วิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ สรุป

วิวัฒนาการนาฏศิ ลป์ไทย
สมัยรัตนโกสิ นทร์

ความเป็นมา นาฏศิลป์ไทย

นาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากอากัปกิริยาของ
สามัญชนเป็นพื้นฐาน ซึ่งโดยทั่วไปมนุษย์ทุก
คนย่อมมีอารมณ์ต่าง ๆ ได้แก่ รัก โกรธ โศก
เศร้า เสียใจ ดีใจ ร้องไห้ ฯลฯ

แต่ที่น่าสังเกตก็คือ เมื่อมนุษย์มีอารมณ์
อย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้น นอกจากจะมีความ
รู้สึกเกิดขึ้นในจิตใจแล้วยังแสดงปฏิกิริยา
ตอบโต้ออกมาทางกายในลักษณะต่าง ๆ กัน
เช่น รัก - หน้าตากิริยาที่แสออก อ่อนโยน

นาฏศิลป์ไทย ยุครัตนโกสิ ทนร์

สมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัตนโกสินทร์ ระบำ
และรำมีความสำคัญต่อราชพิธีต่างๆ ในรูป
แบบของพิธีกรรม โดยถือปฏิบัติเป็นกฏ
มณเฑียรบาลมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอน
ต้น ( สมัยราชกาลที่1 – ราชกาลที่ 4 )

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

โปรดรวบรวมตำราฟ้อนรำและเขียนภาพท่ารำแม่บท

บันทึกไว้เป็นหลักฐานในสมัย รัตนโกสินทร์.
-มีการพัฒนาโขนเป็นรูปแบบละครใน
-มีการปรับปรุงระบำสี่บท
สมัยรัตนโกสินทร์.เกิดนาฏศิลป์ขึ้นหลายชุด เช่น
-ระบำเมขลา รามสูร ในราชนิพนธ์ รามเกียรติ์

รัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

สมัยรัชกาลที่2 (พ.ศ.2352-พ.ศ.2367)
เป็นยุคของนาฏศิลป์ไทยเนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงโปรดละครรำ ท่ารำ
งดงามตามประณีตแบบราชสำนักมีการฝึกหัดทั้งโขน ละครใน ละครนอก โดยได้
ฝึกผู้หญิงให้แสดงละครนอกของหลวงและมีการปรับเครื่องแต่งกายยืนเครื่อง

แบบละครใน

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

โปรดให้ยกเลิกละครหลวง ทำให้นาฏศิลป์ไทยเป็นที่นิยม
แพร่หลายในหมู่ประชาชน และเกิดการแสดงของเอกชน

ขึ้นหลายคณะ ศิลปินที่มีความสามารถได้สืบทอดการ
แสดงนาฏศิลป์ไทยที่เป็นแบบแผนกันต่อมา

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

โปรดให้มีละครรําผู้หญิงในราชสํานักตาม
เดิมและใน เอกชนมีการแสดงละครผู้หญิง
และผู้ชาย ในสมัยนี้มีบรมครูทางนาฏศิลป์
ได้ชําระพิธีโขนละคร ทูลเกล้าถวายตรา ไว้
เป็นฉบับหลวง และมีการดัดแปลงการรํา

เบิกโรงชุดประเริงมาเป็น รําดอกไม้เงิน
ทอง

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ใ น ส มั ย นี้ มี ทั้ ง อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ พั ฒ น า น า ฏ ศิ ล ป์
ไทยเพื่อทันสมัย เช่น มีการพัฒนาละครใน
ละครดึกดำบรรพ์ พัฒนาละครรำที่มีอยู่
เ ดิ ม ม า เ ป็ น ล ะ ค ร พั น ท า ง แ ล ะ ล ะ ค ร เ ส ภ า
แ ล ะ ไ ด้ กำ ห น ด น า ฎ ศิ ล ป์ เ ป็ น ที่ บ ท ร ะ บำ
แทรกอยู่ในละครเรื่องต่างๆ เช่น ระบำ
เทวดา- นางฟ้า ในเรื่องกรุ งพาณชมทวีป
รำบำตอนนางบุษบากับนางกำนันชมสาร
ในเรื่องนิเหนา ระยำไก่

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

เป็นศิลปะด้านนาฎศิลป์ เจริญรุ่งเรืองมาก
เมื่อปี พ.ศ.2454 ได้ทรงมีพรมหากรุณาธิคุณ
โปรดเกล้าฯให้กรมโขนและและกรมปี่ พาทย์มา
รวมกัน โดยสังกัดอยู่กับกรมมหรสพเป็นกรม
เดียว มีการทำนุบำรุงศิลปะทางโขน ละคร
และดนตรีปี่ พาทย์ ทำให้ศิลปะมีการฝึกหัด
อย่างมีระเบียบแบบแผน และโปรดตั้ง
โรงเรียนฝึกหัดนาฎศิลป์ในกรมมหรสพ
นอกจากนี้ ยังได้มีการปรับปรุงวิธีการแสดง
โขนเป็นละครดึกดำบรรพ์และได้เกิดโขน
บรรดาศักดิ์

รัชกาลที่7
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีการจัดตั้งศิลปากรขึ้น
แทนกรมมหรสพ ที่ถูกยุบไปทำให้ศิลปะ โขน ละคร ระบำ รำ

ฟ้อน ยังคงปรากฎอยู่

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล

ได้ ก่อตั้งโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ขึ้น
มาเพื่อป้องกันไม่ให้ศิลปะทางด้านนาฏศิลป์

สูญหายไป ในสมัยนี้ได้เกิดละครวิจิตร
ซึ่งเป็นละครปลุกใจให้รักชาติ และเป็นการ

สร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมา สนใจ
นาฏศิลป์ไทย และได้มีการตั้งโรงเรียน ซึ่ง
ถูกทําลายตอน สงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อ
เป็นสถานศึกษานาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์

ของทางราชการ

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

นาฎศิลป์ ละคร ฟ้อน รำ ได้อยู่ในความ
รับผิดชอบของรัฐบาล ได้มีการส่งเสริม
ให้ผู้เชี่ยวชาญนาฎศิลป์ไทยคิดประดิษฐ์
ท่ารำ ระบำชุดใหม่ ได้แก่ ระบำพม่าไทย

อธิฐาน

รัชสมัยพระบาทส
มเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

ปัจจุบันได้มีการนำนาฏศิลป์นานาชาติมาประยุกต์ใช้ในการ

ประดิษฐ์ท่ารำ มีการนำเทคนิคเเสง สี เสียง เข้ามาเป็นองค์

ประกอบในการแสดงต่าง ทั้งระบบม่าน ฉาก เสียง เเสง

ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์ และมีการเผยแพร่

ศิลปกรรมทุกสาขานาฏศิลป์ โดยมีการเปิดสอนนาฏศิลป์ไทยใน

ระดับปริญญาเอกอีกหลายแห่ง

จัดทำโดย

นายภูวนาท เนียมเจริญ เลขที่ 7
นายสุภัทรชัย ทองดำ เลขที่ 13
นายณัฐกิตต์ จิตโสภา เลขที่ 17
นายเพทาย เชียรชม เลขที่ 20
นายยุทธพล พลับทอง เลขที่ 21
นางสาวยศวดี น่าขำ เลขที่ 24
นางสาวนันทชพร ชวันกุล เลขที่ 26
นางสาวกฤติกา บุรินทร์กุล เลขที่ 28
นางสาวปณิตา พงษ์ถิ่น เลขที่ 32
นางสาวจุฬารัตน์ ก้อนศิลา เลขที่ 35
นางสาวต้องใจ วรรธนะบุลกิต เลขที่ 36
นางสาวปัณฑารีย์ มะลิเผือก เลขที่ 40

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/2

สมัยรัตนโกสินทร์ ระบำและรำมีความสำคัญต่อราชพิธีต่างๆ ในรูปแบบของพิธีกรรม โดยถือปฏิบัติเป็นกฏมณเฑียรบาลมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ( สมัยราชกาลที่1 – ราชกาลที่ 4 )


     รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดรวบรวมตำราฟ้อนรำ และเขียนภาพท่ารำแม่บทบันทึกไว้เป็นหลักฐาน มีการพัฒนาโขนเป็นรูปแบบละครใน มีการปรับปรุงระบำสี่บท ซึ่งเป็นระบำมาตฐานตั้งแต่สุโขทัย ในสมัยนี้ได้เกิดนาฏศิลป์ขึ้นมาหลายชุด เช่น ระบำเมขลา-รามสูร ในราชนิพนธ์รามเกียรติ์

      ราชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นยุคของนาฏศิลป์ไทย เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงโปรดละครรำ ท่ารำงดงามตามประณีตแบบราชสำนัก มีการฝึกหัดทั้งโขน ละครใน ละครนอกโดยได้ฝึกผู้หญิงให้แสดงละครนอกของหลวงและมีการปรับปรุงเครื่องแต่งกายยืนเครื่องแบบละครใน

     รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ยกเลิกละครหลวง ทำให้นาฏศิลป์ไทยเป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่ประชาชน และเกิดการแสดงของเอกชนขึ้นหลายคณะ ศิลปินที่มีความสามารถได้สือทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่เป็นแบบแผนกันต่อมา

     รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้มีละครรำผู้หญิงในราชสำนักตามเดิมและในเอกชนมีการแสดงละครผู้หญิงและผู้ชาย ในสมัยนี้มีบรมครูทางนาฏศิลป์ ได้ชำระพิธีโขนละคร ทูลเกล้าถวายตราไว้เป็นฉบับหลวง และมีการดัดแปลงการำเบิกโรงชุดประเริงมาเป็น รำดอกไม้เงินทอง

     รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในสมัยนี้มีทั้งอนุรักษ์และพัฒนานาฏศิลป์ไทยเพื่อทันสมัย เช่น มีการพัฒนาละครในละครดึกดำบรรพ์ พัฒนาละครรำที่มีอยู่เดิมมาเป็นละครพันทางและละครเสภา และได้กำหนดนาฎศิลป์เป็นที่บทระบำแทรกอยู่ในละครเรื่องต่างๆ เช่น รำบำเทวดา- นางฟ้า ในเรื่องกรุงพาณชมทวีป รำบำตอนนางบุษบากับนางกำนันชมสารในเรื่องนิเหนา ระยำไก่ เป็นต้น

     รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นศิลปะด้านนาฎศิลป์ เจริญรุ่งเรืองมาก พระองค์โปรดให้ตั้งกรมมหรสพขึ้น มีการทำนุบำรุงศิลปะทางโขน ละคร และดนตรีปี่พาทย์ ทำให้ศิลปะทำให้มีการฝึกหัดอย่างมีระเบียบแบบแผน และโปรดตั้งโรงเรียนฝึกหัดนาฎศิลป์ในกรมมหรสพ นอกจากนี้ ยังได้มีการปรับปรุงวิธีการแสดงโขนเป็นละครดึกดำบรรพ์เรื่องรามเกียรติ์และได้เกิดโขนบรรดาศักดิ์ที่มหาดเล็กแสดงคู่กับโขนเฉลยศักดิ์ที่เอกชนแสดง

     รัชสมัยสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้มีการจัดตั้งศิลปากรขึ้นแทนกรมมหรสพที่ถูดยุบไป ทำให้ศิลปะโขน ละคร ระบำ รำ ฟ้อน ยังคงปรากฏอยู่ เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาสืบต่อไป

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลหลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีของกรมศิลปาการ ได่ก่อตั้งโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ขึ้นมา เพื่อปกกันไม่ให้ศิลปะทางด้านนาฏศิลป์สูญหายไป

ในสมัยนี้ได้เกิดละครวิจิตร ซึ่งเป็นละครปลุกใจให้รักชาติ และเป็นการสร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมาสนใจนาฏศิลป์ไทย และได้มีการตั้งโรงเรียนนาฏศิลป์แทนโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ ซึ่งถูกทำลายตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเป็นสถานศึกษานาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ของทางราชการ และเป็นการทุบำรุง เผยแพร่นาฏศิลป์ไทยให้เป็นที่ยกย่องนานาอารยาประเทศ

     รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช นาฎศิลป์ ละคร ฟ้อน รำ ได้อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล ได้มีการส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญนาฎศิลป์ไทยคิดประดิษฐ์ด่ารำ ระยำชุดใหม่ ได้แก่ ระบำพม่าไทยอธิฐาน

ปัจจุบันได้มีการนำนาฎศิลป์นานาชาติมาประยุคต์ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารำ รูปแบบของการแสดง มีการนำเทคนิคแสง สี เสียง เข้ามาเป็นองค์ประกอบในการแสดงชุดต่างๆ ปรับปรุงลีล่าท่ารำให้เหมาะสมกับฉาก บนเวทีการแสดงมีการติดตั้งอุปกรณ์ที่ทันสมัย ทั้งระบบม่าน ฉาก แสง ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ มีระบบเสียงที่สมบูรณ์ มีเครื่องฉายภาพยนตร์ประกอบการแสดง และเผยแพร่ศิลปกรรมทุกสาขานาฏศิลป์ และสร้างนักวิชาการและนักวิจัยในระบบสูง โดยมีการเปิดสอนนาฏศิลป์ไทยในระดับปริญญาเอกอีกหลายแห่ง

นาฏศิลป์ สมัยรัตนโกสินทร์ มีอะไรบ้าง

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีละครรำผู้หญิงในราชสำนักตามเดิมและในเอกชนมีการแสดงละครผู้หญิงและผู้ชาย ในสมัยนี้มีบรมครูทางนาฏศิลป์ ได้ชำระพิธีโขนละคร ทูลเกล้าถวายตราไว้เป็นฉบับหลวง และมีการดัดแปลงการำเบิกโรงชุดประเริงมาเป็น รำดอกไม้เงินทอง

นาฏศิลป์ไทยมีวิวัฒนาการอย่างไรบ้าง จงอธิบายมาพอสังเขป

นาฏศิลป์ไทยมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี เรื่อยมาจนสมัย รัตนโกสินทร์ถึงปัจจุบัน ซึ่งมีการพัฒนาไปตามแต่ละยุคสมัย คงความเป็นเอกลักษณ์ซึ่งเป็น มรดกของชาติที่ทรงคุณค่า ควรได้รับการอนุรักษ์และสืบทอดให้คงอยู่ต่อไป

ละครประเภทใดที่เกิดขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์

ในสมัยรัตนโกสินทร์มีการน าละครชาตรีที่นิยมมากในจังหวัดภาคใต้มาเล่นในเขตหลวง ละครชาตรีในยุคนี้เกิดจากการปราบปรามระงับเหตุไม่สงบทางหัวเมืองภาคใต้ จึงมีประชาชนส่วนหนึ่ง ติดตามมาด้วย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้ตั้งบ้านเรือน ณ ต าบลสนามกระบือ โดยโปรดเกล้าฯ ให้ประชาชนไปประกอบอาชีพต่าง ๆ และมีประชาชนบางส่วน ...

นาฏศิลป์ไทยที่เล่นเป็นเรื่องราวในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้แก่อะไรบ้าง

3.สมัยอยุธยา มีการแสดงละครชาตรี ละครนอก ละครใน แต่เดิม ที่เล่นเป็นละครเร่ จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ต้องมีโรงละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการ เป็นละครรำ เรียกว่า ละครใน ละครนอก โดยปรับปรุงรูปแบบ ให้มีการแต่งการที่ประณีตงดงามมากขึ้น มีดนตรีและบทร้อง และมีการสร้างโรงแสดง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก