Monitor คืออะไร ทําหน้าที่อะไร

หมายถึง ตัวจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องปลายทาง (terminal) จอภาพนั้นมีหลายชนิด เช่น สีเดียว, หลายสี มีหลายขนาด จอภาพที่ดีจะต้องมีความถี่สูง ทำให้ได้ภาพที่นิ่งสนิท (non interlaced) ทำให้ไม่มีอันตรายต่อสายตา มีความคมชัดสูง (high resolution) ขนาดมาตรฐานจะมีความละเอียด 1024 x 768 จุด แบบที่ผลิตออกมาขายใหม่ ๆ จะมีข้อดีอีกข้อหนึ่ง คือ ประหยัดไฟ โดยปิดตัวเองได้ในขณะที่ไม่ใช้งาน เรียกว่า green monitor


            ���Ҿ ���ػ�ó����Ѻ�ѭ�ҳ�ҡ�����ʴ��� ���ʴ����Ҿ�� ���Ҿ ���෤����ը��Ҿ㹻Ѩ�غѹ������ ���ҾẺ Trinitron ��� Flat Screen(��ẹ) �����Ҩ��� CRT(moniter �����) ���� LCD (�ͷ�����ѡɳ�
ẹ���º��駵������ͧ) ��ẹ���ջ���Է���Ҿ 㹡���ʴ����ҡ���Ҩͻ��� ��������öŴ�ʴ��з�͹��� ���ҷ��������Դ�ҡ����������� ��лǴ��
����͵�ͧ�ӧҹ�ҹ � �� �ҤҢͧ��ẹ�ѧ���Ҥ��٧���� �ͻ��Ծ������
������ѧ����� �������ҡ�ѡ ���͹Ҥ��ѹ����ẹ�������Ҥҷ��١���ҹ��
������ҵðҹ�ͧ���Ҿ�����������͹Ҥ�
            ��÷�������ͧ�����觵�ҧ � ��ҡ������Ҿ���� ���������������ա���˹�� ���ӧҹ �Ǻ���Ѻ���Ҿ���¡��� ��������Ѻ�ʴ��Ũ��Ҿ (Display Adapter Card) ��ǧ������ ����ͧ������������ӧҹ�����Ѻ���Ҿ            �ӹǹ�շ������ö�ʴ������Ҿ�����繵�ǡ�˹�����Ҿ���ͨ������������ԧ��§��¨� VGA (Video Graphics Array) �ʴ�����������������´ 640X480 �ԡ�� �� SVGA (Super Video Graphics Array) �ʴ�����������������´ 800X600 �ԡ�� ���Ҿ㹻Ѩ�غѹ��ͺ����������дѺ������Ǩ��Ҿ��� �ʴ��ӹǹ�� 65,536 ���� 16 �Ե�� ���ʴ���������ԧ��վ������ ���������Ѻ�ҹ��ÿ�ԡ ��ŵ������ �����觾���� ��ǹ���Ҿ����ʴ��ӹǹ�� 16,777,216�ը����������ԧ��������ҵ� ���дѺ������������Ѻ�ҹ �����Ҿ��Чҹ��觾�����дѺ�٧
           LCD �������Ҩҡ Liquid Crystal Display ������¤������ �͹�����Ẻ��� ��Ẻ��֡���� ��֡���ǹ�������÷��᷺�����¡���������� ����դس���ѵ� ��ӡ�������ҧ�ͧ�� ��Тͧ���� ������ ����͵͹������� ���� ��֡���Ǩ������ʶҹ� �ͧ���� ����������ʧ��ҹ�� ����Դ ��èѴ���§���š������ ��֡���ǡ���դس���ѵ� �繢ͧ��᷹ ��ǹ�ʧ����ҹ����º�������� ��С�Ѻ���դس���ѵ��繢ͧ���� ����͹���              ����Ѻ�Ѩ�غѹ��� �͹����� LCD �����ѹ���ҧ�������㹰ҹз�����͹�����ͧ����ͧ���������� Ẻ���ҵ�ҧ� �����Ҩ��� �鵺�� ��� PDA (�ǡ����ͧ�����)���件֧�������պ��ҷ᷹����͹�����Ẻ
CRT (Cathode-ray tube)�ͧ����ͧ�����з������ѹ���� 㹻Ѩ�غѹ���͡�����ͧẺ�˭�� ����
             Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN)
             Thin Flim Transistor (TFT)
          �� LCD Ẻ TFT ���� Thin Film Transistor ��鹶١�Ѳ��������䢢�ͺ����ͧ �ͧ �� LCD Ẻ DSTN ����Ẻ Active Matrix ������ա�õͺʹͧ ��͡�� ����¹�ŧ�ͧ�Ҿ������� ����դ������Ѵ��� �������͹�����Ẻ TFT�����ٻ��ҧ�ҧ���� �͹�����Ẻ LCD���� �֧������ѹ�չ��˹ѡ�ҡ��� ����ѵ�����ê�ͧ�Ҿ�������§ �Ѻ�͹�����ẺCRT ���ͧ�ҡ��ҡ����俿�ҹ��������ǡ��Ҩ� LCD Ẻ DSTN

���º��º��ʹբ�ʹ��������ҧ�͹�����Ẻ LCD �Ѻ �͹�����Ẻ CRT

��鹷��㹡���ʴ�������ͧ�������ҧ�ѵ�ҡ�����ê�ͧ�Ҿ������ѧ�ҹ
  • ������ѧ��
  • ��鹷��㹡�õԴ���
  • ���ء����ҹ
  • ��ͤ�è�              �÷��ͺ�Դ���� ����͹�������������ҹҹ� ���������ҹ ��������� screen saver ���С�÷�� ���ʧ ����礵�͹�١�ԧ�͡������ ����Ҿ���������ǫ���ա������� �з�������������ͧ�ʧ������ͺ�������Ǩ�
    �������� ����� screen saver ��з�������ʧ����ԧ�͡������¹����������� ������«�����������Ǥ�Ѻ

    จอภาพ
    จอภาพ (Monitor)

              จอภาพเป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่แสดงผลลัพธ์การประมวลผล การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้านหลังจอภาพมีสายไว้ต่อเข้ากับการ์ดจอ จอภาพมีหลายขนาดให้เลีอกใช้งาน เช่น 15,17,19,20,21,24 นิ้ว ปัจจุบันนิยมจอแบบ LED

                จอภาพ (Monitor) จอคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มีชื่อเรียกมากมาย เช่น Monitor, CRT (Cathode Ray Tube) สามารถแบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น แบ่งเป็นจอแบบตัวอักษร (Text) กับจอแบบกราฟิก (Graphic) โดยจอภาพแบบตัวอักษรจะมีหน่วยวัดเป็นจำนวนตัวอักษรต่อบรรทัด เช่น 80 ตัวอักษร 25 บรรทัด สำดหรับจอคอมพิวเตอร์แบบกราฟิก จะมีหน่วยวัดเป็นจุด (Pixel) เช่น 640 pixel x 480 pixel ลักษณะภายนอกของจอคอมพิวเตอร์ก็คล้ายๆ กับจอโทรทัศน์นั่นเอง สิ่งที่แสดงออกทางจอคอมพิวเตอร์มีทั้งข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว โดยรับข้อมูลจากการ์ดแสดงผล (Video Card, Video Adapter) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ที่เสียบบนเมนบอร์ด ทำหน้าที่นำข้อมูลจากหน่วยประมวลผล มาแปลงเป็นสัญญาณภาพ แล้วส่งให้จอคอมพิวเตอร์แสดงผล ปัจจุบันมีการพัฒนาจอคอมพิวเตอร์ออกมาหลากหลายลักษณะ โดยเน้นที่จำนวนสี ความละเอียด ความคมชัด การประหยัดพลังงาน โดยสามารถแบ่งประเภทจอคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในปัจจุบันได้กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้

            1. จอคอมพิวเตอร์สีเดียว (Monochrome Monitor)

            2. จอคอมพิวเตอร์หลายสี (Color Monitor) 

            3. จอคอมพิวเตอร์แบบแบน (LCD; Liquid Crystal Display)

                จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงข้อมูลผลลัพธ์ (Output) มีรูปร่างลักษณะคล้ายเครื่องรับโทรทัศน์ สามารถแสดง ผลได้ทั้งตัวหนังสือ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิด  คือ

                1.จอ CRT (Cathode Ray Tube Monitor) คือ จอภาพที่รับสัญญาณภาพแบบอะนะล็อก พัฒนามาจากหลอดภาพโทรทัศน์ด้วยการใช้หลอดภาพในการแสดงผลเช่นเดียวกัน จอซีอาร์ที จะทำงานโดยอาศัยหลอดภาพที่สร้างภาพโดยการยิงลำแสงอิเล็กตรอนไปยังที่ผิวหน้าจอ ซึ่งมีสารประกอบของฟอสฟอรัสฉาบอยู่ที่ผิว เมื่อถูกแสงอิเล็กตรอนมากระทบสารเหล่านี้เจะกิดการเรืองแสงขึ้นมาทำให้เกิดเป็นภาพนั่นเอง การแสดงผลบนจอภาพเป็นเรื่องที่จำเป็นสำหรับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของการแสดงผลได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้น มาตรฐานการแสดงผลที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์มีพื้นฐานมาจากการพัฒนาของบริษัทไอบีเอ็ม ในยุคต้นความต้องการของการแสดงผลส่วนใหญ่ยังเป็นแบบตัวอักษรโดยมีภาวะการทำงาน (mode) แยกจากการแสดง กราฟิก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์จำนวนมากสามารถแสดงผลในภาวะกราฟิก เช่น ระบบปฎิบัติงานวินโดวส์ ต้องใช้ภาวะการแสดงผลในรูปกราฟิกล้วน ๆ ผู้ใช้สามารถกำหนดขนาดช่องหน้าต่าง หรือการแสดงผลได้ตามที่ต้องการ จอภาพจึงเป็นส่วนสำคัญมากส่วนหนึ่งสำหรับผู้ใช้งานในยุคปัจจุบัน ในยุคแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2524 บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาระบบการแสดงผลที่ใช้กับ                                                                                                                                                                                               


                จอภาพสีเดียวที่เรียกว่าโมโนโครม หรือ เอ็มดีเอ (Monochrome Display Adapter : MDA) และแสดงผลได้เฉพาะภาวะตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียวแต่ให้ความละเอียดสูง หากต้องการแสดงผลในภาวะกราฟิกก็ต้องเลือกภาวะการแสดงผลอีกแบบหนึ่งที่เรียกว่า ซีจีเอ (Color Graphic Adapter : CGA) ที่สามารถแสดงสีและกราฟิกได้แต่ความละเอียดน้อยเมื่อมีผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อต่าง ๆ ที่มีระบบการทำงานแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม (IBM compatible) ไอบีเอ็มจึงต้องกำหนดมาตรฐานการแสดงผลไว้ ต่อมาบริษัทเฮอร์คิวลีส ซึ่งเห็นปัญหาของระบบการแสดงผลทั้งสองนี้ จึงออกแบบแผลวงจรแสดงผล เรียกกันติดปากว่าแผงวงจรเฮอร์คิวลิส (herculis card) หรือ เอชจีเอ (Herculis Graphic Adapter : HGA) บางครั้งเรียกว่าโมโนโครกราฟิกอะแดปเตอร์หรือเอ็มจีเอ (Monochrome Graphic Adapter : MGA) การแสดงผลแบบนี้เป็นที่แพร่หลายและนิยมใช้กันต่อเนื่องมาและมีผลิตขึ้นมาใช้กันมากมาย


                2.เทคโนโลยีมอนิเตอร์(Monitor) LCD ย่อมาจาก Liquid Crystal Display ซึ่งเป็นจอแสดงผลแบบ (Digital ) โดยภาพที่ปรากฏขึ้นเกิดจากแสงที่ถูกปล่อยออกมาจากหลอดไฟด้านหลังของจอภาพ (Black Light) ผ่านชั้นกรองแสง (Polarized filter) แล้ววิ่งไปยัง คริสตัลเหลวที่เรียงตัวด้วยกัน 3 เซลล์คือ แสงสีแดง แสงสีเขียวและแสงสีนํ้าเงิน กลายเป็นพิกเ:ซล (Pixel) ที่สว่างสดใสเกิดขึ้น  หลักการทำงานของมอนิเตอร์แบบ LCD มอนิเตอร์แบบ LCD นั้นจะทำงานโดยการให้แสงขาว (White light) ผ่านตัวแอ็คทีฟฟิลเตอร์ (Active Filter) ซึ่งก็  หมายความว่า แม่สีแสง (สีแดง สีเขียว และ สีน้ำเงิน นั้นได้มาจากการกลั่นกรองแสงขาวนั่นเอง


    • ความส่องสว่าง วัดในหน่วยแคนเดลาต่อตารางเมตร
    • ขนาดของจอภาพ วัดความยาวตามแนวทแยง สำหรับหลอดภาพ บริเวณที่เห็นภาพมักจะเล็กกว่าขนาดของหลอดภาพอยู่หนึ่งนิ้ว
    • อัตราส่วนลักษณะ คืออัตราส่วนของพิกเซลในแนวนอนต่อแนวตั้ง อัตราส่วนปกติคือ 4:3 เช่นจอภาพที่กว้าง 1024 พิกเซล จะสูง 768 พิกเซล ถ้าเป็นจอภาพไวด์สกรีน จะมีอัตราส่วนเป็น 16:9 ดังนั้นจอภาพที่กว้าง 1024 พิกเซล จะสูง 576 พิกเซล
    • ความละเอียดจอภาพ คือจำนวนพิกเซลตามความกว้างและความสูงที่สามารถแสดงผลได้ (ไม่ได้หมายถึงพิกเซลที่กำลังแสดงผลภาพอยู่ในปัจจุบัน) ความละเอียดที่มากที่สุดถูกจำกัดโดยระดับพิกเซล (ดูถัดไป)
    • ระดับพิกเซล คือระยะระหว่างพิกเซลสีเดียวกันในหน่วยมิลลิเมตร หากระดับพิกเซลน้อยลง ภาพจะมีความคมชัดมากขึ้น
    • อัตรารีเฟรช คือจำนวนครั้งในหนึ่งวินาทีที่ภาพนั้นถูกฉายลงบนหน้าจอ อัตรารีเฟรชที่มากที่สุดถูกจำกัดโดยเวลาตอบสนอง (ดูถัดไป)
    • เวลาตอบสนอง คือเวลาที่ใช้ไปขณะพิกเซลเปลี่ยนจากสีดำไปเป็นสีขาว และกลับมาเป็นสีดำอีกครั้ง วัดในหน่วยมิลลิวินาที ค่าที่น้อยลงหมายความว่าจอสามารถเปลี่ยนภาพได้เร็วขึ้น และหลงเหลือภาพก่อนหน้าน้อยกว่า
    • อัตราส่วนความแตกต่าง คืออัตราส่วนความส่องสว่างของสีที่สว่างที่สุด (สีขาว) ต่อสีที่มืดที่สุด (สีดำ) ที่จอภาพนั้นสามารถสร้างได้
    • การใช้พลังงาน วัดในหน่วยวัตต์
    • มุมในการมอง คือมุมที่มากที่สุดที่หันเหหน้าจอออกไปแล้วยังสามารถมองเห็นได้ โดยภาพที่ปรากฏยังไม่ลดคุณภาพ เช่นสีเพี้ยนเป็นต้น

    หลักการเลือกซื้อจอภาพคอมพิวเตอร์

    1. ควรเลือกจอภาพขนาด 15 นิ้วขึ้นไปเป็นอย่างน้อย เพราะปัจจุบันจอภาพ 15 นิ้ว มีราคาสูงกว่าจอภาพขนาด 14 นิ้วเล็กน้อยเท่านั้น   งานเอกสาร หรือ ในสำนักงาน ควรเลือกจอภาพ ขนาด 17-19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา งานกราฟฟิก ควรเลือกจอภาพ ขนาด 19-21 นิ้ว  งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ ควรเลือกจอภาพ ขนาดไม่ต่ำกว่า 24 นิ้ว  ใช้งานทั่วไป 14-15 นิ้ว
    2. อัตราส่วนของจอ โดยปัจจุบันอัตราส่วนของจอภาพในปัจจุบันจะมี 16:9 16:10 และ 4:3 ซึ่งอัตราส่วนเหล่านี้เป็นอัตราส่วนของจอในแบบความยาวต่อความสูง โดยแบบ16:9 และ 16:10 เป็นจอแบบ Wide Screen ซึ่งเป็นหน้าจอเน้นความกว้าง เหมาะกับการทำงานที่ใช้พื้นที่ด้านข้างมาก เช่นโปรแกรมตกแต่งภาพ หรือไว้สำหรับชมภาพยนตร์ที่เป็นขนาดเหมือนในโรงหนัง คือมีความกว้างมากส่วน 4:3 เป็นแบบหน้าจอโทรทัศน์ปกติ ควรเลือกจอภาพที่มีค่าระยะด็อตพิชต์ต่ำๆ เพราะจะทำให้ภาพออกมาคมชัด
    3. ความละเอียดหน้าจอ (Resolution) โดยยิ่งความละเอียดมากภาพยิ่งคมชัด แต่ความละเอียดจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการ์ดจอที่ใช้งานด้วยนะครับ ซึ่งถ้าเป็น Notebook ขนาดหน้าจอปกติ (14 นิ้ว) จะมีความละเอียดอยู่ที่ 1366 x 768 ส่วนหน้าจอคอมพิวเตอร์แบบ Wide Screen ความละเอียดที่ใช้ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 1440 x 900 ครับ ความละเอียดสูงๆ จะเห็นความแตกต่างได้ชัดเมื่อใช้เล่นเกมส์ที่สามารถปรับความละเอียดสูงๆ ได้ดี เลือกจอภาพที่สามารถเลือกความละเอียดได้หลายโหมดสงสะท้อนที่ตกกระทบบนจอภาพออกไปในทิศทางที่หลบออกจากสายตาผู้ใช้
    4. ควรเลือกแบบจอแบน เพราะจอแบนจะมีคุณสมบัติในการหักเหของแงานง่ายและสะดวกหรือไม่
    5. ตรวจดูปุ่มรับการควบคุมจอภาพต่างๆ ว่าสามารถปรับอะไรได้บ้าง ใช้
    6. จอภาพที่นิยมใช้ ได้แก่ ADI, CTX, LG, MAG, Panasonic,  Philips,  SONY,  Sumsung, Viewsonic เป็นต้น

    Acer Predator X34 รีวิว มอนิเตอร์ Cureve 34 นิ้ว IPS 100Hz UltraWide สำหรับเล่นเกมที่ดีที่สุด

    ที่มา://sites.google.com/site/singhaphothong/withi-leuxk-sux-xupkrn-khxmphiwtexr/withi-leuxk-sux-cxphaph

    จอภาพทำหน้าทีอะไร

    จอภาพ จอภาพ หน้าที่การทำงาน จอคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์แสดงผล สามารถแบ่งได้หลายรูปแบบ จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ การที่ผู้ใช้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพได้นั้น เป็นเพราะฮาร์ดแวร์อีกตัวหนึ่ง ที่ทำงาน ควบคู่กับจอภาพเรียกว่า การ์ดสำหรับแสดงผลจอภาพ

    Monitor ทํางานอย่างไร

    Monitor หรือที่เรียกอีกอย่างว่า VDU ที่ย่อมาจาก Visual Display Unit เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ โดยรับข้อมูลแล้วแปลงออกมาเป็นสัญญาณภาพ ไม่ว่าจะเป็นภาพ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ รวมไปถึงสีสันต่าง ๆ ด้วย ซึ่งผลลัพธ์ที่ถูกแสดงออกมานั้นจะเปลี่ยนแปลงไปตามข้อมูลที่ ...

    ข้อใดคือหน้าที่ของจอภาพ

    จอภาพ (Monitor) จอภาพเป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่แสดงผลลัพธ์การประมวลผล การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้านหลังจอภาพมีสายไว้ต่อเข้ากับการ์ดจอ จอภาพมีหลายขนาดให้เลีอกใช้งาน เช่น 15,17,19,20,21,24 นิ้ว ปัจจุบันนิยมจอแบบ LED.

    จอภาพหมายถึงอะไร

    จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพในปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron และ Flat Screen(จอแบน) ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter ทั่วไป) หรือ LCD (จอที่มีลักษณะ

    กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก