วินตรวจความแข็งแรงของชั้นวางของที่ทำขึ้น เป็น กระบวนการ ทำงาน ช่างในบ้าน กระบวนการ ใด

1

สารบญั

สรุปหลักสตู รฯ กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี หน้า
พิเศษ 1
มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วัด และสาระการเรยี นรู้พ้ืนฐาน
พิเศษ 2-3
คำอธบิ ายรายวิชา การงานอาชพี ม.3
พเิ ศษ 4
โครงสรา้ งรายวชิ า การงานอาชีพ ม.3
พิเศษ 5-6
Pedagogy
พิเศษ 7
โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ การงานอาชีพ ม.3
พิเศษ 8-15
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 หลกั การทำงานเพือ่ การดำรงชีพ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั และทักษะการจัดการ 1-13
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 2 คณุ ธรรมและจริยธรรมในการทำงาน 14-23
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 การใช้ทรพั ยากรในการปฏิบตั งิ าน 24-31
32-46
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ผา้ และการตดั เยบ็
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 การดแู ลรักษาเสอื้ ผา้ และเคร่อื งประกอบการแต่งกาย 47-69
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 การซ่อมแซมเสอ้ื ผ้า 70-83
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 3 การตกแตง่ เส้ือผ้า 84-92
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 การดัดแปลงเสือ้ ผ้า 93-103
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 5 การตดั เยบ็ 104-112
113-126
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 อาหารประเภทสำรับ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 อาหารประเภทสำรับ 127-137
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 การจัดตกแต่งอาหารประเภทสำรบั 138-148
149-161

2

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 การปฏิบตั ิงานช่างในบ้าน 162-174
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 งานช่างในบ้าน 175-190
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 การปฏบิ ตั ิงานช่างในบา้ น : การตดิ ต้งั และประกอบผลิตภัณฑ์ 191-212

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 การประดิษฐ์บรรจุภณั ฑ์จากวสั ดุธรรมชาติ 213-226
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การบรรจภุ ณั ฑ์ 227-236
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 การประดษิ ฐ์บรรจภุ ณั ฑจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติ 237-246
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 ตวั อยา่ งการประดิษฐ์บรรจภุ ัณฑ์จากวสั ดธุ รรมชาติ 247-259

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 การขยายพนั ธุ์พืช 260-273
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 การขยายพันธพ์ุ ืช 274-282
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 วธิ กี ารขยายพนั ธ์พุ ืช 283-291
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ตัวอยา่ งการขยายพันธพุ์ ชื 292-304

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 7 การดำเนินงานธรุ กิจ 305-318
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 งานธรุ กิจ 319-328
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 การดำเนินงานธุรกจิ 329-336
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 การวางแผนธุรกจิ 337-350

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8 แนวทางการเข้าสู่อาชพี 351-362
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 แนวทางการประกอบอาชพี 363-373
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 การศึกษาต่อเพอื่ เข้าสอู่ าชพี 374-392

3

สรุปหลักสตู รฯ กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ *

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เป็นกลุ่มสาระท่ีช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ
พ้นื ฐานท่ีจำเปน็ ต่อการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถนำความรู้เก่ียวกับการดำรงชีวิตและการอาชีพ
มาประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างสร้างสรรค์ เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน มีเจตคติท่ีดีต่อ
การทำงาน สามารถดำรงชวี ติ อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งพอเพียงและมคี วามสขุ

โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพ่ือให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการทำงาน
เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงได้กำหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น
2 สาระ ได้แก่

สาระที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น
การดำรงชวี ิตและครอบครัว
• เขา้ ใจกระบวนการทำงานท่ีมปี ระสิทธิภาพ ผา่ นกระบวนการกลมุ่
การทำงานในชีวิตประจำวัน การช่วยเหลือตนเอง ในการทำงาน
ครอบครัว และสังคมในสภาพเศรษฐกิจท่ีพอเพียง
ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจริงจนเกิด • มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ การแก้ปญั หา และการจัดการทด่ี ี
ความม่ันใจและภูมิใจในผลสำเร็จของงาน เพื่อให้ • มลี ักษณะนิสยั การทำงานท่ีเสียสละ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม สามารถ
ค้นพบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของ
ตนเอง ตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและมเี หตผุ ล

• มจี ติ สำนกึ ในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมอย่างประหยดั
และคุ้มค่า

สาระท่ี 2 คณุ ภาพผู้เรียน
การอาชีพ
• เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพอย่างเหมาะสม
ทักษะท่ีจำเป็นต่ออาชีพ เหน็ ความสำคัญของการ มี • มีเจตคติที่ดี เห็นความสำคญั ของการประกอบอาชพี วธิ ีการหางานทำ
คุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพใช้
เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม เห็นคณุ ค่า คุณสมบัติท่ีจำเป็นและวิเคราะห์แนวทางเขา้ สู่อาชพี ได้
ของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบ
อาชีพ • มที ักษะพ้ืนฐานทีจ่ ำเปน็ สำหรบั การประกอบอาชพี และประสบการณ์
ตอ่ อาชีพทส่ี นใจ

• สามารถประเมนิ ทางเลือกในการประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกับความรู้
ความถนัด และความสนใจของตนเองได้

* สรุปและลดทอนจาก สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2551).

พิเศษ 1

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี *

สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยใน
การทำงาน มจี ิตสำนกึ ในการใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากร และสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อการดำรงชวี ิตและครอบครัว

ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.3 1. อภิปรายข้นั ตอนการทำงานทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ • ข้ันตอนการทำงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ การปฏิบตั ิ

2. ใชท้ ักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมี ตามกระบวนการทำงาน โดยการทำตามลำดบั ขน้ั ตอน

คุณธรรม มีความสามารถทำงานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายที่วางไว้

3. อภปิ รายการทำงานโดยใช้ทักษะการจดั การ เชน่

เพ่ือการประหยัดพลงั งาน ทรัพยากร และ - การซัก ตาก พบั เก็บ เสื้อผา้ ที่ต้องดูแลอยา่ ง

สงิ่ แวดลอ้ ม ประณีต

- การสร้างช้นิ งาน หรือผลงาน

• ทักษะการทำงานร่วมกนั เป็นการสรา้ งใหผ้ เู้ รยี น

สามารถทำงานและอยรู่ ว่ มกันไดอ้ ย่างมีความสุขและ

มีคณุ ธรรม เชน่

- การเตรยี ม ประกอบอาหารประเภทสำรบั

- การประดิษฐบ์ รรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ

• ทกั ษะการจัดการ เป็นการจัดระบบงานและระบบคน

เพือ่ ให้ทำงานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายอย่างมีประสิทธิภาพ

เช่น

- ธุรกจิ ประเภทตา่ ง ๆ

- การขยายพันธ์ุพืช

- การติดตัง้ /ประกอบผลิตภัณฑ์

พเิ ศษ 2

สาระท่ี 2 การอาชพี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มที ักษะทจ่ี ำเปน็ มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยเี พ่อื พัฒนาอาชีพ มี
คณุ ธรรม และมีเจตคติท่ีดตี ่ออาชีพ

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.3 1. อภิปรายการหางานดว้ ยวธิ ีทห่ี ลากหลาย • การหางาน หรือตำแหนง่ ทว่ี ่าง
2. วเิ คราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ - สือ่ ส่ิงพิมพ์
3. ประเมนิ ทางเลอื กในการประกอบอาชพี ที่ - สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์
สอดคล้องกับความรู้ ความถนดั และความ
สนใจของตนเอง • แนวทางเข้าสอู่ าชีพ
- คุณสมบัตทิ ่ีจำเป็น
- ความม่นั คง
- การประเมนิ ทางเลอื ก

• การประเมนิ ทางเลือกอาชีพ
- แนวทางการประเมิน
- รูปแบบการประเมิน
- เกณฑก์ ารประเมิน

พิเศษ 3

คำอธบิ ายรายวชิ า

การงานอาชพี ม.3

รายวิชาพ้ืนฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 40 ช่ัวโมง

ศึกษาและเรียนรู้เก่ียวกับขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานในการซัก ตาก พับ เก็บเสื้อผ้าที่ต้อง
ดูแลอยา่ งประณีต การสร้างช้ินงาน หรอื ผลงาน ใช้ทักษะการทำงานร่วมกันในการเตรียม ประกอบอาหารประเภท
สำรับและการประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ ใช้ทักษะการจัดการในการประกอบธุรกิจประเภทต่าง ๆ
การขยายพันธ์ุพืช การติดตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์ มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงาน
อย่างประหยัดและคุ้มค่า อภิปรายการหางานด้วยวิธีท่ีหลากหลาย วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ และสามารถ
ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ ความถนัด และความสนใจของตนเอง เพ่ือการ
เสริมสรา้ งประสบการณ์อาชพี

เพ่ือให้เกิดความตระหนักและเหน็ คุณค่าของการทำงาน มีทักษะการทำงานรว่ มกนั และทักษะการจัดการใน
การปฏิบัติงานตามข้ันตอนการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
มีคณุ ธรรมในการทำงาน และมีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอ้ ม

ตัวชีว้ ัด
ง 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ง 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
รวม 6 ตัวช้ีวดั

พิเศษ 4

โครงสร้างรายวชิ า การงานอาชีพ ชั้น ม.3

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา
ท่ี การเรียนรู้ (ชม.)
การเรียนร/ู้
ตัวชวี้ ัด

1 หลกั การทำงาน ง 1.1 ม.3/2 การทำงานในชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่น จำเป็นต้องมีคุณธรรม 3
เพ่อื การดำรงชพี ง 1.1 ม.3/3 และจริยธรรมในการทำงาน นอกจากน้ี ยังต้องใช้ทักษะการ
ทำงานร่วมกัน เพ่ือให้สามารถทำงานและอยู่ร่วมกันได้อย่างมี
ความสุข และทักษะการจดั การในการจัดระบบงานและระบบคน
เพื่อใหท้ ำงานสำเร็จตามเป้าหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

2 ผ้าและการตัดเย็บ ง 1.1 ม.3/1 การดแู ลรักษาเส้อื ผ้าที่ถูกต้อง เป็นการชว่ ยยืดอายุการใชง้ านของ 10

ง 1.1 ม.3/2 เส้ือผ้าให้ยาวนานย่ิงขึ้น สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี เช่น การ

ง 1.1 ม.3/3 ซ่อมแซม การตกแต่ง การดัดแปลงเส้ือผ้า ในการปฏิบัติงาน

จะต้องปฏบิ ัติตามกระบวนการทำงานอย่างเปน็ ขั้นตอน ใช้ทักษะ

การทำงานร่วมกนั เพอ่ื ให้สามารถทำงานและอยู่รว่ มกันไดอ้ ยา่ งมี

ความสุข และทักษะการจัดการในการจัดระบบงานและระบบคน

เพ่ือใหท้ ำงานสำเรจ็ ตามเป้าหมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

3 อาหารประเภท ง 1.1 ม.3/1 อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่สำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิต 4

สำรบั ง 1.1 ม.3/2 ของมนุษย์ ในการเตรียม ประกอบ จัด และตกแต่งอาหาร

ง 1.1 ม.3/3 ประเภทสำรับ ในการปฏิบัติงานจะต้องปฏิบัติตามกระบวนการ

ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ใช้ทักษะการทำงานร่วมกัน เพื่อให้

สามารถทำงานและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข และทักษะการ

จดั การในการจัดระบบงานและระบบคน เพื่อให้ทำงานสำเร็จตาม

เป้าหมายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

4 การปฏิบตั ิงาน ง 1.1 ม.3/1 การติดตั้งและการประกอบผลิตภัณฑ์ภายในบ้านประเภทต่าง ๆ 3

ช่างในบ้าน ง 1.1 ม.3/2 จำเป็นต้องคำนึงถึงเร่ืองความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานเป็น

ง 1.1 ม.3/3 หลัก ในการปฏิบัติงานจะต้องปฏิบัติตามกระบวนการทำงาน

อย่างเป็นข้ันตอน ใช้ทักษะการทำงานร่วมกัน เพื่อให้สามารถ

ทำงานและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข และทักษะการจัดการ

ในการจัดระบบงานและระบบคน เพื่อให้ทำงานสำเร็จตาม

เป้าหมายอย่างมีประสิทธภิ าพ

5 การประดิษฐ์ ง 1.1 ม.3/1 การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์ โดยนำวัสดุธรรมชาติมาใช้ เป็นการช่วย 5

พเิ ศษ 5

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา
ท่ี การเรียนรู้ (ชม.)
การเรียนรู้/
ตัวชีว้ ัด

บรรจุภัณฑ์ ง 1.1 ม.3/2 รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อีกทางหนึ่ง ในการ

จากวสั ดธุ รรมชาติ ง 1.1 ม.3/3 ปฏบิ ตั งิ านจะต้องปฏิบัตติ ามกระบวนการทำงานอย่างเปน็ ขน้ั ตอน

ใชท้ ักษะการทำงานรว่ มกัน เพ่ือให้สามารถทำงานและอยู่ร่วมกัน

ได้อย่างมคี วามสุข และทักษะการจัดการในการจัดระบบงานและ

ระบบคน เพ่อื ให้ทำงานสำเร็จตามเป้าหมายอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

6 การขยายพันธุ์พืช ง 1.1 ม.3/1 การขยายพันธ์ุพืชดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ เป็นการเพ่ิมปรมิ าณของพันธุ์ 6
ง 1.1 ม.3/2 พืชให้มีจำนวนมากข้ึน ในการปฏิบัติงานจะต้องปฏิบัติตาม
ง 1.1 ม.3/3 กระบวนการทำงานอย่างเปน็ ข้ันตอน ใช้ทกั ษะการทำงานร่วมกัน
เพ่ือให้สามารถทำงานและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข และ
ทักษะการจัดการในการจัดระบบงานและระบบคน เพ่ือให้ทำงาน
สำเร็จตามเปา้ หมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

7 การดำเนินงาน ง 1.1 ม.3/1 งานธุรกิจเป็นงานที่มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต เนื่องจากมี 5
ธรุ กิจ ง 1.1 ม.3/2 ความเกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าและบริการที่เป็นปัจจัยพ้ืนฐาน
ง 1.1 ม.3/3 ของการดำรงชีวิต ใน การปฏิบัติงาน จะต้อง ปฏิบัติตาม
กระบวนการทำงานอยา่ งเป็นข้ันตอน ใช้ทกั ษะการทำงานร่วมกัน
เพ่ือให้สามารถทำงานและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข และ
ทักษะการจดั การในการจัดระบบงานและระบบคน เพือ่ ใหท้ ำงาน
สำเร็จตามเปา้ หมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ

8 แนวทางการเข้าสู่ ง 2.1 ม.3/1 การประกอบอาชพี ต่าง ๆ จำเปน็ ท่ีจะตอ้ งมีความรอบรใู้ นการหา 4
อาชีพ ง 2.1 ม.3/2 งาน หรือตำแหน่งท่ีว่างด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย มีคุณสมบัติท่ี
ง 2.1 ม.3/3 เหมาะสมต่อการประกอบอาชีพ วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพได้

อย่างเหมาะสมและมีความมั่นคง สามารถประเมินทางเลือกใน

การประกอบอาชีพได้ถูกต้องและมีความสอดคล้องกับความรู้

ความถนดั และความสนใจของตนเอง

พเิ ศษ 6

Pedagogy

พิเศษ 7

โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า การงานอาชพี ม.3

เวลา 40 ชั่วโมง

หนว่ ย แผนการจดั การ วิธสี อน/วธิ ีการจัด ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา
การเรยี นรู้ เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ (ชั่วโมงเรียน)
แบบกระบวนการเรยี น 1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น
1. หลกั การ แผนฯ ท่ี 1 ความรู้ ความเข้าใจ ทำงาน 2. ตรวจใบงานท่ี 1.1.1 เรอ่ื ง ทกั ษะการ 1
ทำงานเพื่อการ ทกั ษะการทำงาน
ดำรงชพี ร่วมกันและทกั ษะ 2. ทกั ษะการจัดการ ทำงานรว่ มกันและทักษะการจัดการ
การจัดการ 3. ทกั ษะกระบวนการ 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบันทึกผล

แกป้ ญั หา การเรียนรู้
4. ทักษะการแสวงหา 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ความรู้ 6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่
5. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 7. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้
6. ทักษะการคิดวิเคราะห์
7. ทักษะการสรปุ ลงความ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน

คดิ เหน็

แผนฯ ท่ี 2 แบบกระบวนการ 1. ทกั ษะการแสวงหา 1. ตรวจใบงานที่ 1.2.1 เรอ่ื ง คณุ ธรรม 1
คณุ ธรรมและ สร้างความตระหนกั ความรู้ และจริยธรรมในการทำงาน
จริยธรรมในการ
ทำงาน 2. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 2. ตรวจกจิ กรรมในแบบวดั และบันทกึ ผล
3. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การเรียนรู้
4. ทักษะการประยุกตใ์ ช้
3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
ความรู้ 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
5. ทักษะการสรุปลงความ 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
6. สังเกตความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ มวี นิ ยั
คดิ เหน็
ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทำงาน
มีจติ สาธารณะ

แผนฯ ท่ี 3 แบบกระบวนการ 1. ทักษะการแสวงหา 1. ตรวจใบงานท่ี 1.3.1 เรอ่ื ง การใช้ 1
การใชท้ รพั ยากรใน สรา้ งความตระหนัก ความรู้ ทรพั ยากรในการปฏบิ ตั ิงาน
การปฏบิ ตั ิงาน
2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 2. ตรวจกิจกรรมในแบบวดั และบนั ทึกผล
3. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ การเรียนรู้
4. ทกั ษะการประยกุ ต์ใช้
3. ตรวจกิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนา
ความรู้ การเรียนรู้
5. ทกั ษะการสรปุ ลงความ
4. ประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
คิดเหน็ 5. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
7. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
8. สังเกตความใฝเ่ รยี นรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง

มุ่งมั่นในการทำงาน
9. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น

8

หน่วย แผนการจัดการ วธิ ีสอน/วิธีการจัด ทักษะท่ีได้ การประเมิน เวลา
การเรียนรู้ เรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (ชั่วโมงเรียน)
2. ผา้ และการ แผนฯ ที่ 1 แบบกระบวนการเรยี น ทำงาน 2. ตรวจใบงานท่ี 2.1.1 เรอ่ื ง การดแู ล 2
ตดั เย็บ การดแู ลรกั ษาเสอ้ื ผา้ ความรู้ ความเขา้ ใจ
และเคร่ือง 2. ทักษะการจดั การ รกั ษาเสอ้ื ผ้าและเครอ่ื งประกอบ 2
ประกอบการแต่งกาย 3. ทักษะกระบวนการ การแตง่ กาย
3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบนั ทกึ ผล 2
แผนฯ ท่ี 2 แบบเน้นกระบวนการ แกป้ ัญหา การเรียนรู้
4. ทักษะการแสวงหา 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน 2
การซ่อมแซมเส้ือผา้ ปฏบิ ตั ิ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ความรู้ 6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
แผนฯ ท่ี 3 แบบเน้นกระบวนการ 5. ทักษะการทำงาน 7. สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่าง
การตกแต่งเสือ้ ผ้า ปฏบิ ตั ิ พอเพยี ง มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
รว่ มกนั
แผนฯ ที่ 4 แบบเน้นกระบวนการ 6. ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 1. ตรวจใบงานที่ 2.2.1 เรอ่ื ง การ
7. ทักษะการทำงานกลมุ่ ซอ่ มแซมเสื้อผา้
การดัดแปลงเสือ้ ผา้ ปฏิบัติ 8. ทักษะการสรปุ ลงความ
2. ประเมินการนำเสนอผลงาน
คิดเห็น 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
1. ทักษะกระบวนการ 4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
5. สังเกตความมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ ง
ทำงาน
2. ทักษะการจัดการ พอเพียง ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
3. ทกั ษะกระบวนการ
1. ตรวจใบงานท่ี 2.3.1 เรอ่ื ง การตกแตง่
แกป้ ัญหา เสือ้ ผา้
4. ทักษะการแสวงหา
2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
ความรู้ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
5. ทักษะการประยกุ ต์ใช้ 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ ง
ความรู้
1. ทกั ษะกระบวนการ พอเพียง มุง่ ม่ันในการทำงาน

ทำงาน 1. ตรวจใบงานท่ี 2.4.1 เรอ่ื ง การ
2. ทักษะการจดั การ ดดั แปลงเสื้อผา้
3. ทักษะกระบวนการ
2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
แกป้ ญั หา 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
4. ทกั ษะการแสวงหา 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่
5. สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่าง
ความรู้
5. ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้ พอเพียง ม่งุ มั่นในการทำงาน

ความรู้
6. ทกั ษะการทำงานกลุ่ม
1. ทักษะกระบวนการ

ทำงาน
2. ทกั ษะการจดั การ
3. ทกั ษะกระบวนการ

แก้ปญั หา
4. ทักษะการแสวงหา

ความรู้
5. ทกั ษะการ

ประยุกต์ใชค้ วามรู้
6. ทักษะการทำงานกล่มุ

9

หนว่ ย แผนการจดั การ วธิ ีสอน/วิธีการจดั ทกั ษะที่ได้ การประเมนิ เวลา
การเรยี นรู้ เรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) (ช่วั โมงเรยี น)
แผนฯ ท่ี 5 แบบใชโ้ ครงการเป็นหลัก ทำงาน 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
การตัดเยบ็ (Project-Based 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล 2
Instruction) 2. ทกั ษะการจดั การ 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
3. ทักษะกระบวนการ 5. สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อยา่ ง

แก้ปัญหา พอเพยี ง มุ่งมั่นในการทำงาน
4. ทักษะการแสวงหา 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น

ความรู้
5. ทักษะการประยุกต์ใช้

ความรู้
6. ทักษะการทำงานกลุ่ม

3. อาหาร แผนฯ ที่ 1 แบบสบื เสาะหาความรู้ 1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน 2
ประเภทสำรบั อาหารประเภท (Inquiry Method : 5Es) ทำงาน 2. ตรวจใบงานท่ี 3.1.1 เร่อื ง อาหาร
สำรบั
2. ทกั ษะการจัดการ ประเภทสำรบั
3. ทกั ษะกระบวนการ 3. ตรวจกิจกรรมในแบบวัดและบันทกึ ผล

แกป้ ญั หา การเรียนรู้
4. ทักษะการแสวงหา 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
ความรู้ 6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
5. ทักษะการทำงาน 7. สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่าง

รว่ มกัน พอเพียง มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
6. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
7. ทกั ษะการทำงานกลมุ่
8. ทักษะการสรุปลงความ

คดิ เห็น

แผนฯ ท่ี 2 แบบกระบวนการกลุม่ 1. ทักษะกระบวนการ 1. ประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 2
ทำงาน 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
การจดั และตกแต่ง 3. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
2. ทกั ษะการจดั การ 4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
อาหารประเภทสำรบั 3. ทกั ษะกระบวนการ 5. สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่าง

แกป้ ญั หา พอเพยี ง มุ่งมั่นในการทำงาน
4. ทักษะการแสวงหา 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน

ความรู้
5. ทักษะการทำงาน

รว่ มกัน
6. ทักษะการประยกุ ต์ใช้

ความรู้
7. ทกั ษะการทำงานกลมุ่

10

หน่วย แผนการจัดการ วิธสี อน/วธิ กี ารจัด ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา
การเรียนรู้ เรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน (ช่ัวโมงเรียน)
4. การปฏิบัติงาน แผนฯ ท่ี 1 แบบกระบวนการเรียน ทำงาน 2. ตรวจใบงานท่ี 4.1.1 เรือ่ ง งานชา่ ง
ชา่ งในบ้าน งานช่างในบา้ น ความรู้ ความเข้าใจ 1
2. ทกั ษะการจดั การ ในบา้ น
3. ทกั ษะกระบวนการ 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวดั และบันทกึ ผล

แก้ปญั หา การเรียนรู้
4. ทักษะการแสวงหา 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ความรู้ 6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
5. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 7. สังเกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ อยอู่ ยา่ ง
6. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
7. ทกั ษะการทำงานกลุ่ม พอเพยี ง มุ่งม่ันในการทำงาน
8. ทักษะการสรปุ ลงความ

คิดเหน็

แผนฯ ท่ี 2 แบบกระบวนการสาธติ 1. ทักษะกระบวนการ 1. ตรวจการติดต้งั และประกอบผลิตภณั ฑ์ 2
การปฏิบตั ิงานช่าง ทำงาน 2. ตรวจกจิ กรรมสรา้ งสรรคพ์ ฒั นาการ
ในบา้ น : การติดตงั้
และประกอบ 2. ทักษะการจดั การ เรียนรู้
ผลติ ภัณฑ์ 3. ทักษะกระบวนการ 3. ประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
แกป้ ญั หา 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
4. ทกั ษะการแสวงหา 6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
7. สังเกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ยา่ ง
ความรู้
5. ทกั ษะการทำงาน พอเพยี ง มุ่งมนั่ ในการทำงาน
8. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น
ร่วมกนั
6. ทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้

ความรู้
7. ทักษะการทำงานกล่มุ

5. การประดษิ ฐ์ แผนฯ ที่ 1 แบบกระบวนการเรียน 1. ทักษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน 2
บรรจภุ ัณฑ์จาก การบรรจุภัณฑ์ ความรู้ ความเข้าใจ ทำงาน 2. ตรวจใบงานที่ 5.1.1 เรอ่ื ง
วสั ดุธรรมชาติ
2. ทักษะการจัดการ การบรรจภุ ณั ฑ์
3. ทักษะกระบวนการ 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวดั และบันทึกผล

แก้ปญั หา การเรยี นรู้
4. ทักษะการแสวงหา 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
ความรู้ 6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
5. ทักษะการใหเ้ หตุผล 7. สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่นั ใน
6. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
7. ทักษะการสรปุ ลงความ การทำงาน

คดิ เห็น

11

หนว่ ย แผนการจัดการ วธิ ีสอน/วธิ กี ารจัด ทักษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา
การเรยี นรู้ เรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้
(ชัว่ โมงเรยี น)
แผนฯ ที่ 2 แบบกระบวนการเรยี น 1. ทักษะกระบวนการ 1. ตรวจใบงานท่ี 5.2.1 เรือ่ ง การ
การประดิษฐบ์ รรจุ ความรู้ ความเข้าใจ ทำงาน ประดิษฐ์บรรจุภณั ฑจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติ 1
ภัณฑจ์ ากวัสดุ
ธรรมชาติ 2. ทกั ษะการจดั การ 2. ตรวจกจิ กรรมในแบบปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
3. ทกั ษะกระบวนการ ชดุ กจิ กรรม : งานประดิษฐ์

แก้ปัญหา 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
4. ทกั ษะการแสวงหา 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
ความรู้ 6. สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่นั ใน
5. ทกั ษะการทำงาน
การทำงาน
รว่ มกัน
6. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
7. ทักษะการทำงานกลมุ่
8. ทักษะการสรปุ ลงความ

คิดเหน็

แผนฯ ที่ 3 แบบเน้นกระบวนการ 1. ทักษะกระบวนการ 1. ประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 2
ตวั อยา่ งการประดษิ ฐ์ ปฏิบัติ ทำงาน 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
บรรจุภณั ฑจ์ ากวัสดุ 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
ธรรมชาติ 2. ทกั ษะการจดั การ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
3. ทกั ษะกระบวนการ 5. สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ยา่ ง

แกป้ ญั หา พอเพยี ง ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
4. ทกั ษะการแสวงหา 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น

ความรู้
5. ทกั ษะการทำงาน

รว่ มกนั
6. ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้

ความรู้
7. ทักษะการทำงานกลุ่ม

6. การขยาย แผนฯ ที่ 1 แบบกระบวนการเรียน 1. ทักษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน 2
พนั ธุ์พืช การขยายพนั ธุพ์ ืช ความรู้ ความเขา้ ใจ ทำงาน 2. ตรวจใบงานที่ 6.1.1 เร่ือง การ

2. ทักษะการจดั การ ขยายพนั ธ์พุ ืช
3. ทกั ษะกระบวนการ 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวดั และบนั ทึกผล

แกป้ ัญหา การเรยี นรู้
4. ทกั ษะการแสวงหา 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
ความรู้ 6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
5. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 7. สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มน่ั
6. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
7. ทกั ษะการสรุปลงความ ในการทำงาน

คิดเหน็

12

หนว่ ย แผนการจัดการ วิธสี อน/วธิ กี ารจดั ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา
การเรยี นรู้ เรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ทักษะกระบวนการ 1. ตรวจใบงานที่ 6.2.1 เรือ่ ง วิธีการ (ชว่ั โมงเรียน)
แผนฯ ท่ี 2 แบบสบื เสาะหาความรู้ ทำงาน ขยายพนั ธพ์ุ ืช
วธิ กี ารขยายพนั ธุพ์ ชื (Inquiry Method : 5Es) 2
2. ทกั ษะการจดั การ 2. ประเมินการนำเสนอผลงาน
3. ทกั ษะกระบวนการ 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
แก้ปญั หา 5. สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มน่ั
4. ทักษะการแสวงหา
ในการทำงาน
ความรู้
5. ทักษะการทำงาน

ร่วมกัน
6. ทักษะการคิดวเิ คราะห์
7. ทกั ษะการทำงานกลุ่ม
8. ทกั ษะการสรปุ ลงความ

คิดเหน็

แผนฯ ท่ี 3 แบบกระบวนการปฏบิ ตั ิ 1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 2
ตวั อย่างการ ทำงาน 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
ขยายพันธุ์พชื 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
2. ทกั ษะการจดั การ 4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
3. ทักษะกระบวนการ 5. สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ย่าง

แก้ปัญหา พอเพียง มุ่งมนั่ ในการทำงาน
4. ทกั ษะการแสวงหา 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น

ความรู้
5. ทักษะการทำงาน

ร่วมกัน
6. ทักษะการประยกุ ต์ใช้

ความรู้

7. การดำเนนิ งาน แผนฯ ที่ 1 แบบสบื เสาะหาความรู้ 1. ทักษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2
ธรุ กิจ งานธุรกิจ (Inquiry Method : 5Es) ทำงาน 2. ตรวจใบงานที่ 7.1.1 เรื่อง งานธรุ กิจ
3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
2. ทักษะการจัดการ 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
3. ทกั ษะกระบวนการ 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
6. สงั เกตความมีวินยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั่
แก้ปญั หา
4. ทกั ษะการแสวงหา ในการทำงาน

ความรู้
5. ทักษะการทำงาน

ร่วมกนั
6. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
7. ทกั ษะการทำงานกลมุ่
8. ทกั ษะการสรปุ ลงความ

คดิ เห็น

13

หน่วย แผนการจดั การ วธิ สี อน/วิธกี ารจัด ทักษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา
การเรียนรู้ เรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ทักษะกระบวนการ 1. ตรวจใบงานท่ี 7.2.1 เรอ่ื ง การ (ชว่ั โมงเรยี น)
แผนฯ ที่ 2 การ แบบกระบวนการกลุ่ม ทำงาน ดำเนินงานธุรกจิ
ดำเนินงานธรุ กิจ 1
2. ทักษะการจัดการ 2. ตรวจกิจกรรมในแบบวัดและบนั ทกึ ผล
3. ทักษะกระบวนการ การเรียนรู้

แก้ปญั หา 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
4. ทักษะการแสวงหา 4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
ความรู้ 6. สังเกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งม่นั
5. ทักษะการทำงาน
ในการทำงาน
รว่ มกัน
6. ทักษะการประยกุ ตใ์ ช้

ความรู้
7. ทกั ษะการทำงานกลมุ่

แผนฯ ที่ 3 ตัวอยา่ ง แบบใชโ้ ครงการเป็นหลัก 1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 2
การวางแผนธรุ กิจ (Project-Based ทำงาน 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
Instruction) 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
2. ทกั ษะการจัดการ 4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่
3. ทกั ษะกระบวนการ 5. สังเกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น

แก้ปัญหา ในการทำงาน
4. ทักษะการแสวงหา 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน

ความรู้
5. ทกั ษะการทำงาน

ร่วมกนั
6. ทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้

ความรู้
7. ทักษะการทำงานกลุม่

8. แนวทาง แผนฯ ท่ี 1 แบบกระบวนการกลุม่ 1. ทกั ษะกระบวนการ 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 2
ทำงาน 2. ตรวจใบงานท่ี 8.1.1 เรอ่ื ง การ
การเข้าสูอ่ าชีพ แนวทางการ
2. ทักษะการจดั การ ประกอบอาชีพ
ประกอบอาชีพ 3. ทักษะกระบวนการ 3. ตรวจใบงานที่ 8.1.2 เรื่อง

แกป้ ัญหา แนวทางการประกอบอาชีพ
4. ทักษะการแสวงหา 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
ความรู้ 6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
5. ทักษะการให้เหตผุ ล 7. สงั เกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั ใน
6. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
7. ทกั ษะการสรปุ ลงความ การทำงาน

คิดเห็น

14

หนว่ ย แผนการจัดการ วธิ ีสอน/วธิ ีการจดั ทักษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา
การเรียนรู้ เรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้
(ชั่วโมงเรยี น)
แผนฯ ท่ี 2 แบบกระบวนการสรา้ ง 1. ทักษะกระบวนการ 1. ประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
การศกึ ษาต่อ ความตระหนัก ทำงาน 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 2
เพอ่ื เข้าสู่อาชพี 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
2. ทกั ษะการจัดการ 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
3. ทักษะกระบวนการ 5. สังเกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น

แกป้ ัญหา ในการทำงาน
4. ทักษะการแสวงหา 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน

ความรู้
5. ทักษะการใหเ้ หตุผล
6. ทักษะการคิดวิเคราะห์
7. ทกั ษะการสรปุ ลงความ

คิดเห็น

15

โครงสรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้ ร

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจดั กจิ กรรมการ
เรียนรู้
1. หลักการทำงาน แผนฯ ที่ 1 ทกั ษะการทำงานร่วมกนั 1. ทกั
แบบกระบวนการเรยี น 2. ทกั
เพ่อื การดำรงชพี และทกั ษะการจัดการ ความรู้ ความเข้าใจ 3. ทกั
4. ทกั
แผนฯ ท่ี 2 คุณธรรมและจริยธรรม แบบกระบวนการ 5. ทกั
ในการทำงาน สรา้ งความตระหนัก 6. ทกั
7. ทกั
แผนฯ ที่ 3 การใชท้ รพั ยากรในการ แบบกระบวนการ 1. ทกั
ปฏิบัตงิ าน สร้างความตระหนกั 2. ทกั
3. ทกั
4. ทกั
5. ทัก
1. ทัก
2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก

รายวชิ าพืน้ ฐาน การงานอาชพี ม.3

เวลา 40 ชว่ั โมง

ทกั ษะทไี่ ด้ การประเมนิ เวลา

กษะกระบวนการทำงาน (ช่ัวโมงเรยี น)
กษะการจัดการ
กษะกระบวนการแกป้ ญั หา 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน 1
กษะการแสวงหาความรู้
กษะการใหเ้ หตผุ ล 2. ตรวจใบงานท่ี 1.1.1 เรอื่ ง ทักษะการทำงาน
กษะการคดิ วิเคราะห์
กษะการสรุปลงความคดิ เหน็ ร่วมกันและทกั ษะการจดั การ
กษะการแสวงหาความรู้
กษะการใหเ้ หตุผล 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวดั และบันทกึ ผลการเรียนรู้
กษะการคิดวิเคราะห์
กษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กษะการสรุปลงความคิดเหน็
กษะการแสวงหาความรู้ 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
กษะการให้เหตุผล
กษะการคดิ วิเคราะห์ 6. สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการทำงาน
กษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้
กษะการสรปุ ลงความคดิ เหน็ 1. ตรวจใบงานที่ 1.2.1 เรอ่ื ง คุณธรรมและจริยธรรม 1

ในการทำงาน

2. ตรวจกิจกรรมในแบบวัดและบนั ทึกผลการเรยี นรู้

3. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล

4. สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน

1. ตรวจใบงานท่ี 1.3.1 เร่อื ง การใชท้ รพั ยากรใน 1

การปฏิบัติงาน

2. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบันทกึ ผลการเรยี นรู้

3. ตรวจกิจกรรมสรา้ งสรรคพ์ ัฒนาการเรียนรู้

4. ประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

5. ประเมินการนำเสนอผลงาน

6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

7. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

8. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ วิธีสอน/วิธกี ารจดั กิจกรรม

2. ผา้ และการตดั เย็บ การเรยี นรู้

แผนฯ ที่ 1 การดแู ลรกั ษาเสื้อผ้าและ แบบกระบวนการเรยี น 1. ทัก
2. ทัก
เครือ่ งประกอบการแตง่ กาย ความรู้ ความเข้าใจ 3. ทัก
4. ทัก
แผนฯ ที่ 2 การซ่อมแซมเสือ้ ผา้ แบบกระบวนการปฏบิ ัติ 5. ทกั
6. ทกั
แผนฯ ท่ี 3 การตกแต่งเสื้อผ้า แบบกระบวนการปฏบิ ตั ิ 7. ทกั
8. ทกั
แผนฯ ท่ี 4 การดัดแปลงเส้ือผ้า แบบกระบวนการปฏิบัติ 1. ทกั
2. ทกั
3. ทัก
4. ทกั
5. ทกั
1. ทัก
2. ทกั
3. ทกั
4. ทกั
5. ทกั
6. ทกั
1. ทกั ษ
2. ทักษ
3. ทกั ษ
4. ทกั ษ
5. ทกั ษ
6. ทกั ษ

ทักษะทไี่ ด้ การประเมนิ เวลา
(ชั่วโมงเรียน)
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
กษะการจดั การ 2. ตรวจใบงานท่ี 2.1.1 เรอื่ ง การดแู ลรกั ษาเสือ้ ผา้ 2
กษะกระบวนการแกป้ ัญหา
กษะการแสวงหาความรู้ และเครือ่ งประกอบการแต่งกาย
กษะการทำงานร่วมกนั 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวดั และบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้
กษะการคิดวเิ คราะห์ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการทำงานกลุ่ม 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
กษะการสรุปลงความคิดเห็น 6. สงั เกตความมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน
กษะกระบวนการทำงาน
กษะการจดั การ 1. ตรวจการซอ่ มแซมเสอ้ื ผ้า 2
กษะกระบวนการแก้ปัญหา 2. ประเมินการนำเสนอผลงาน 2
กษะการแสวงหาความรู้ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
กษะการประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ 4. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง
กษะกระบวนการทำงาน
กษะการจัดการ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
กษะกระบวนการแกป้ ัญหา 1. ตรวจการตกแตง่ เส้อื ผ้า
กษะการแสวงหาความรู้ 2. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
กษะการทำงานกลุม่ 4. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง
ษะกระบวนการทำงาน
ษะการจดั การ มุง่ มั่นในการทำงาน
ษะกระบวนการแกป้ ญั หา
ษะการแสวงหาความรู้ 1. ตรวจการดัดแปลงเสื้อผา้ 2
ษะการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ 2. ประเมินการนำเสนอผลงาน
ษะการทำงานกลมุ่ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
4. สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียง

มุ่งมน่ั ในการทำงาน

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ ีสอน/วิธีการจัดกจิ กรรม 1. ทัก
การเรียนรู้ 2. ทัก
แผนฯ ที่ 5 การตัดเยบ็ เส้อื ผ้า 3. ทัก
แบบใช้โครงการเปน็ หลกั 4. ทัก
(Project-Based Instruction) 5. ทัก
6. ทัก

3. อาหารประเภท แผนฯ ท่ี 1 อาหารประเภทสำรับ แบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทกั
สำรับ (Inquiry Method : 5Es) 2. ทกั
3. ทกั
แผนฯ ท่ี 2 การเตรยี ม ประกอบ จดั แบบกระบวนการกลุ่ม 4. ทกั
และ 5. ทกั
6. ทกั
ตกแต่งอาหารประเภท 7. ทกั
สำรับ 8. ทกั
1. ทัก
2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทัก

ทักษะทีไ่ ด้ การประเมนิ เวลา
(ช่ัวโมงเรียน)
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจการตดั เยบ็ เส้ือผา้
กษะการจดั การ 2. ตรวจกจิ กรรมสรา้ งสรรคพ์ ฒั นาการเรียนรู้ 2
กษะกระบวนการแก้ปญั หา 3. ประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
กษะการแสวงหาความรู้ 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 1
กษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กษะการทำงานกลุ่ม 6. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง

กษะกระบวนการทำงาน ม่งุ ม่นั ในการทำงาน
กษะการจดั การ 7. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
กษะกระบวนการแก้ปญั หา 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
กษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจใบงานท่ี 3.1.1 เร่อื ง อาหารประเภทสำรับ
กษะการทำงานรว่ มกนั 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบันทกึ ผลการเรียนรู้
กษะการคิดวเิ คราะห์ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการทำงานกลุ่ม 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่
กษะการสรปุ ลงความคดิ เหน็ 6. สังเกตความมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน
กษะกระบวนการทำงาน
กษะการจดั การ 1. ตรวจการเตรียม ประกอบ จดั และตกแตง่ อาหาร 3
กษะกระบวนการแกป้ ัญหา ประเภทสำรับ
กษะการแสวงหาความรู้
กษะการทำงานรว่ มกัน 2. ตรวจกิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้
กษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 3. ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
กษะการทำงานกล่มุ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
6. สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
7. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วิธีสอน/วิธกี ารจัดกิจกรรม 1. ทัก
การเรียนรู้ 2. ทัก
4. การปฏิบัติงานช่าง แผนฯ ท่ี 1 งานช่างในบา้ น 3. ทัก
ในบา้ น แบบกระบวนการเรยี น 4. ทัก
ความรู้ ความเขา้ ใจ 5. ทัก
6. ทัก
แผนฯ ที่ 2 การปฏบิ ัตงิ านช่างในบ้าน : แบบกระบวนการสาธติ 7. ทัก
การติดตง้ั และประกอบ 8. ทกั
ผลติ ภณั ฑ์ 1. ทัก
2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทกั

5. การประดษิ ฐ์ แผนฯ ที่ 1 การบรรจุภัณฑ์ แบบกระบวนการเรยี น 1. ทัก
บรรจุภณั ฑจ์ าก ความรู้ ความเข้าใจ 2. ทัก
วัสดุธรรมชาติ 3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทัก

ทักษะท่ไี ด้ การประเมิน เวลา
(ชั่วโมงเรยี น)
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน
กษะการจดั การ 2. ตรวจใบงานท่ี 4.1.1 เรือ่ ง งานช่างในบา้ น 1
กษะกระบวนการแก้ปัญหา 3. ตรวจกิจกรรมในแบบวดั และบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้
กษะการแสวงหาความรู้ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการให้เหตผุ ล 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
กษะการคดิ วเิ คราะห์ 6. สงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ ม่ันในการทำงาน
กษะการทำงานกลุม่
กษะการสรุปลงความคดิ เหน็ 1. ตรวจการติดต้ังและประกอบผลิตภณั ฑ์ 2
กษะกระบวนการทำงาน 2. ตรวจกิจกรรมสร้างสรรคพ์ ฒั นาการเรียนรู้ 2
กษะการจดั การ 3. ประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
กษะกระบวนการแก้ปญั หา 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กษะการแสวงหาความรู้ 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ
กษะการทำงานร่วมกนั 6. สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง
กษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้
กษะการทำงานกลมุ่ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
7. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
กษะการจัดการ 2. ตรวจใบงานท่ี 5.1.1 เรื่อง การบรรจุภณั ฑ์
กษะกระบวนการแกป้ ญั หา 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบนั ทึกผลการเรียนรู้
กษะการแสวงหาความรู้ 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กษะการใหเ้ หตผุ ล 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
กษะการคิดวเิ คราะห์ 6. สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มน่ั ในการทำงาน
กษะการสรปุ ลงความคดิ เห็น

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วธิ สี อน/วิธกี ารจัดกจิ กรรม 1. ทัก
การเรียนรู้ 2. ทัก
แผนฯ ท่ี 2 การประดษิ ฐบ์ รรจภุ ัณฑ์ 3. ทกั
จาก แบบสืบเสาะหาความรู้ 4. ทกั
(Inquiry Method : 5Es) 5. ทกั
วสั ดุธรรมชาติ 6. ทกั
แบบใช้โครงการเป็นหลัก 7. ทกั
แผนฯ ท่ี 3 ตวั อยา่ งการประดิษฐ์ (Project-Based Instruction) 8. ทกั
บรรจภุ ัณฑ์จากวสั ดุ 1. ทกั
2. ทัก
ธรรมชาติ 3. ทกั
4. ทกั
5. ทกั
6. ทกั
7. ทกั

6. การขยายพนั ธ์ุพืช แผนฯ ท่ี 1 การขยายพันธพ์ุ ืช แบบกระบวนการเรยี น 1. ทัก
ความรู้ ความเขา้ ใจ 2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทัก

ทักษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา
(ชั่วโมงเรียน)
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจใบงานท่ี 5.2.1 เรื่อง การประดิษฐ์
กษะการจดั การ บรรจภุ ัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ 2
กษะกระบวนการแกป้ ัญหา
กษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจกิจกรรมในแบบวัดและบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้
กษะการทำงานรว่ มกัน 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการคิดวิเคราะห์ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กษะการทำงานกลมุ่ 5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
กษะการสรุปลงความคิดเหน็
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจการประดิษฐบ์ รรจภุ ัณฑจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติ 2
กษะการจัดการ 2. ตรวจกจิ กรรมสรา้ งสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ 2
กษะกระบวนการแก้ปญั หา 3. ประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
กษะการแสวงหาความรู้ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการทำงานรว่ มกนั 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
กษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 6. สงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง
กษะการทำงานกล่มุ
มุง่ มัน่ ในการทำงาน
กษะกระบวนการทำงาน 7. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
กษะการจัดการ 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
กษะกระบวนการแก้ปัญหา 2. ตรวจใบงานที่ 6.1.1 เรอ่ื ง การขยายพันธุ์พืช
กษะการแสวงหาความรู้ 3. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบนั ทกึ ผลการเรียนรู้
กษะการให้เหตุผล 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการคดิ วเิ คราะห์ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
กษะการสรุปลงความคดิ เหน็ 6. สงั เกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจดั กจิ กรรม 1. ทัก
การเรียนรู้ 2. ทัก
แผนฯ ที่ 2 วิธีการขยายพันธ์ุพืช 3. ทัก
แบบสืบเสาะหาความรู้ 4. ทัก
แผนฯ ท่ี 3 ตัวอยา่ งการขยายพันธุ์พชื (Inquiry Method : 5Es) 5. ทัก
6. ทัก
แบบกระบวนการปฏบิ ัติ 7. ทัก
8. ทัก
1. ทัก
2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทกั

7. การดำเนนิ งาน แผนฯ ท่ี 1 งานธรุ กิจ แบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทัก
ธุรกิจ (Inquiry Method : 5Es) 2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทัก
8. ทัก

ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมิน เวลา
(ชัว่ โมงเรยี น)
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจใบงานที่ 6.2.1 เร่อื ง วธิ กี ารขยายพันธพุ์ ชื
กษะการจดั การ 2. ตรวจกจิ กรรมในแบบวดั และบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ 2
กษะกระบวนการแกป้ ญั หา 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กษะการแสวงหาความรู้ 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
กษะการทำงานร่วมกนั 5. สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
กษะการคิดวเิ คราะห์
กษะการทำงานกลมุ่ 1. ตรวจการขยายพันธพ์ุ ชื 2
กษะการสรุปลงความคดิ เห็น 2. ตรวจกิจกรรมสรา้ งสรรค์พฒั นาการเรียนรู้ 1
กษะกระบวนการทำงาน 3. ประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
กษะการจัดการ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะกระบวนการแกป้ ัญหา 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
กษะการแสวงหาความรู้ 6. สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง
กษะการทำงานรว่ มกนั
กษะการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
7. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
กษะการจดั การ 2. ตรวจใบงานท่ี 7.1.1 เร่อื ง งานธรุ กิจ
กษะกระบวนการแกป้ ญั หา 3. ตรวจกิจกรรมในแบบวัดและบันทึกผลการเรยี นรู้
กษะการแสวงหาความรู้ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการทำงานร่วมกนั 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
กษะการคดิ วิเคราะห์ 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
กษะการทำงานกลุ่ม
กษะการสรปุ ลงความคดิ เห็น

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วธิ ีการจัดกจิ กรรม 1. ทัก
การเรียนรู้ 2. ทัก
แผนฯ ที่ 2 การดำเนินงานธรุ กจิ 3. ทัก
แบบกระบวนการกลุม่ 4. ทัก
แผนฯ ท่ี 3 ตัวอย่างการวางแผนธรุ กิจ 5. ทกั
แบบใช้โครงการเป็นหลกั 6. ทกั
8. แนวทางการเข้าสู่ แผนฯ ท่ี 1 การประกอบอาชีพ (Project-Based Instruction) 7. ทกั
อาชีพ
แบบร่วมมอื 1. ทัก
2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทัก
1. ทัก
2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทัก

ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา
(ชั่วโมงเรียน)
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจใบงานท่ี 7.2.1 เรอื่ ง การดำเนินงานธรุ กจิ
กษะการจดั การ 2. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบันทึกผลการเรยี นรู้ 1
กษะกระบวนการแก้ปัญหา 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กษะการแสวงหาความรู้ 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
กษะการทำงานรว่ มกนั 5. สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน
กษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้
กษะการทำงานกลมุ่ 1. ตรวจการวางแผนธุรกจิ 2
กษะกระบวนการทำงาน 2. ตรวจกิจกรรมสรา้ งสรรค์พฒั นาการเรยี นรู้ 1
กษะการจดั การ 3. ประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
กษะกระบวนการแกป้ ัญหา 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กษะการแสวงหาความรู้ 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
กษะการทำงานร่วมกัน 6. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน
กษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 7. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
กษะการทำงานกล่มุ 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
กษะกระบวนการทำงาน 2. ตรวจใบงานที่ 8.1.1 เรอื่ ง การประกอบอาชพี
กษะการจดั การ 3. ตรวจกิจกรรมในแบบวัดฯ
กษะกระบวนการแกป้ ญั หา 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กษะการแสวงหาความรู้ 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
กษะการใหเ้ หตผุ ล 6. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ มุง่ มน่ั ในการทำงาน
กษะการคดิ วิเคราะห์
กษะการสรุปลงความคดิ เหน็

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ สี อน/วิธีการจัดกจิ กรรม 1. ทกั
การเรียนรู้ 2. ทกั
แผนฯ ท่ี 2 แนวทางของการประกอบ 3. ทกั
อาชีพ แบบกระบวนการกล่มุ 4. ทกั
5. ทกั
แผนฯ ท่ี 3 การศกึ ษาตอ่ เพอื่ เขา้ สู่ แบบกระบวนการสรา้ งความ 6. ทกั
อาชีพ ตระหนกั 7. ทกั

1. ทกั
2. ทัก
3. ทัก
4. ทัก
5. ทัก
6. ทัก
7. ทัก

ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา
(ช่ัวโมงเรยี น)
กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจใบงานท่ี 8.2.1 เรือ่ ง แนวทางของการ
กษะการจัดการ ประกอบอาชีพ 2
กษะกระบวนการแกป้ ญั หา
กษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจกิจกรรมในแบบวดั และบนั ทกึ ผลการเรียนรู้
กษะการทำงานร่วมกนั 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
กษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
กษะการทำงานกลุ่ม 5. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

กษะกระบวนการทำงาน 1. ตรวจใบงานที่ 8.3.1 เร่ือง การศึกษาตอ่ เพื่อเขา้ สู่ 1
กษะการจดั การ อาชีพ
กษะกระบวนการแก้ปัญหา
กษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจกจิ กรรมในแบบวัดและบันทกึ ผลการเรียนรู้
กษะการให้เหตุผล 3. ตรวจกจิ กรรมสรา้ งสรรค์พฒั นาการเรียนรู้
กษะการคิดวเิ คราะห์ 4. ประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
กษะการสรุปลงความคดิ เห็น 5. ประเมินการนำเสนอผลงาน
6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
7. สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
8. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4

การปฏบิ ัติงานชา่ งในบ้าน

เวลา 3 ช่วั โมง

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั

ง 1.1 เขา้ ใจการทำงาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มที ักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจดั การ ทักษะกระบวนการ
แก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการ
ทำงาน มจี ติ สำนึกในการใช้พลังงาน ทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม เพอื่ การดำรงชวี ิตและครอบครวั
ม.3/1 อภปิ รายข้ันตอนการทำงานที่มปี ระสิทธภิ าพ
ม.3/2 ใชท้ ักษะในการทำงานร่วมกนั อย่างมีคณุ ธรรม
ม.3/3 อภิปรายการทำงานโดยใช้ทกั ษะการจัดการ เพ่อื การประหยัดพลังงาน ทรัพยากร
และส่งิ แวดล้อม

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

การติดตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ภายในบ้าน จัดเป็นกระบวนการปฏิบัติงานช่างในบ้านรูปแบบหนึ่ง
ที่สามารถศึกษา เรียนรู้ และลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง เป็นการสร้าง การติดตั้ง การประกอบสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ
ไวใ้ ชภ้ ายในครัวเรอื น เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำรงชวี ิต โดยนำทักษะการทำงานและทักษะการจัดการมาประยุกต์ใช้
เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความปลอดภยั โดยคำนึงถงึ การประหยดั พลงั งาน ทรพั ยากร และ
ส่ิงแวดลอ้ มรว่ มดว้ ย

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
1) ขัน้ ตอนการทำงานทีม่ ีประสทิ ธิภาพ เป็นการปฏบิ ัตติ ามกระบวนการทำงาน โดยการทำตามลำดบั
ขนั้ ตอนมคี วามสามารถทำงานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายที่วางไว้ เชน่ การสร้างชนิ้ งาน หรอื ผลงาน
2) ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั เป็นการสร้างใหผ้ เู้ รยี นสามารถทำงานและอยู่รว่ มกนั ไดอ้ ย่างมีความสุขและ
มคี ณุ ธรรม
3) ทกั ษะการจัดการ เป็นการจดั ระบบงานและระบบคน เพ่อื ใหท้ ำงานสำเร็จตามเปา้ หมายอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ เช่น การติดตัง้ /ประกอบผลิตภณั ฑ์

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ
(พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา)

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. อยู่อย่างพอเพยี ง
4. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

6. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

การติดตัง้ และประกอบผลิตภัณฑ์

7. การวัดและประเมินผล วธิ ีวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
- ตรวจชิน้ งาน การติดต้งั และ - แบบประเมนิ ชนิ้ งาน ระดบั คณุ ภาพ 2
รายการวัด ประกอบผลิตภัณฑ์ การตดิ ตัง้ และประกอบ ผ่านเกณฑ์
7.1 การประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ผลติ ภณั ฑ์ ประเมินตามสภาพจริง
- แบบทดสอบก่อนเรียน
(รวบยอด) การติดต้งั และ - ตรวจใบงานท่ี 4.1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ประกอบผลติ ภัณฑ์ - ใบงานที่ 4.1.1
7.2 การประเมนิ ก่อนเรยี น
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4
เรอ่ื ง การปฏิบัติงานชา่ งในบ้าน
7.3 การประเมนิ ระหว่างการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้
1) งานช่างในบ้าน

รายการวดั วิธีวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน
2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอผลงาน - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2
รายบคุ คล รายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
- สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
4) พฤติกรรมการทำงานกล่มุ กลมุ่ การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
- สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดับคุณภาพ 2
5) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ อยู่อย่างพอเพียง และมุ่งมน่ั อันพงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์
ในการทำงาน
7.4 การประเมนิ หลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ
แบบทดสอบหลังเรยี น
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4
เร่อื ง การปฏบิ ตั ิงานชา่ งในบ้าน

8. กิจกรรมการเรยี นรู้

นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เร่อื ง การปฏบิ ตั ิงานชา่ งในบา้ น

เรือ่ งท่ี 1 งานชา่ งในบ้าน เวลา 1 ชว่ั โมง

วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการเรียนความรู้ ความเขา้ ใจ

ข้นั นำ

1. ครแู จง้ ชือ่ เรือ่ งทจ่ี ะเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนทราบ จากนน้ั ให้นกั เรยี นแต่ละคนทำแบบทดสอบ
กอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรอื่ ง การปฏบิ ัติงานชา่ งในบา้ น

2. ครูเปดิ คลิปวดิ โี อการปฏบิ ัติงานชา่ งในลกั ษณะต่าง ๆ ใหน้ กั เรยี นดู
3. ครถู ามนักเรยี นวา่

“การซ่อมแซม การบำรงุ รกั ษา การติดตง้ั และประกอบผลติ ภัณฑ์ท่ีไดช้ มไปนน้ั นกั เรยี นคิดว่า ผูป้ ฏิบตั ิงาน
ปฏิบตั ไิ ดถ้ ูกต้องและมีความปลอดภัยหรอื ไม่ อยา่ งไร”
“นักเรียนเคยซอ่ มแซม บำรุงรกั ษา ตดิ ต้งั และประกอบผลิตภัณฑ์เครือ่ งใช้ภายในบ้านด้วยตนเองหรอื ไม่ หากเคย
นักเรยี นปฏิบัติส่ิงใด และมีวิธีในการปฏบิ ตั งิ านอย่างไร”
4. ครูขออาสาสมัครนักเรยี น 3 คน ออกมาเลา่ ประสบการณ์เก่ยี วกบั การปฏบิ ัติงานชา่ งในบ้านของตนเองให้เพ่ือน
ฟังหน้าชั้นเรยี น จากนัน้ ครูใหน้ กั เรยี นท่ีเหลอื ร่วมกันวิเคราะหส์ ถานการณ์การปฏิบตั งิ านชา่ งของเพอื่ นแต่ละ
คนว่าถกู ต้องหรอื ไม่ และมคี วามปลอดภยั ในขณะปฏิบตั ิงานมากนอ้ ยเพยี งใด
5. ครตู งั้ คำถาม เพ่อื ให้นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายว่า “หากไมม่ ีความรู้เก่ยี วกับการปฏบิ ัตงิ านช่างในบ้าน และ
ต้องการฝึกปฏิบตั งิ านชา่ งในบ้านด้วยตนเอง ควรเรมิ่ ตน้ การเรียนรอู้ ยา่ งไร เพราะเหตุใด” โดยครเู ปดิ โอกาสให้
นักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ จากนน้ั ครูจงึ กล่าวเชื่อมโยงเขา้ สูบ่ ทเรียน

ขนั้ สอน

ข้นั ท่ี 1 สงั เกต ตระหนกั
1. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษา เรอื่ ง ความสำคญั ของงานชา่ งในบ้าน จากหนงั สือเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 หรือศกึ ษา
เพมิ่ เติมจากอินเทอรเ์ น็ต
2. ครูอธิบายเพม่ิ เติมเกยี่ วกับความสำคัญของงานชา่ งในบา้ นให้นักเรยี นฟงั
3. ครูถามนกั เรียนวา่
“นักเรียนคิดว่าการซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตดิ ตัง้ และประกอบผลิตภณั ฑ์สิ่งของเคร่อื งใช้ภายในบ้านเป็น
หน้าทีข่ องสมาชิกคนใดในครอบครัว เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน้ ”
“นกั เรียนจะไดร้ ับประโยชนอ์ ยา่ งไรจากการฝกึ ปฏิบัตงิ านช่างในบ้านด้วยตนเอง”

ข้นั ที่ 2 วางแผนปฏิบตั ิ
4. ครูใหน้ ักเรียนแบง่ กล่มุ จำนวน 6 กลุ่ม กล่มุ ละเท่า ๆ กนั ให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันศกึ ษา เรื่อง หลกั การ
ปฏบิ ัตงิ านช่างในบ้าน หลกั ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานชา่ งในบา้ น และกระบวนการปฏิบตั งิ านชา่ งในบ้าน
จากหนังสือเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 หรือศึกษาเพ่มิ เติมจากอนิ เทอรเ์ นต็
5. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษาเพ่มิ เตมิ เกีย่ วกับหลักการปฏบิ ตั งิ านช่างในบา้ น หลักความปลอดภัยในการปฏบิ ตั ิงานช่าง
ในบา้ น และกระบวนการปฏิบตั งิ านชา่ งในบา้ น จาก PowerPoint ม.3 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4
6. ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายแลกเปลี่ยนความร้ใู นเร่อื งที่ได้ศกึ ษามา
7. ครูถามนกั เรยี นว่า
“เพราะเหตุใดนักเรียนจึงตอ้ งเรียนรู้เกยี่ วกบั หลักการปฏบิ ัติงานช่างในบา้ น”
“หัวใจสำคัญของหลักการปฏบิ ัตงิ านช่างในบา้ นคอื ส่ิงใด”

ข้นั ที่ 3 ลงมอื ปฏบิ ัติ
8. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนกลมุ่ ละ 1 คน ออกมาจับสลากเลอื กภาพการปฏิบัติงานชา่ งในบา้ นประเภท
ต่าง ๆ กลมุ่ ละ 1 ภาพ โดยภาพการปฏบิ ัติงานช่างในบา้ นท่ีกำหนดใหจ้ ะเป็นภาพเก่ียวกับการซอ่ มแซม
การบำรงุ รกั ษา การติดตัง้ และประกอบผลติ ภณั ฑ์สง่ิ ของเครือ่ งใชภ้ ายในบา้ น
9. ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั ศกึ ษาเกี่ยวกับการซอ่ มแซม การบำรงุ รักษา การติดตัง้ และประกอบผลิตภัณฑ์
ส่งิ ของเครอ่ื งใชภ้ ายในบ้านจากภาพทีจ่ ับสลากได้ พร้อมทั้งบนั ทึกขอ้ มูลในประเดน็ ที่กำหนดให้
10. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลุม่ ละ 1-2 คน ออกมานำเสนอผลงานใหเ้ พ่อื นชมหน้าชัน้ เรยี น จากนั้น
ให้เพือ่ นร่วมชัน้ เรยี นรว่ มกันเสนอแนะเพิม่ เตมิ
11. ครถู ามนักเรียนว่า
“การซอ่ มแซม การบำรงุ รักษา การตดิ ตง้ั และประกอบผลติ ภัณฑ์มลี กั ษณะและรปู แบบการปฏิบตั งิ านท่ี
แตกต่างกนั อยา่ งไร”
“เพราะเหตใุ ดเม่อื พบอุปกรณ์ เครอื่ งใช้ภายในบา้ นท่ีชำรดุ จงึ ตอ้ งหยดุ การใช้งานและนำมาซอ่ มแซม
โดยทนั ที”
“นักเรียนมีแนวทางในการบำรุงรักษาอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไร
เพือ่ ช่วยยดื อายกุ ารใช้งานของอปุ กรณ์ เคร่ืองใช้ภายในบา้ นช้นิ ดังกลา่ วให้ยาวนานย่ิงขึ้น”
“การศึกษาคมู่ ือ หรือคำแนะนำการใช้งานมีประโยชนต์ อ่ การติดตั้งและประกอบผลติ ภัณฑอ์ ย่างไร”
12. ครูขออาสาสมคั รนกั เรียน 1 คน ออกมาอา่ นข่าวความประมาททีเ่ กิดขน้ึ จากการปฏบิ ตั งิ านชา่ งโดยขาดความ
ระมดั ระวังในขณะปฏบิ ตั งิ านให้เพอ่ื นฟังหน้าชน้ั เรยี น โดยใหน้ ักเรียนทเี่ หลือร่วมกันวเิ คราะห์ข่าวที่ไดฟ้ ัง

13. ครถู ามนกั เรียนวา่
“จากขา่ ว อบุ ตั เิ หตุท่ีเกิดข้นึ เป็นเพราะเหตุใด”
“จากข่าว ผู้กอ่ เหตุขาดการยดึ หลักความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านช่างขอ้ ใด”
“นักเรยี นสามารถนำส่ิงทไ่ี ด้เรยี นรจู้ ากข่าวมาประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏิบตั ิงานชา่ งของตนเองได้อยา่ งไร”

ขน้ั ที่ 4 พัฒนาความรคู้ วามเข้าใจ
14. ครใู ห้นักเรียนกลมุ่ เดิมนำภาพการปฏิบตั ิงานชา่ งในบา้ นท่ีจบั สลากไดม้ าศึกษาเพิม่ เตมิ และวางแผนหากตอ้ ง
ปฏิบัตงิ านดงั กล่าว ตามหลกั กระบวนการปฏบิ ตั ิงานชา่ งในบา้ นที่ครูกำหนดให้ โดยใหน้ กั เรียนบนั ทึกผล
การปฏิบัตงิ านลงในใบงานท่ี 4.1.1 เร่ือง งานช่างในบา้ น

ขน้ั สรุป

ขัน้ ที่ 5 สรุป
1. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลมุ่ ละ 1-2 คน ออกมานำเสนอผลงานให้เพ่อื นชมหน้าชน้ั เรยี น จากน้ันให้
เพอื่ นรว่ มชั้นเรยี นร่วมกันเสนอแนะเพิ่มเตมิ
2. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปความรู้ เรอ่ื ง งานช่างในบา้ น
3. ครมู อบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรมในแบบวัดและบันทกึ ผลการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 4
4. ครูตรวจสอบความรู้ ความเขา้ ใจของนกั เรยี นจากการนำเสนอผลการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และการสรุปความรู้

ขน้ั ประเมิน

1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจก่อนเรยี นของนักเรียน
2. ครูตรวจสอบใบงานท่ี 4.1.1 เรือ่ ง งานช่างในบ้าน
3. ครูตรวจสอบการทำกจิ กรรมในแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4
4. ครูประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล พฤตกิ รรม

การทำงานกล่มุ การนำเสนอผลงาน และการสังเกตคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

เรอื่ งท่ี 2 การปฏิบัติงานช่างในบา้ น : การตดิ ต้งั และประกอบผลติ ภัณฑ์ เวลา 2 ชั่วโมง

วิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการสาธิต

ชว่ั โมงท่ี 1

ข้นั นำ

ขนั้ ที่ 1 การเตรียมการ
1. ครูจดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการติดต้งั โทรทัศนแ์ ขวนผนัง เพอ่ื ใชใ้ นการสาธติ การตดิ ตงั้ อปุ กรณ์
เคร่อื งใชภ้ ายในบา้ น
2. ครูทดลองตดิ ตง้ั โทรทัศน์แขวนผนัง 1 รอบ กอ่ นการสาธิตจริง เพ่อื ใหเ้ กดิ ความชำนาญและลดขอ้ บกพรอ่ งทอ่ี าจ
เกิดขนึ้ จากการสาธิต

ขนั้ ท่ี 2 ก่อนการสาธิต
3. ครูนำภาพการตดิ ต้งั โทรทศั นแ์ ขวนผนังมาใหน้ กั เรยี นดู จากนัน้ ครูถามนกั เรยี นว่า “ท่ีบา้ นของนกั เรียนมกี าร
ติดตั้งโทรทศั นแ์ ขวนผนงั หรอื ไม่ หากมี การตดิ ตงั้ โทรทัศนแ์ ขวนผนังมปี ระโยชน์ต่อนกั เรียนและสมาชกิ ใน
ครอบครวั อยา่ งไร หากไม่มี นักเรยี นวางโทรทศั น์อยา่ งไร เพือ่ ใหส้ มาชกิ ทุกคนในครอบครัวสามารถใช้งานได้
อยา่ งสะดวก” ครสู ่มุ เลือกนักเรยี นทบี่ า้ นมีการตดิ ตั้งและทบี่ ้านไมม่ ีการตดิ ตัง้ โทรทศั นแ์ ขวนผนังจำนวน
3-4 คน เพอื่ ตอบคำถาม
4. ครูให้นกั เรยี นศึกษา เร่ือง การตดิ ตั้งโทรทัศนแ์ ขวนผนัง จากหนังสอื เรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 หรอื ศกึ ษา
เพมิ่ เติมจากอนิ เทอร์เน็ต
5. ครถู ามนกั เรยี นวา่
“การตดิ ตั้งโทรทัศน์แขวนผนงั เหมาะกบั ห้อง หรอื ทพี่ กั อาศยั ที่มลี กั ษณะอย่างไร”
“สงิ่ สำคญั ทคี่ วรคำนึงถึงเปน็ ลำดับแรกกอ่ นการตดิ ตั้งโทรทศั นแ์ ขวนผนังคือส่ิงใด”
“ประโยชนท์ ่ีจะได้รับจากการตดิ ตั้งโทรทัศน์แขวนผนงั คอื สง่ิ ใด”
“นักเรียนคดิ วา่ ตนเองสามารถติดตง้ั โทรทัศนแ์ ขวนผนงั เองได้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด”
6. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ เก่ียวกับขาแขวนโทรทัศนใ์ ห้นักเรียนฟัง

ขัน้ สอน

ขน้ั ท่ี 3 การสาธิต
1. ครูนำวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการติดตั้งโทรทัศน์แขวนผนังมาให้นักเรียนดู จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม
เกีย่ วกับสวา่ นและดอกสวา่ นทนี่ ำมาใชใ้ นการเจาะผนงั ปนู ใหน้ กั เรยี นฟัง
2. ครสู าธติ การติดตัง้ โทรทัศน์แขวนผนงั ใหน้ กั เรียนดเู ป็นตัวอยา่ ง พร้อมทงั้ อธิบายประกอบทีละขัน้ ตอนอยา่ งช้า ๆ
เพื่อให้นักเรยี นไดส้ งั เกตและตดิ ตามแต่ละขั้นตอนได้ทัน
3. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละเทา่ ๆ กัน ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ฝกึ ปฏิบัติการติดต้งั โทรทัศนแ์ ขวนผนัง หาก
นักเรยี นเกดิ ขอ้ สงสัยในขณะปฏบิ ตั งิ าน หรอื ต้องการความชว่ ยเหลือให้สอบถามครูเปน็ รายกลุม่ โดยครูจะคอย
สังเกตการปฏิบัตงิ านของนกั เรียนแต่ละกล่มุ อย่างใกลช้ ิดและคอยใหค้ วามชว่ ยเหลอื พรอ้ มทงั้ เนน้ ยำ้ ให้นักเรยี น
ตระหนักถึงความปลอดภัยในขณะปฏบิ ัติงานรว่ มดว้ ย

ขน้ั สรปุ

ขั้นท่ี 4 การอภปิ รายสรปุ การเรยี นรู้
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ สง่ ตวั แทนกลุม่ ละ 1 คน ออกมานำเสนอผลการปฏบิ ัติงานการตดิ ตง้ั โทรทัศน์แขวนผนัง
ของกลุ่มตนเองใหเ้ พ่ือนฟังหนา้ ช้ันเรียน ในประเดน็ ที่ครูกำหนดให้
2. ครใู ห้นกั เรยี นกลุ่มอนื่ ร่วมกันวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั การปฏบิ ัตงิ านการติดตง้ั
โทรทศั นแ์ ขวนผนงั ของกลุ่มท่ีออกมานำเสนอ พร้อมทง้ั จดบันทกึ ประเด็นสำคัญต่าง ๆ ไว้
3. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ ขนั้ ตอนการติดตั้งโทรทัศนแ์ ขวนผนัง โดยครูเป็นผู้ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และ
อธบิ ายเพ่ิมเติมในสว่ นท่ียังขาดตกบกพรอ่ งจากการปฏิบตั งิ าน
4. ครอู ธิบายเสริมเกี่ยวกับระดับความสงู และความหา่ งของโทรทศั น์กับระดบั สายตาใหน้ กั เรียนฟงั

ชั่วโมงที่ 2

ขน้ั นำ

ข้นั ที่ 1 การเตรยี มการ
1. ครูจัดเตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการตดิ ตง้ั ช้ันวางอเนกประสงค์ เพื่อใช้ในการสาธิตการตดิ ตงั้ อุปกรณ์
เครือ่ งใช้ภายในบ้าน
2. ครทู ดลองติดต้งั ชนั้ วางอเนกประสงค์ 1 รอบ ก่อนการสาธิตจรงิ เพอื่ ใหเ้ กิดความชำนาญและลดข้อบกพร่องท่ี
อาจเกดิ ขึ้นจากการสาธิต

ข้นั ที่ 2 ก่อนการสาธิต
3. ครถู ามนกั เรียนว่า
“ทบ่ี ้านของนักเรียนมีการจดั วางสิ่งของเครอื่ งใช้อย่างไร”
“เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งจัดวางสง่ิ ของใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
4. ครนู ำภาพการตดิ ตงั้ ช้ันวางอเนกประสงค์มาให้นักเรียนดู จากนัน้ ครถู ามนกั เรียนวา่ “ทบี่ ้านของนักเรยี นมีการ
ตดิ ต้ังชัน้ วางอเนกประสงค์คลา้ ยภาพตัวอยา่ งหรือไม่ หากมี เพราะเหตุใดจงึ เลอื กตดิ ตง้ั ชน้ั วางอเนกประสงค์ใน
รปู แบบนี้ และชน้ั วางอเนกประสงคท์ ี่ตดิ ต้งั เออื้ ประโยชนต์ อ่ การดำรงชวี ิตประจำวนั อยา่ งไร” ครูสุ่มเลอื ก
นักเรียนท่บี ้านมกี ารติดต้ังช้ันวางอเนกประสงคจ์ ำนวน 3-4 คน เพอ่ื ตอบคำถาม
5. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับชั้นวางอเนกประสงคใ์ หน้ กั เรยี นฟัง
6. ครใู ห้นักเรียนศึกษา เรือ่ ง การติดต้งั ช้นั วางอเนกประสงค์ จากหนังสือเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 หรือศึกษา
เพม่ิ เตมิ จากอินเทอรเ์ นต็
7. ครูถามนกั เรียนวา่
“ในการตดิ ตั้งชั้นวางอเนกประสงค์ควรพิจารณาเรอ่ื งวัสดทุ ีน่ ำมาใชใ้ นการผลิตหรือไม่ อยา่ งไร”
“หากต้องการติดต้งั ช้ันวางอเนกประสงคภ์ ายในคอนโดมิเนียม ควรพจิ ารณาสิ่งใดก่อนเป็นลำดบั แรก”
8. ครูอธิบายเพ่มิ เติมเก่ียวกับการเลือกช้นั วางอเนกประสงคใ์ ห้เหมาะสมกบั ขนาดพื้นที่ท่ีตอ้ งการตดิ ต้งั ให้
นักเรียนฟัง

ขน้ั สอน

ขนั้ ท่ี 3 การสาธิต
1. ครูนำวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการตดิ ต้งั ชนั้ วางอเนกประสงคม์ าใหน้ กั เรียนดู จากน้ันครอู ธบิ ายเพิ่มเติม
เกย่ี วกับฉากรับนำ้ หนักให้นกั เรยี นฟงั
2. ครูสาธติ การติดตั้งช้ันวางอเนกประสงคใ์ หน้ กั เรยี นดูเปน็ ตวั อย่าง พรอ้ มทั้งอธบิ ายประกอบทลี ะข้ันตอนอยา่ ง
ช้า ๆ เพ่ือใหน้ กั เรียนไดส้ ังเกตและติดตามแต่ละขัน้ ตอนไดท้ ัน
3. ครูให้นกั เรียนแบง่ กล่มุ (กลุ่มเดมิ ) ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ฝึกปฏิบตั กิ ารติดต้งั ชนั้ วางอเนกประสงค์ หากนกั เรียน
เกดิ ข้อสงสัยในขณะปฏิบตั งิ าน หรอื ต้องการความชว่ ยเหลือใหส้ อบถามครูเป็นรายกลมุ่ โดยครูจะคอยสงั เกต
การปฏบิ ตั ิงานของนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ อย่างใกล้ชิดและคอยใหค้ วามช่วยเหลอื พร้อมทง้ั เน้นยำ้ ใหน้ กั เรยี น
ตระหนักถงึ ความปลอดภัยในขณะปฏบิ ตั งิ านรว่ มด้วย

ข้ันสรปุ

ข้นั ท่ี 4 การอภิปรายสรุปการเรยี นรู้
1. ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนกลุ่มละ 1 คน ออกมานำเสนอผลการปฏบิ ัติงานการตดิ ต้งั ชั้นวาง
อเนกประสงคข์ องกลุม่ ตนเองให้เพ่อื นฟังหนา้ ชัน้ เรียน ในประเดน็ ท่คี รกู ำหนดให้
2. ครูให้นักเรยี นกลมุ่ อ่นื รว่ มกันวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิงานการติดตัง้ ชน้ั วาง
อเนกประสงค์ของกลมุ่ ทีอ่ อกมานำเสนอ พร้อมท้ังจดบนั ทกึ ประเดน็ สำคญั ตา่ ง ๆ ไว้
3. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ ขน้ั ตอนการติดตงั้ ช้นั วางอเนกประสงค์ โดยครูเป็นผตู้ รวจสอบความถูกตอ้ งและ
อธิบายเพิม่ เติมในส่วนท่ียังขาดตกบกพร่องจากการปฏิบัตงิ าน
4. ครอู ธบิ ายเสรมิ เกยี่ วกับการเลือกตำแหนง่ สถานที่ และบริเวณที่เหมาะสมสำหรบั การตดิ ตัง้ ชน้ั วางอเนกประสงค์
ใหน้ ักเรียนฟงั
5. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ความรู้ เรื่อง การปฏิบัติงานชา่ งในบา้ น : การตดิ ตง้ั และประกอบผลิตภัณฑ์
6. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นทำชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรือ่ ง การติดต้ังและประกอบผลิตภัณฑ์
7. ครมู อบหมายให้นกั เรยี นทำกิจกรรมในแบบวดั และบนั ทึกผลการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4
8. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4

ข้นั ประเมนิ

1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจหลงั เรียนของนักเรยี น
2. ครูตรวจช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่ือง การติดตัง้ และประกอบผลติ ภัณฑ์
3. ครตู รวจสอบการทำกิจกรรมในแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4
4. ครตู รวจสอบความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และการสรุปความรู้
5. ครปู ระเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จากการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล พฤตกิ รรม

การทำงานกลมุ่ การนำเสนอผลงาน และการสังเกตคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

9. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้

9.1 สอื่ การเรียนรู้

1) หนงั สือเรียน การงานอาชพี ม.3 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 การปฏบิ ัติงานช่างในบ้าน
2) ใบงานท่ี 4.1.1 เร่อื ง งานช่างในบ้าน
3) คลิปวดิ โี อการปฏิบตั ิงานช่างในลักษณะต่าง ๆ
4) ภาพการซ่อมแซม การบำรงุ รกั ษา การตดิ ตั้งและประกอบผลิตภณั ฑ์
5) ภาพการติดตงั้ โทรทัศนแ์ ขวนผนงั ภาพการตดิ ต้งั ช้นั วางอเนกประสงค์
6) ข่าวความประมาทที่เกดิ ขึ้นจากการปฏบิ ัติงานชา่ ง
7) วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการติดตง้ั โทรทศั นแ์ ขวนผนงั และชั้นวางอเนกประสงค์
8) PowerPoint ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง งานช่างในบา้ น

9.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

- //www.kruthueang.com/kru/web1/web/mainfile/1IRF7kvASKLw.pdf
- //natta01721.wordpress.com/2013/08/29/งานช่างในบ้าน/
- //devilcrafthazard.wordpress.com/งานชา่ งพน้ื ฐาน/ความปลอดภยั ในงานชา่ ง
- //www.pho.ac.th/external_newsblog.php?links=302
- //www.thepower.co.th/knowledge/tv-stand/-
- //www.thepower.co.th/knowledge/tv-mount-install-ทีวตี ิดผนัง/
- //www.youtube.com/watch?v=Jqdl5P1shro
- //www.youtube.com/watch?v=g6lWKaBWK0A
- //www.sanook.com/home/17353/
- //walkinclosetroom.com/บทความนา่ รู/้ 76-ประโยชน์ของช้ันวางตดิ ผนงั

แบบทดสอบก่อนเรียน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4

คำช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. เพราะเหตุใดผู้ปฏิบัติงานช่างในบ้านจึงต้องมีความรู้ 6. ประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติงานช่างในบ้านคือข้อใด
ความเข้าใจเกี่ยวกับงานช่างแต่ละสาขา
ก. นำไปประกอบเป็นอาชีพในอนาคต ก. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
ข. เกิดความปลอดภยั ในขณะปฏิบัติงาน
ค. สามารถซ่อมแซมส่ิงของ เคร่ืองใช้ภายในบ้านได้ ข. เสริมสร้างลักษณะนิสัยเรื่องความตระหน่ี
ง. ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านงานช่างแต่ละสาขาไว้ด้วยกัน
ค. เพ่ิมการใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจำกัด
2. ข้อใดจัดเป็นจุดประสงค์สำคัญของการปฏิบัติงานช่างในบ้าน
ก. ตอบสนองความตอ้ งการในการดำเนนิ กจิ กรรมใน ง. สรา้ งรายไดห้ ลักระหว่างเรยี น
ชีวิตประจำวัน
ข. ชว่ ยลดรายจ่ายและสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว 7. หัวใจสำคัญของการติดตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์คือสิ่งใด
ค. เป็นรากฐานของการประกอบอาชีพท่ีสุจริต
ง. เป็นพ้ืนฐานการศึกษาต่อในระดับสูง ก. ความนิยมของผู้คนในสังคม

3. บุคคลในข้อใดปฏิบัติงานช่างในบ้านได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ข. ความแปลกใหม่ของรูปทรง
ก. นิวเลือกใช้อุปกรณ์ เคร่ืองมือช่างที่มีราคาแพง
ข. นาววิเคราะห์ชิ้นงานหลังจากสร้างชิ้นงานสำเร็จแล้ว ค. ความแข็งแรงของอุปกรณ์
ค. เนยตระหนักถึงความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานเสมอ
ทุกคร้ัง ง. ความสวยงามของผลติ ภัณฑ์
ง. น่มุ ปรับเปล่ยี นวธิ กี ารทำงานใหแ้ ตกตา่ งไปจากแผนท่ีวางไว้
8. “ผักบุ้งตรวจสอบความแข็งแรงของช้ันวางของที่ทำข้ึน” จาก
4. “โอ๊ตตอ้ งการปูพื้นกระเบื้องห้องน้ำใหม่” จากข้อความน้ี โอ๊ต
ต้องการปฏิบัติงานช่างในบ้านตามข้อใด ขอ้ ความนี้ เป็นกระบวนการปฏิบัติงานช่างในบ้านข้อใด
ก. การติดต้ังผลิตภัณฑ์
ข. การซ่อมแซมผลิตภัณฑ์ ก. การปฏบิ ตั งิ าน ข. การประเมินผล
ค. การประกอบผลิตภัณฑ์
ง. การบำรุงรักษาผลิตภัณฑ์ ค. การวิเคราะห์งาน ง. การวางแผนการปฏิบัติงาน

5. ข้อใดไม่ใช่สิ่งท่ีควรคำนึงถึงในการปฏิบัติงานช่างในบ้าน 9. บุคคลในข้อใดติดตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ภายใน
ก. ช่วยประหยัดเวลาในการทำงาน
ข. ปรับปรุงให้แตกต่างไปจากท่ีวางแผนไว้ บ้านได้ถูกต้อง
ค. มีความเช่ือม่ันในตนเองขณะปฏิบัติงาน
ง. ใชแ้ รงงานในขณะปฏิบตั งิ านให้นอ้ ยทีส่ ุด ก. แก่นศกึ ษาข้ันตอนการตดิ ตั้งผลติ ภัณฑ์ตามรปู แบบ

เฉลย ทก่ี ำหนด แลว้ จงึ ดดั แปลงใหมต่ ามความคดิ ของตนเอง

1. ง. 2. ก. 3. ค. 4. ก. 5. ข. 6. ก. 7. ค. ข. โกล้ งมือประกอบผลติ ภัณฑ์ตามความคาดเดาของตนเอง

ค. ไกว่ างแผนการตดิ ต้ังผลติ ภัณฑ์ตามท่ีแกว้ บอก

ง. กิ๊กศกึ ษาค่มู ือการใชง้ านกอ่ นตดิ ตง้ั ผลติ ภัณฑ์
10. การปฏิบัติตนในขณะปฏิบัติงานช่างในบ้านข้อใดเกิดความ

ปลอดภัยมากท่ีสุด

ก. ตรวจสอบสภาพของอปุ กรณ์ เครือ่ งมอื ชา่ งกอ่ นใช้งาน

ข. ทำความสะอาดสถานท่ีปฏบิ ตั งิ านทง้ั กอ่ นและหลัง

ค. สวมผา้ ปดิ จมกู ทกุ ครง้ั เพอ่ื ป้องกันฝ่นุ ละออง

ง. มีสมาธแิ ละปฏิบัตงิ านด้วยความระมดั ระวัง

8. ข. 9. ง. 10. ง.

แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. “โอต๊ ตอ้ งการปูพื้นกระเบื้องห้องน้ำใหม่” จากข้อความนี้ โอ๊ต 6. หัวใจสำคัญของการติดต้ังและประกอบผลิตภัณฑ์คือส่ิงใด
ต้องการปฏิบัติงานช่างในบ้านตามข้อใด ก. ความนิยมของผู้คนในสังคม
ก. การติดต้ังผลิตภัณฑ์ ข. ความแปลกใหม่ของรูปทรง
ข. การซอ่ มแซมผลิตภัณฑ์ ค. ความแข็งแรงของอุปกรณ์
ค. การประกอบผลิตภัณฑ์ ง. ความสวยงามของผลติ ภณั ฑ์
ง. การบำรุงรักษาผลิตภัณฑ์
7. บคุ คลในข้อใดปฏิบัติงานช่างในบ้านได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
2. การปฏิบัติตนในขณะปฏิบัติงานช่างในบ้านข้อใดเกิดความ ก. นิวเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือช่างที่มีราคาแพง
ปลอดภัยมากท่ีสุด ข. นาววิเคราะห์ช้ินงานหลังจากสร้างชิ้นงานสำเร็จแล้ว
ค. เนยตระหนักถึงความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานเสมอ
ก. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ เครือ่ งมือชา่ งกอ่ นใชง้ าน ทุกคร้ัง
ง. นุม่ ปรับเปลีย่ นวธิ กี ารทำงานใหแ้ ตกต่างไปจากแผนท่ีวางไว้
ข. ทำความสะอาดสถานท่ปี ฏิบัตงิ านทัง้ ก่อนและหลัง
8. บุคคลในข้อใดติดตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ภายใน
ค. สวมผ้าปดิ จมูกทุกครงั้ เพื่อปอ้ งกนั ฝุน่ ละออง บ้านได้ถูกต้อง

ง. มสี มาธแิ ละปฏบิ ัติงานด้วยความระมดั ระวัง ก. แก่นศกึ ษาขน้ั ตอนการตดิ ตั้งผลติ ภัณฑต์ ามรปู แบบ
3. ข้อใดจดั เป็นจุดประสงค์สำคัญของการปฏิบัติงานช่างในบ้าน ท่กี ำหนด แลว้ จงึ ดดั แปลงใหมต่ ามความคดิ ของตนเอง

ก. ตอบสนองความต้องการในการดำเนินกจิ กรรมใน ข. โกล้ งมือประกอบผลิตภัณฑ์ตามความคาดเดาของตนเอง
ค. ไกว่ างแผนการตดิ ตั้งผลิตภณั ฑ์ตามทีแ่ ก้วบอก
ชีวิตประจำวัน ง. ก๊กิ ศกึ ษาคู่มอื การใช้งานกอ่ นตดิ ตัง้ ผลติ ภณั ฑ์
9. เพราะเหตุใดผู้ปฏิบัติงานช่างในบ้านจึงต้องมีความรู้
ข. ชว่ ยลดรายจ่ายและสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว ความเข้าใจเก่ียวกับงานช่างแต่ละสาขา
ก. นำไปประกอบเป็นอาชีพในอนาคต
ค. เป็นรากฐานของการประกอบอาชีพท่ีสุจริต ข. เกดิ ความปลอดภยั ในขณะปฏิบตั ิงาน
ค. สามารถซ่อมแซมส่ิงของ เครื่องใช้ภายในบ้านได้
ง. เป็นพื้นฐานการศึกษาต่อในระดับสูง ง. ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านงานช่างแต่ละสาขาไว้ด้วยกัน
10. ประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติงานช่างในบ้านคือข้อใด
4. ข้อใดไม่ใช่ส่ิงท่ีควรคำนึงถึงในการปฏิบัติงานช่างในบ้าน ก. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
ข. เสริมสร้างลักษณะนิสัยเรื่องความตระหนี่
ก. ชว่ ยประหยัดเวลาในการทำงาน ค. เพิ่มการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจำกัด
ง. สรา้ งรายได้หลักระหวา่ งเรยี น
ข. ปรับปรุงให้แตกต่างไปจากท่ีวางแผนไว้
8. ง. 9. ง. 10. ก.
ค. มีความเช่ือม่ันในตนเองขณะปฏิบัติงาน

ง. ใชแ้ รงงานในขณะปฏิบัตงิ านใหน้ อ้ ยท่สี ดุ

5. “ผักบุ้งตรวจสอบความแข็งแรงของช้ันวางของที่ทำข้ึน” จาก

ขอ้ ความน้ี เป็นกระบวนการปฏิบัติงานช่างในบ้านข้อใด

ก. การปฏิบัตงิ าน ข. การประเมินผล

ค. การวิเคราะห์งาน ง. การวางแผนการปฏิบัติงาน

เฉลย
1. ก. 2. ง. 3. ก. 4. ข. 5. ข. 6. ค. 7. ค.

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 4 งานช่างในบา้ น

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1

งานช่างในบา้ น

เวลา 1 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั

1.1 ตวั ชีว้ ัด

ง 1.1 ม.3/1 อภิปรายขั้นตอนการทำงานทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
ม.3/2 ใชท้ ักษะในการทำงานร่วมกนั อยา่ งมีคณุ ธรรม
ม.3/3 อภปิ รายการทำงานโดยใช้ทกั ษะการจดั การ เพ่อื การประหยัดพลงั งานทรพั ยากร
และสง่ิ แวดลอ้ ม

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายความสำคญั ของงานช่างในบ้านได้
2. อธบิ ายหลักการปฏิบัติงานและหลักความปลอดภัยในการปฏบิ ตั ิงานชา่ งในบา้ นได้
3. ปฏบิ ตั ิงานช่างตามกระบวนการปฏิบตั ิงานชา่ งในบา้ นไดอ้ ยา่ งถูกต้อง เหมาะสม
4. มที กั ษะกระบวนการทำงานและทักษะการจดั การ เพอื่ การประหยัด พลงั งาน ทรัพยากร และสง่ิ แวดลอ้ ม

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
1) ขัน้ ตอนการทำงานทม่ี ีประสิทธิภาพ เป็นการปฏิบตั ติ ามกระบวนการทำงาน โดยการทำตามลำดับ
ขัน้ ตอนมคี วามสามารถทำงานสำเร็จตามเปา้ หมายทีว่ างไว้ เชน่ การสร้างช้ินงาน หรอื ผลงาน
2) ทักษะการทำงานร่วมกัน เป็นการสร้างให้ผู้เรียนสามารถทำงานและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
และมีคุณธรรม
3) ทกั ษะการจดั การ เปน็ การจัดระบบงานและระบบคน เพื่อให้ทำงานสำเร็จตามเปา้ หมายอยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ เชน่ การติดตง้ั /ประกอบผลติ ภณั ฑ์

3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่
(พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา)

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การปฏบิ ัติงานชา่ งในบา้ น

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

งานช่างในบ้านเป็นงานท่ีมีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ การมี
ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการปฏิบัติงานช่างในบ้านที่ถูกต้อง จะส่งผลให้สามารถปฏิบัติงานช่างในบ้าน
ตามกระบวนการปฏิบัตงิ านช่างได้อย่างถูกต้องและเป็นข้ันตอน ไม่วา่ จะเป็นการซ่อมแซม การบำรุงรักษา
การติดตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์ง่าย ๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ เคร่ืองใช้
ภายในบ้านใหย้ าวนานยิ่งขึ้น ช่วยพัฒนาทักษะการปฏิบตั ิงานช่าง ท้ังยังช่วยประหยัดคา่ ใช้จ่ายในครอบครัว
ได้อีกทางหนง่ึ

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ มั่นในการทำงาน

7. กิจกรรมการเรียนรู้

 วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการเรียนความรู้ ความเขา้ ใจ

การทำงานช่างควรคำนึงถึงสิ่งใด

การทำงานงานช่างทุกประเภทต้องมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ 2.1.ศึกษาข้อมูลการทำงานของเครื่องมือ เครื่องใช้ ศึกษาคำแนะนำหลักความปลอดภัยในการทำงาน 2.2.วางแผนการดำเนินงาน การบำรุงรักษา การซอมแซม การติดตั้งและการผลิตคำนึงถึงการใช้เทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงานและวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างเหมาะสม

ข้อใดเป็นจุดประสงค์หลักของการทำงานช่างในบ้าน

เพื่อนำไปซ่อมแซมสิ่งของ เครื่องใช้ในบ้านได้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน เพื่อนำไปประกอบเป็นอาชีพหลัก

ข้อใดเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากปฏิบัติงานช่างในบ้าน

ช่วยให้คนในบ้านไม่ตกงาน ช่วยให้ครอบครัวมีรายได้มากขึ้น ช่วยให้ยืดอายุการใช้งาน เป็นการลดค่าใช้จ่ายของครอบครัว ช่วยให้ครอบครัวปลอดภัยจากการใช้เครื่องใช้ในบ้าน

ข้อใดคือสิ่งสำคัญที่ควรคำนึงถึงในการปฏิบัติงานช่างในบ้าน *

1. มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จำเป็นในบ้าน 2. มีความรู้เกี่ยวกับหลักการการทำงานของเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จำเป็นในบ้าน 3. มีทักษะการสังเกต การรวบรวมข้อมูล การสรุปสภาพปัญหา เพื่อที่จะวางแผนบำรุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิตเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จำเป็นในบ้าน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก