกับ Frederick Winslow Taylor บิดาแห่ง

แนวความคิดการจดั การแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
Edwards Deming : หนึง่ ในนกั ทฤษฎีการจัดการยุคต้นของการบริหารสมัยใหม่ทีไ่ ด้รับการ

ยอมรบั ไปทัว่ โลก ทฤษฎีที่โดดเด่นที่สุดน้นั เห็นจะเปน็ Shewhart Cycle ที่พูดถึงระบบการบริหารงานแบบ PDSA
หรือ Plan-Do-Study-Act

Clayton Magleby Christensen :นักวิชาการและทีป่ รึกษาธรุ กิจผู้โด่งดัง รวมไปถึงเปน็
ศาสตราจารย์ที่ Harvard Business School ของ Harvard University

William Ouchi :ศาสตราจารย์แห่ง UCLA ที่เป็นเจ้าตารบั Theory Z
W. Chan Kim : หนึ่งในนักทฤษฎีชาวตะวนั ออกทีม่ ีอิทธิพลต่อการบริหารงานแบบตะวนั ตกและ
ท่ัวโลกน้นั ก็คือนักทฤษฎีการบริหารชาวเกาหลีผ้นู ี้ซึ่งผลงานทีโ่ ด่งดงั ทีส่ ดุ น้นั ก็คือ Blue Ocean Strategy
Franklin D. Roosevelt (FDR) : อดีตประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกาทีเ่ ก่งเรือ่ งการ
บริหารจดั การเปน็ อย่างมาก การบริหารของเขาที่โด่งดงั ก็คือนโยบาย New Deal ที่คิดค้นขึ้นเพือ่ แก้ปญั หาวิกฤติ
เศรษฐกิจ The Great Depression

ทฤษฎีการบริหารจดั การ POCCC

หลกั การจดั การองคก์ รสู่
ความสาเรจ็ ตามแนวคิดของ

Henri Fayol

POCCC

•P – Planning : การวางแผน

•O – Organizing : การจดั องคก์ ร

•C – Commanding : การบงั คบั บัญชาหรือสัง่ การ

•C – Coordinating : การประสานงาน

•C – Controlling : การควบคุม

ประเดน็ สาคญั

• ทฤษฎีบริหารจัดการ POCCC นั้นเน้นการบริหารจัดการรอบด้านและ
ครอบคลุม ต้งั แต่การวางแผน, การปฎิบตั ิการ, การจัดโครงสร้างองค์กร
ไปจนถึงการควบคมุ การทางานให้เปน็ ไปตามมาตรฐานทีว่ างไว้

• ข้อดีของหลกั การการบริหารจัดการของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) น้ัน ก็
คือการใส่ใจรอบด้าน ครอบคลุม ให้ความสาคญั ทุกรายละเอียดท้ังในเรื่อง
ของทรพั ยากรการผลิต, ทรพั ยากรในการประกอบธุรกจิ ไปจนถึง
ทรัพยากรมนษุ ย์

• หวั ใจสาคญั ที่หลกั การบรหิ ารจัดการของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) เน้น
ย้าอย่เู สมอก็คือ “ความเปน็ เอกภาพ (Unity)” ต้ังแต่การมีจดุ ม่งุ หมาย
ร่วมกนั มีทิศทางเดียวกนั ไปจนถึงมีความสามคั คีกันมุ่งไปส่คู วามสาเรจ็

หนึ่งในแนวคิดทฤษฎีการบริหารจดั การ (Management Theory) ที่เกิดข้ึนใน
อดีตและได้รับความนิยมมาจนถึงยุคปัจจุบันนั้นก็คือทฤษฎีที่เรียกว่า POCCC ซึ่ง
ผู้ให้กาเนิดทฤษฎีน้ีก็คือ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) วิศวกรเหมืองแร่และ
นกั วิชาการชาวฝรงั่ เศษที่มีชือ่ เสียง โดยเขาได้สรุปหลกั ทฤษฎีไว้ว่า หากวันหนึง่ คุณ
ต้องอยู่ในสภาวะที่ต้องใช้คนจานวนมากๆ ในการทางานแล้วละก็ หัวใจของการ
บริหารจัดการเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมายน้ันมีองค์ประกอบ 5 ปัจจัย

ด้วยกนั ซึ่งน่นั เป็นทีม่ าของทฤษฎี POCCC น่นั เอง

ประวตั ิโดยย่อของอองริ ฟาโย (Henri Fayol)

อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) (ค.ศ.1841–1925) เป็นชาวฝรั่งเศสที่ทางานด้านวิศวกร
เป็นสายอาชีพหลัก เมื่ออายุ 19 ปี เขาได้เข้าทางานเป็นวิศวกรให้กับบริษัทเหมืองแร่ Compagnie
de Commentry-Fourchambault-Decazeville ซึ่งเป็นบริษัทขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในฝรั่งเศส สถานะ
ของบริษัทตอนนั้นอยู่ในข้ันเกือบจะล้มละลาย แต่หลังจากที่เขาได้เข้าไปร่วมงานนั้นทาให้เขาได้มี
โอกาสร่วมพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่างๆ จนดึงให้บริษัทพ้นจากภาวะล้มละลาย และกลับมา
ประสบความสาเรจ็ อย่างสูงในธรุ กิจอีกคร้งั ภายในระยะเวลาไม่กี่ปี

ประวตั ิโดยย่อของอองริ ฟาโย (Henri Fayol)

ในส่วนของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) ก็ได้รับการชื่นชมและมอบความไว้วางใจให้เขา
ขึ้นเป็นผู้อานวยการของบริษัทแห่งน้ีด้วย ณ ตอนนั้นเขาต้องดูแลพนักงานถึง 1,000 คน ซึ่งนับว่า
เป็นองค์กรที่มีขนาดใหญ่มากในยุคนั้น ในขณะที่บริหารองค์กรอยู่เขาได้พัฒนาหลักการการ
ทางาน ตลอดจนหลักการบริหารขึ้นมา และสรุปได้เป็น หลักการ 14 ประการ เพื่อเป็นทิศทางให้
ผ้บู ริหารตลอดจนองค์กรใช้ยึดถือเป็นแนวทางปฎิบัติ

ประวตั ิโดยย่อของอองริ ฟาโย (Henri Fayol)

ในปี ค.ศ.1916 ช่วงสองปีก่อนที่เขาจะก้าวลงจากตาแหน่งผู้อานวยการนั้น เขาได้นาเอา
หลักการบริหาร 14 ประการน้ี ตีพิมพ์ลงในหนังสือที่ชื่อว่า “Administration Industrielle et
Generale ; prévoyance, organisation, commandement, coordination, controle.” เพื่อเผยแพร่
หลักการดังกล่าว นอกจากน้ีเขาก็ยังได้เขียน หน้าที่ 5 ประการทางการบริหาร (POCCC) เพื่อใช้
ควบคู่กับหลกั การบริหารทั้ง 14 ประการน้ีด้วย และท้ังหน้าที่และหลักการที่เขาบัญญตั ิขึ้นน้ันก็ได้
ถูกนาไปใช้อย่างแพร่หลายจนประสบความสาเร็จ และกลายมาเป็นหนึ่งในแนวคิดทฤษฎีการ
บริหารจัดการ (Management Theory) ที่ได้รับการยกย่อง แล้วก็ยังได้รับความนิยมสาหรับการ
บริหารองค์กรมาถึงปัจจบุ นั ด้วย

ทฤษฎี POCCC และหนา้ ที่ทางดา้ นการจัดการ
(Management Function)

ทฤษฎี POCCC น้นั มาจากหน้าที่ 5 ประการ
ที่ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) กาหนดข้ึนสาหรับการบริหาร
จัดการองค์กร ในแต่ละหน้าที่น้ันต่างก็มีความสาคัญใน
ตัวเอง ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงและส่งผลในกันและกัน
เพื่อให้การทางานสมบูรณ์และประสบความสาเร็จอีกด้วย
โดยรายละเอียดของหน้าที่ท้งั 5 ประการ น้นั มีดงั นี้

P – Planning : การวางแผน

การกาหนดแผนปฎิบัติการหรือวิถีทางที่จะปฎิบัติงานไว้ตั้งแต่ต้นจนจบ ให้ครอบคลุมทุกกระบวนการ
เป็นแนวทางที่วางไว้สาหรับการทางานในอนาคต ซึ่งการวางแผนน้ีจะเกิดข้ึนจากวัสัยทัศน์บวกกับจินตนาการในการ
บริหารจัดการที่คาดการณ์ล่วงหน้า ซึ่งจะถ่ายทอดออกมาเป็นแผนปฎิบัติการการทางานและเป้าหมายที่จะต้องบรรลุ
ส่คู วามสาเรจ็

O – Organizing : การจดั องคก์ ร

การกาหนดตาแหน่งงาน ภาระ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ตลอดจนจานวนคน ให้ครอบคลุมการ
ทางานครบทุกกระบวนการ รวมถึงการจัดโครงสร้างตาแหน่ง โครงสร้างองค์กร เพื่อจัดลาดับการบริหารและสั่ง
การด้วย หากองค์กรมีการจดั การองค์กรที่เปน็ ระบบระเบียบ แบ่งงานชดั เจน ไม่ทบั ซ้อน มีหน้าที่ครบ มีปริมาณคน
พอกบั ทีต่ ้องการ ก็ย่อมทาให้การทางานมีประสิทธิภาพ และโอกาสบรรลผุ ลสาเร็จที่สงู

C – Commanding : การบงั คบั บัญชาส่งั การ

การจัดองค์กรตลอดจนจัดโครงสร้างการทางานน้ันจะทาให้เราเห็นสายบังคับบัญชาที่ชัดเจน
เห็นลาดับความสาคัญ ตลอดจนอานาจหน้าที่ในการส่ังการ เพราะการทางานหมู่มากจาเป็นต้องมี
ผู้บังคับบัญชาเพื่อให้การทางานดาเนินไปได้อย่างราบรื่น มีคนคอยควบคุม ส่ังการ ดูภาพรวม ตลอดจน
สอดส่องปัญหาเพื่อหาทางแก้ไขให้ไวที่สุด ข้อดีในการมีอานาจส่ังการอีกอย่างก็คือช่วยให้เกิดการตัดสินใจ
อย่างทนั ท่วงที ผู้ที่มีอานาจการตัดสินใจจะต้องสามารถวิเคราะห์สิ่งต่างๆ ได้อย่างรอบคอบ และตัดสินใจได้
เฉียบขาด ว่องไว ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการตัดสินใจของตนด้วย และผู้บังคับบัญชาที่ดียังสามารถที่
จะสร้างแรงจูงใจในการทางาน เข้าใจและเอาใจใส่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้กาลังใจ รวมถึงอยู่ข้างๆ ในยามที่เกิด
วิกฤติ

C – Coordination : การประสานงาน

หมายถึงภาระหน้าที่ในการเชื่อมโยงงานตลอดจนการปฎิบัติการทุกอย่างรวมไปถึงกาลังคนที่
หน่วยให้ทางานเข้ากันให้ได้ กากับให้มุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน อานวยให้เกิดการทางานที่ราบรื่น เพื่อให้
เกิดผลสาเร็จตามที่วางไว้ ทุกอย่างหากขาดการประสานงานที่ดีก็อาจทาให้เกิดความล้มเหลวได้ เมื่อมีการ
แบ่งโครงสร้างตลอดจนมอบหมายงานให้กับแต่ละส่วนชัดเจนแล้วการประสานงานให้เกิดการทางานที่ดีที่สุด
นั้นมีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพราะแต่ละส่วนต้องทางานสอดประสานกันเพื่อผลสาเร็จเดียวกันนั่นเอง การ
ประสานงานที่ดีนั้นจาเป็นจะต้องมีในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับบุคคลต่อบุคคล หัวหน้างานต่อลูกน้อง แผนกต่อ
แผนก ไปจนถึงผู้บริหารต่อทกุ หน่วยงานในองค์กรเช่นกนั

C – Controlling : การควบคมุ

การควบคุมในที่น้ีหมายถึงการกากับตลอดจนบริหารจัดการทุกอย่างให้สาเรจ็ ลลุ ่วงไปตามแผนที่
วางไว้ ประครองการดาเนินงานให้เปน็ ไปตามกรอบทีก่ าหนด ท้งั ในเรือ่ งของกรอบเวลา มาตรฐานการปฎิบัติการ
ข้ันตอนการทางาน ไปจนถึงการประสานงานทุกฝ่ายให้เกิดความราบรื่น การควบคุมน้ียงั รวมไปถึงการบริหารที่
ไม่ใช่ทรัพยากรบุคคลอีกด้วย แต่รวมถึงทรัพยากรที่เป็นวัตถุดิบ เครื่องจักร ผลผลิตที่ได้ ตลอดจนงบประมาณ
ในการดาเนินงานท้งั หมดด้วย เพือ่ ให้การทางานมีประสิทธิภาพทีส่ ุด

หลักในการบริหารจัดการ (Principles of Management)
ตามแนวคิดของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol)

อย่างที่ทราบกันไปแล้วว่า อองริ ฟาโยล
(Henri Fayol) ได้นาเอาประสบการณ์การบริหารจัดการ
ของตนมาสร้างเป็นหลักในการบริหารจัดการ 14
ประการ ที่ก่อให้เกิดความสาเรจ็ ขององค์กร ซึ่งหลักการ
น้ียังได้รับการยกย่องและใช้กันมาจนถึงทุกวันน้ี โดย
หลักการจัดการท้งั 14 ประการน้ันมีรายละเอียดดงั น้ี

1.การแบ่งหนา้ ทีแ่ ละการทางาน

(Division of Work)

การวางโครงสร้างองค์กรตลอดจนการทางานจะทาให้เราเห็นหน้าที่และการทางานของแต่ละคน
ในองค์กรได้ชัดเจน นั่นนามาซึง่ การแบ่งงานให้ส่วนต่างๆ ทาได้อย่างครบถ้วนอีกด้วย การแบ่งงานกันทาน้ันควร
แบ่งตามทกั ษะและความชานาญของแต่ละคน เพือ่ ให้เกิดการทางานทีม่ ีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด

2.อานาจหนา้ ที่และความรับผิดชอบ
(Authority & Responsibility)

การปฎิบัติงานที่ดีเมื่อได้รับอานาจหน้าที่ในการทางานแล้วต้องมีความรับผิดชอบต่องานที่ทา
ด้วย การตัดสินใจ ออกคาสง่ั บริหารจดั การ จะต้องสามารถรับผิดชอบต่อการกระทาของตนตามอานาจหน้าที่
ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

3.ระเบียบวินยั
(Discipline)

การทางานหมู่มากนั้นจาเป็นจะต้องมีระเบียบวินัยในการทางาน หากทุกคน ทุกตาแหน่ง
ทางานอย่างมีระเบียบวินัย นอกจากจะไม่ก่อให้เกิดปัญหาใดๆ แล้ว ยังทาให้การทางานมีประสิทธิภาพ
ประสบผลสาเร็จได้อย่างง่ายดาย ระเบียบวินัยน้ันเปน็ กรอบข้อตกลงในการปฎิบัติร่วมกัน เคารพเชือ่ ฟัง ให้
เกียรติซึ่งกันและกัน และทางานตามที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด ระเบียบวินัยควรบังคับจากบนลงล่าง มี
หลักการที่ชัดเจน และมีบทลงโทษไว้รองรบั ผู้ที่ฝ่าฝืนด้วย แต่ก็ควรลงโทษตามเหตุผลตลอดจนมีความเป็น
ธรรม ระเบียบวินยั ยงั หมายถึงการทางานร่วมกันอย่างตรงไปตรงมา ชัดเจน ไม่ออกนอกลู่นอกทาง ไม่หลบ
หลีกเพื่อเอื้อประโยชน์ฝ่ายใด ผู้บังคับบัญชาควรปฎิบัติตามระเบียบวินัยให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่
ผ้ใู ต้บงั คับบญั ชาด้วย

4.เอกภาพแห่งการบังคบั บัญชา
(Unity of Command)

การมีหวั หน้าหรือผ้บู งั คบั บัญชาที่มีประสิทธิภาพที่สดุ น้นั จาเปน็ จะต้องมีเพียงคนเดียว เพื่อมีอานาจเดด็ ขาด
ในการสั่งการ และส่งผลให้การตัดสินใจสามารถทาให้ปฎิบัติการได้อย่างทันท่วงที การมีผู้บังคับบัญชาหลายคน
น้ันจะทาให้เกิดการสับสนใจการส่ังการไปจนถึงการปฎิบัติงาน และอาจทาให้เกิดการตัดสินใจที่ช้าได้เนื่องจากรอ
มติสรุปอีกคร้ัง การมีผู้บังคับบัญชาหลายคนยังอาจทาให้เกิดการขัดแย้งได้ง่ายอีกด้วย ท้ังความขัดแย้งในการ
ทางานและความขดั แย้งระหว่างผ้บู งั คบั บญั ชาเอง

5.เอกภาพของทิศทางการดาเนินงาน
(Unity of Direction)

การทางานควรมีแผนงานหลักเพียงแผนงานเดียว อาจมีแผนสารองไว้รองรบั แต่ก็ควรยึดถาม
แผนงานหลักเป็นอันดับแรกก่อน ท้ังน้ีเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนใจการทางาน มีทิศทางการทางานที่
ชัดเจน แล้วการทางานที่เป็นกลุ่ม หน่วยงาน หรือแม้แต่องค์กร สิ่งสาคัญคือการมีเป้าหมายร่วมกัน
การที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกันนั้นจะทาให้ทุกคนเห็นแนวทางการดาเนินงานที่ชัดเจน มีหลักยึด มี
เส้นทางเดินที่ไปสู่ทิศทางเดียวกัน และมีแรงผลักดันร่วมกันในการก้าวไปสู่จุดหมาย ทาให้แผนงาน
ประสบผลสาเร็จได้ง่ายและมีพลงั

6.ผลประโยชนส์ ่วนบุคคลเป็นรองกวา่ ประโยชน์ส่วนรวม
(Subordination of Individual Interest)

คุณธรรมเป็นสิ่งสาคัญที่ควรยึดถือในการทางาน ควรยึดถือประโยชน์ขององค์กร ประโยชน์ของ
ส่วนรวม มาก่อนประโยชน์ส่วนตัว ท้ังน้ีควรอยู่บนบรรทัดฐานแห่งความยุติธรรม ความถูกต้อง ความเหมาะสมด้วย
หลกั บริหารข้อนี้สอดคล้องกับคากล่าวของอริสโตเติลที่ว่า ส่วนรวมคือผลรวมจากส่วนย่อย (the whole is the sum
of its parts) บุคคลแต่ละคนจึงควรยอมรับว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่ใหญ่กว่า หากส่วนรวมอยู่ไม่ได้ ตัวเขาก็อยู่
ไม่ได้เช่นกัน

7.การให้ผลประโยชนต์ ลอดจนค่าตอบแทน
(Remuneration)

แน่นอนว่าการทางานน้ันย่อมมีการจ้างงาน องค์กรควรมีการคานวนผลตอบแทนที่
เหมาะสม ยุติธรรม ไม่เอาเปรียบ ที่สาคัญต้องได้รับความเห็นชอบตลอดจนพึงพอใจด้วยกันท้ังสองฝ่าย
ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง การให้ผลประโยชน์ตอบแทนยังควรปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่เหมาะสม
อีกด้วย อย่างกรณีที่องค์กรสามารถประกอบการได้ผลกาไรที่มากข้ึน ก็ควรปันผลตอบแทนให้ลกู จ้างมาก
ข้ึนตาม เป็นต้น ในส่วนของเรื่องค่าตอบแทนนั้นอาจไม่ใช่การจ่ายในรูปแบบเงินเสมอไป ยังรวมถึง
ค่าตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ อาทิ ของรางวัล สวัสดิการ ผลประโยชน์รูปแบบอื่น การฝึกอบรม ตลอดจน
การยกย่องเชิดชซู ึง่ สามารถสร้างความพอใจให้พนกั งานได้อีกด้วย

8.สมดลุ ของการรวมและกระจายอานาจ
(The Degree of Centralization)

การรวมอานาจไว้ศูนย์กลางนั้นจะง่ายต่อการควบคุมสั่งการ และทนั ท่วงที ตัดสินใจได้ฉับ
ไว ศูนย์รวมอานาจความเป็นจุดเดียวและอาจมีการกระจายอานาจลดหล่ันไปยังส่วนต่างๆ แต่ต้องมี
ลาดับความสาคัญที่แตกต่างและมีอานาจที่แตกต่างกันด้วย เพื่อการควบคุมที่เป็นระบบและง่ายต่อการ
ปฎิบตั ิงาน

9.สายการบังคับบญั ชา
(Scalar chain)

การวางสายงานจะทาให้เราเห็นอานาจการบังคับบัญชา ตลอดจนระดับขั้นของการ
บริหารงานอย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดความลื่นไหลตลอดจนกระบวนการทางานที่เป็นระบบระเบียบ
บริหารจดั การได้ง่าย แก้ไขปญั หาได้ว่องไวตรงจุด ท้ังยงั ช่วยให้เกิดระเบียบในการสื่อสาร การส่งต่อ
ข้อมลู รวมถึงการจดั การเน้ือหาของการสือ่ สารให้เหมาะสมได้อีกด้วย

10.ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยและความพรอ้ มในการทางาน
(Order)

ทกุ อย่างหากอย่ใู นความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยกจ็ ะทาให้การทางานมีประสิทธิภาพ บรรลุผล
ตามเป้าหมายที่วางไว้ได้สะดวกและง่ายดายขึ้น บริหารจัดการได้อย่างไม่ติดขัด และดาเนินตามมาตรฐาน
ได้อย่างราบรื่น ทุกคนควรเคารพระเบียบวินัยขององค์กรและปฎิบตั ิให้เกิดความเรียบร้อยเหมาะสม ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อยน้ียังสะท้อนถึงความรับผิดชอบอย่างรอบด้าน ไม่สะเพราะ เอาใจใส่ ตลอดจนใส่ใจ
รายละเอียดในการทางานอีกด้วย ซึ่งน่ันจะทาให้ผลงานออกมาดี และส่งเสริมให้องค์กรประสบ
ความสาเร็จ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยน้ียังหมายถึงเรื่องสถานที่ทางาน สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการจัด
ระเบียบท้งั องค์กร ให้มีความพร้อม สะอาด น่าทางาน และอานวยความสะดวกให้เหมาะสมด้วย

11.ความเสมอภาค
(equity)

องค์กรควรให้ความสาคัญกับความเสมอภาค ในทีน่ ี้หมายถึงความเสมอภาคในฐานะทีเ่ ป็น
มนุษย์เฉกเช่นเดียวกัน ควรได้รับสิทธิและการปฎิบตั ิที่มีมนุษยธรรม ไม่กดขี่ ข่มแหง รังแก หรือทาร้ายให้
เกิดความเสียหายใดๆ ควรมีความเอื้ออารีย์ต่อกัน เห็นอกเห็นใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความซื่อสัตย์
ยตุ ิธรรม ไม่เอาเปรียบซึ่งกันและกัน

12.เสถียรภาพในการทางาน
(Stability of Tenure of Personnel)

การทางานที่มีเสถียรภาพจะทาให้พนักงานอุ่นในใจการทางาน ไม่กังวล และเต็มที่กับการ
ทางาน หากองค์กรเอ้อื อานาจให้เกิดการย้ายงานที่ง่าย หรือองค์กรไม่มีมาตรฐานในการทางานที่ชัดเจนที่มี
ผลทาให้พนักงานต้องออกจากงาน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบน้ีย่อมส่งผลเสียต่อการทางานได้เช่นกัน เมื่อ
พนักงานขาดเสถียรภาพในการทางานก็ย่อมทาให้องค์ไรไม่มีเสถียรภาพตามไปด้วย นอกจากจะทาให้การ
ทางานสะดดุ ไม่ราบรื่นแล้วยังลดความน่าเชื่อถือขององค์กรได้อีกต่างหาก สิ่งที่องค์กรควรบริหารจัดการก็
คือทาให้พนักงานรู้สึกว่ามีความม่ันคงในการทางาน เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีความสุขกับ
การทางาน รวมถึงให้ค่าตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อลดอัตราการเข้าออกของพนักงานให้ต่าลง และสร้าง
เสถียรภาพให้เกิดขึ้นกับองค์กรได้

13.เสรีภาพในการนาเสนอสิง่ ใหม่
(Initiative)

พนักงานควรมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและนาเสนอสิ่งใหม่ๆ ซึ่งจะก่อให้เกิด
อุปนิสัยคิดริเริ่มอันเป็นพื้นฐานที่ดีของการทางานไม่ว่าจะลักษณะใดหรือสายอาชีพใดก็ตาม ซึ่งนี่คือจุด
แข็งขององค์กรได้เลยทีเดียว องค์กรควรส่งเสริมให้มีการแสดงออก เปิดโอกาสให้พนักงานได้แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น ตลอดจนเสนอแนวความคิดใหม่ๆ รวมถึงเสนอแนะด้านการทางาน ปัญหาที่พบ ตลอดจน
แนวทางทีค่ วรแก้ไขปรับปรงุ นั่นยงั จะทาให้พนกั งานร้สู ึกเปน็ ส่วนหนึ่งขององค์กรด้วย และการเปิดโอกาส
ให้พนักงานได้เสนอแนวความคิดใหม่ๆ อาจทาให้องค์กรได้วิธีการปฎิบตั ิงานใหม่ๆ ตลอดจนเป็นแนวทาง
ในการผลิตผลผลิตใหม่ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อองค์กรข้ึนได้เช่นกัน

14.ความเขา้ ใจและการไวว้ างใจซึ่งกนั และกัน
(Esprit de Corps)

หลักการบริหารข้อน้ีนามาจากหลักการการทหารของกองทัพฝรั่งเศสที่แปลความได้ว่า
“สามัคคีคือพลัง” นั่นเอง องค์กรควรทางานอย่างสอดประสานกันด้วยดี เพื่อผลลัพธ์ขององค์กรที่ยอด
เยี่ยมทีส่ ุด พนกั งานทุกคนต้องทางานอย่างเปน็ ส่วนหนึง่ ส่วนเดียวกัน และมีความเปน็ ทีม ร่วมแรงร่วมใจกัน
ทางาน ตลอดจนรบั มือกบั ปญั หาทีเ่ กิดข้นึ เพือ่ ให้ก้าวไปส่จู ดุ ที่ประสบความสาเร็จร่วมกนั

ประโยชนข์ องทฤษฎี POCCC
และหลักการจัดการของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol)

อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) ได้คิดค้นทฤษฎี POCCC
และกาหนดหลักการบริหารจัดการไว้เป็นบรรทัดฐานในการปฎิบัติการซึ่งจะ
เป็นประโยชน์ฝ่ายบริหารตลอดจนผู้จัดการในการจัดการบริหารองค์กรเป็น
อย่างมาก ในขณะเดียวกันหลักการน้ีก็สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมได้
ตามลกั ษณะองค์กรอีกด้วย ทาให้การบริหารจัดการเปน็ ระบบ ระเบียบ และ
ปฎิบัติงานได้อย่างราบรื่น มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้องค์กรมีศักยภาพ และ
ประกอบกิจการได้อย่างประสบความสาเรจ็ ได้เปน็ อย่างดี

หลกั การต่างๆ ของอองริ ฟาโยล (Henri Fayol) ยังเป็นแกนยึดที่
สาคญั ทีค่ รอบคลมุ รายละเอียดทุกกระบวนการและภาพรวมท้งั องค์กรเพราะส่งเสริม
สนับสนุนให้ใส่ใจต้ังแต่เรื่องของการวางแผน, การปฎิบัติการ, การให้อานาจ, การ
จัดสรรกาลังคน, การสร้างความยุติธรรม, การส่งเสริมให้มีความคิดริเริ่ม, ไป
จนกระท่ังการดูแลเรื่องอัตราจ้างที่เหมาะสม ซึ่งเป็นการบริหารจัดการที่ครบองค์
ครบกระบวนการ และทุกคนทุกฝ่ายได้รับผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกันหมด สิ่ง

สาคัญอีกอย่างของหลกั การต่างๆ ของอองริ ฟาโยล (Henri Fayol) น้ันก็คือการ
ที่ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลเพียงอย่างเดียว แต่ยังมุ่งเน้น
ไปยังการบริหารจัดการทรัพยากรอื่นๆ ที่ไม่ใช่สิ่งไม่มีชีวิตอีกด้วย ตลอดจนการ
บริหารจัดการสถานที่ และระบบระเบียบการทางานให้เหมาะสม ซึ่งทาให้การบริหาร

จดั การองค์รวมขององค์กรประสบความสาเร็จอย่างดีเยี่ยม

บทสรุป

ทฤษฎี POCCC ของ อองริ ฟาโยล (Henri Fayol) เป็นแนวคิดการ
บริหารจัดการเชิงปฎิบัติการที่คิดค้นข้ึนเพื่อรองรับการทางานกับคนหมู่มาก แต่ก็
สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับขนาดองค์กร จานวนคน และประเภทของธุรกิจ
ด้วยเช่นกัน เพราะหลักการน้ีมีความเป็นสากลที่ปรับใช้ได้กับทุกสายงานและสาขา
อาชีพ ถึงแม้หลักการน้ีจะเป็นหลักการที่เกิดข้ึนมานานแล้วแต่หัวใจของหลักการ
บริหารจดั การนี้ยังคงมีประโยชน์และใช้ได้ดีสาหรบั ในยุคปจั จุบันด้วย ซึ่งหลายองค์กรก็
ได้นาเอา POCCC ไปประยุกต์ใช้เป็นหลักการในการบริหารองค์กรของตนได้อย่าง
ประสบความสาเรจ็ ทีเดียว

บรรณานกุ รม

การบริหารจดั การสถานศึกษาสมัยใหม่ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
//th.hrnote.asia/orgdevelopment/190626-poccc-henri-fayol/
(วันทีค่ ้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2564)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก