ประเทศผู้ผลิตน้ำมันในอาเซียน คือ

วันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายน 2565  

รายละเอียด

ไขที่มา...ทำไมราคาน้ำมันไทย – อาเซียน ถึงต่างกัน?

.

สถานการณ์ราคาพลังงานตลาดโลกที่ยังผันผวนต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจทั่วโลก นายกรัฐมนตรี มีข้อห่วงใยและกำชับทุกฝ่ายสร้างการรับรู้ให้ประชาชนมีความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องราคาน้ำมันของไทย โดยย้ำว่าราคาน้ำมันไทยไม่ได้แพงที่สุดในอาเซียน และรัฐบาลให้ความสำคัญกับการรักษาความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ

.

กระทรวงพลังงาน ชี้แจงว่าท่ามกลางสถานการณ์สงครามระหว่างรัสเซีย - ยูเครน เป็นเหตุให้อุปทานพลังงานลดลง ประกอบกับสถานการณ์โควิดในหลายประเทศดีขึ้น ทำให้ความต้องการใช้พลังงานเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลต่อราคาเชื้อเพลิงและค่าครองชีพของประชาชนที่ปรับตัวสูงขึ้นทั่วโลก

.

หากเปรียบเทียบราคาน้ำมันของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ที่นำเข้าน้ำมันเช่นเดียวกับประเทศไทย มีต้นทุนเนื้อน้ำมันไม่ต่างกันมากนัก เพราะราคาที่ซื้อ - ขาย จะอ้างอิงจากราคาตลาดโลก

.

แต่ปัจจัยที่ทำให้ราคาน้ำมันที่ขายในแต่ละประเทศแตกต่างกันก็คือ โครงสร้างน้ำมันของแต่ละประเทศ ที่แต่ละประเทศมีมาตรการภาษี และระบบการเก็บเงินเข้ากองทุนหรืออุดหนุนราคาพลังงานที่แตกต่างกัน ซึ่งประเทศมาเลเซียหรือบรูไน มีราคาน้ำมันถูกกว่าประเทศอื่น ๆ เพราะเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกน้ำมัน จึงไม่ได้เก็บภาษีส่วนนี้

.

ในส่วนของประเทศไทย รัฐบาลได้ดูแลราคาน้ำมันมาอย่างต่อเนื่องโดยใช้เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงอุดหนุนราคาน้ำมันดีเซลรวมถึงการลดภาษี และล่าสุดได้ลดการจัดเก็บเงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงในส่วนของน้ำมันกลุ่มเบนซิน เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน

จุดแข็งแต่ละประเทศในอาเซียน

  • ประเทศกัมพูชา ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้และแร่ชนิดต่างๆ
  • ประเทศไทย ได้แก่ มีแรงงานจำนวนมาก ที่ตั้งเหมาะแก่การเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงการคมนาคมด้าน ต่างๆ เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลากหลายรายใหญ่ของโลก
  • ประเทศบรูไน ได้แก่ รายได้เฉลี่ยต่อคน/ต่อปี อยู่ในอันดับที่ 2 ของอาเซียนและอันดับ26 ของโลก เป็นผู้ส่งออก น้ำมันและมีปริมาณการสำรองน้ำมันเป็นอันดับ 4 ของอาเซียน
  • ประเทศพม่า ได้แก่ มีทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมันและก๊าซธรรมชาติจ านวนมาก มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย
  • ประเทศฟิลิปปินส์ ได้แก่ มีประชากรจำนวนมากอันดับที่ 12 ของโลก แรงงานทั่วไปมีความรู้ สามารถสื่อสาร ภาษาอังกฤษได้
  • ประเทศมาเลเซีย ได้แก่ มีประมาณการสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับที่3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับที่2 ของเอเชียแปซิฟิก ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจรและแรงงานมีทักษะ
  • ประเทศลาว ได้แก่ การเมืองมีเสถียรภาพ มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่างๆ
  • ประเทศเวียดนาม ได้แก่ มีประชากรเป็นจ านวนมากอันดับที่14 ของโลก มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200 กิโลเมตร
  • ประเทศสิงคโปร์ ได้แก่ รายได้เฉลี่ยต่อคน/ต่อปี สูงที่สุดของอาเซียนและติดอันดับ15 ของโลก เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศ มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางการเดินเรือ
  • ประเทศอินโดนีเซีย ได้แก่ มีประชากรมากเป็นอันดับ4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชาว มุสลิมมากที่สุดในโลก มีทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลายและจ านวนมาก โดยเฉพาะถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ โลหะต่างๆ

ข้อมูลเพิ่มเติม

  • ความเป็นมา Asean ฉบับเต็มคลิ๊กที่นี่   >> Download <&lt;
  • ข้อมูลภูมิภาคอาเซียน คลิ๊กที่นี่   >> Download <<
  • Asean คืออะไร คลิ๊กที่นี่   >> Asean คืออะไร <<
  • AEC คืออะไร คลิ๊กที่นี่   >> AEC คืออะไร <&lt;

รายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกน้ำมัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แผนที่ประเทศตามการส่งออกน้ำมัน, 2006

ด้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกน้ำมัน เป็นข้อมูลของเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก และข้อมูลอื่น[1] หลายประเทศรนำเข้าน้ำมัน และส่งออกมากกว่านำเข้าน้ำมัน

ประเทศ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ การส่งออก (บาเรล/วัน) ข้อมูล
1
 
ซาอุดีอาระเบีย
7,416,000 2013
2
 
รัสเซีย
4,888,000 2013
3
 
อิรัก
3,301,000 2016
4
 
แคนาดา
3,210,000 2015
5
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2,637,000 2013
6
 
ไนจีเรีย
2,231,000 2013
7
 
แองโกลา
1,745,000 2013
8
 
คูเวต
1,711,000 2013
9
 
เวเนซุเอลา
1,548,000 2013
10
 
คาซัคสถาน
1,466,000 2013
11
 
กาตาร์
1,303,000 2013
12
 
นอร์เวย์
1,255,000 2013
13
 
เม็กซิโก
1,193,000 2016
14
 
สหรัฐ
1,162,000 2015
15
 
แอลจีเรีย
1,146,000 2013
16
 
อิหร่าน
1,042,000 2013
17
 
สหราชอาณาจักร
862,000 2015
18
 
โคลอมเบีย
859,000 2016
19
 
ลิเบีย
834,100 2013
20
 
โอมาน
806,000 2013
21
 
บราซิล
619,100 2010
22
 
เอกวาดอร์
413,000 2013
23
 
อินโดนีเซีย
338,100 2010
24
 
อิเควทอเรียลกินี
319,100 2010
25
 
ออสเตรเลีย
314,100 2010
26
 
ซูดานใต้
291,800 2010
27
 
สาธารณรัฐคองโก
290,000 2011
28
 
มาเลเซีย
269,000 2012
29
 
กาบอง
225,300 2010
30
 
เวียดนาม
188,000 2012
31
 
เยเมน
175,200 2010
32
 
เดนมาร์ก
155,200 2010
33
 
บาห์เรน
152,600 2012
34
 
ซีเรีย
152,400 2010
35
 
บรูไน
147,900 2010
36
 
ชาด
125,700 2010
37
 
ซูดาน
97,270 2010
38
 
อาร์เจนตินา
90,920 2010
39
 
ติมอร์-เลสเต
87,000 2010
40
 
อียิปต์
85,000 2010
41
 
คิวบา
83,000 2012
42
 
ตูนิเซีย
77,980 2010
43
 
ตรินิแดดและโตเบโก
75,340 2010
44
 
เติร์กเมนิสถาน
67,000 2012
45
 
แคเมอรูน
55,680 2010
46
 
นิวซีแลนด์
47,290 2010
47
 
สหรัฐ
41,640 2010
48
 
เนเธอร์แลนด์
35,500 2013
49
 
จีน
33,000 2013
50
 
ไทย
32,200 2011
51
 
โกตดิวัวร์
32,190 2010
52
 
ปาปัวนิวกินี
28,400 2010
53
 
แอลเบเนีย
23,320 2013
54
 
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
22,240 2010
55
 
ฟิลิปปินส์
20,090 2010
56
 
กรีซ
17,020 2010
57
 
เปรู
15,610 2012
58
 
เยอรมนี
14,260 2010
59
 
กัวเตมาลา
10,960 2010
60
 
เอสโตเนีย
7,624 2010
61
 
ซูรินาม
7,621 2010
62
 
มอริเตเนีย
7,337 2010
63
 
อิตาลี
6,300 2010
64
 
มองโกเลีย
5,680 2010
65
 
เบลีซ
4,345 2010
66
 
โปแลนด์
3,615 2011
67
 
ลิทัวเนีย
2,181 2010
68
 
ไอร์แลนด์
1,858 2010
69
 
โรมาเนีย
1,604 2010
70
 
บาร์เบโดส
765 2010
71
 
จอร์เจีย
531 2012
72
 
เช็กเกีย
404 2010
73
 
สโลวาเกีย
263 2010
74
 
โบลิเวีย
61 2013

อ้างอิง[แก้]

  1. //www.eia.gov/countries/index.cfm?topL=exp

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก