ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัยด้านชลประทาน

สำหรับผู้สูงอายุ

ทำนบพระร่วง

ระบบชลประทานแห่งแรกของสยาม

ทำนบพระร่วง : เขื่อนโบราณสมัยสุโขทัย

     เมืองสุโขทัยโบราณนั้นมีภูมิประเทศเอียงลาดเพราะพื้นที่อยู่ติดภูเขา จนไม่สามารถเก็บน้ำได้ตามธรรมชาติ จำเป็นต้องมีการพัฒนาแหล่งเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง พระร่วงเจ้ากษัตริย์สุโขทัยสมัยนั้นจึงได้สร้างทำนบส่งไปตามลำรางส่งน้ำที่ขุดพบเป็นท่อสังคโลก ซึ่งเรียกว่า “ท่อปู่พญาร่วง” ส่งน้ำเข้าไปในตัวเมือง เพื่อเก็บขังในสระน้ำใหญ่เล็กหลายสระ และมีสระขนาดใหญ่ในกำแพงเมืองหรือที่เรียกว่า “ตระพัง” เช่น ตระพังทอง ตระพังเงิน ตระพังสอ ตระพังตระกวน นอกจากนี้ยังมีการขุดบ่อน้ำกรุอิฐไว้เป็นจำนวนมาก ทำให้พื้นที่ในเมืองสุโขทัยไม่ขาดแคลนน้ำ ดังจะเห็นได้จากจารึกว่า “เมืองสุโขทัยนี้จึ่งชม สร้างป่าหมากป่าพลูทั่วเมืองนี้ทุกแห่ง ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้ หมากม่วงก็หลายในเมืองนี้ หมากขามก็หลายในเมืองนี้ ใครสร้างได้ไว้แก่มัน กลางเมืองสุโขทัยนี้ มีน้ำตะพังโพยสี ใสกินดี … ดั่งกินน้ำโขงเมื่อแล้ง”

     สำหรับชื่อ “เขื่อนสรีดภงส์” ได้มาจากข้อความในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ที่เขียนไว้ว่า “เบื้องหัวนอนเมืองสุโขไทนี้ มีกุฏิ พิหาร ปู่ครูอยู่ มีสรีดภงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง มีป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขพุง ผีเทพดาในเขาอันนั้น เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้” สรีดภงส์ ในคงหมายสมัยโบราณจึงหมายถึงทำนบชลประทานในสมัยพระร่วงเจ้า จึงนับเป็นเขื่อนกั้นน้ำเป็นระบบชลประทานที่ทันสมัยมากเมื่อ ๗๐๐ กว่าปีที่ผ่านมาแล้ว

     เขื่อนสรีดภงส์หรือทำนบพระร่วง ถือว่าเป็นเขื่อนแห่งแรกของประเทศไทย สร้างเพื่อการชลประทาน มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เป็นลักษณะทำนบคันดิน หรือเรียกว่าเป็นเขื่อนดินก็ได้ สำหรับกั้นน้ำอยู่ระหว่างซอกเขาคือ เขาพระบาทใหญ่ และเขากิ่วอ้ายมา ที่สร้างขึ้นเพื่อกักน้ำ และชักน้ำไปตามคลองส่งน้ำมาเข้ากำแพงเมืองและพระราชวังในสมัยโบราณ บริเวณด้านหน้าปูด้วยหินโดยตลอด มีฝายน้ำล้นและท่อระบายน้ำอยู่ทางทิศใต้ทำนบ สันทำนบมีความกว้าง ๔ เมตร   มีความยาว ๔๗๘ เมตร สูง ๑๐.๕๐ เมตร ระดับน้ำลึกเต็มที่ ๘ เมตร สามารถเก็บน้ำไว้ ๔๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร และด้วยกรมชลประทานเข้ามาปรับปรุงตามแนวเขื่อนโบราณ ในปัจจุบันมีน้ำขังตลอดปี ยามน้ำในตระพังต่าง ๆ ภายในเขตกำแพงเมืองลดน้อยลง ก็สามารถปล่อยน้ำจากทำนบนี้เข้าสู่ตระพังในกำแพงเมืองให้มีน้ำบริบูรณ์ตลอดปี

ขอขอบคุณเนื้อเรื่องและภาพถ่ายจาก

     องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) สำนักงานพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย - ศรีสัชนาลัย - กำแพงเพชร (อพท.๔)

มิวเซียมในจังหวัดสุโขทัย

18 พฤศจิกายน 2562

16,403

569

28 มิถุนายน 2562

7,601

482

01 มีนาคม 2563

11,208

594

02 กรกฎาคม 2562

14,393

515

25 พฤศจิกายน 2564

9,941

563

28 มิถุนายน 2562

4,190

505

28 มิถุนายน 2562

5,846

271

28 มิถุนายน 2562

4,076

245

คุณกำลังมองหาข้อมูล บทความ ความรู้ในหัวข้อ ระบบ ชลประทาน สมัย สุโขทัย บน Google คุณไม่พบข้อมูลที่ต้องการ! ต่อไปนี้คือเนื้อหาที่ดีที่สุดที่รวบรวมและเรียบเรียงโดยทีม viknews.com พร้อมกับหัวข้อที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น:

รูปภาพสำหรับคำหลัก: ระบบ ชลประทาน สมัย สุโขทัย

บทความยอดนิยมเกี่ยวกับ ระบบ ชลประทาน สมัย สุโขทัย

1. ระบบชลประทานเมืองสุโขทัย – กรมศิลปากร

  • ผู้เขียนบทความ: www.finearts.go.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 3 ⭐ (8971 คะแนน)

  • ระดับสูง: 3 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 1 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ ระบบชลประทานเมืองสุโขทัย – กรมศิลปากร สำนักพิมพ์ : โรงแรมบางกอกอินเฮาส์. ตัวอย่างไฟล์แนบ PDF: 312 ระบบชลประทานเมืองสุโขทัย.pdf. Keywords: …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด:
    เลขที่ ๘๑/๑ อาคารกรมศิลปากร ถนนศรีอยุธยา แขวงวชิระพยาบาล ดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
    โทรศัพท์: 02 126 6252, 02 126 6271 โทรสาร 02 126 6271
    อีเมล์:

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

2. คนสุโขทัย ใช้ภูมิปัญญาชลประทานโบราณจัดการน้ำ

  • ผู้เขียนบทความ: ref.codi.or.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 3 ⭐ (3444 คะแนน)

  • ระดับสูง: 3 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 1 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ คนสุโขทัย ใช้ภูมิปัญญาชลประทานโบราณจัดการน้ำ ระบบการจัดการน้ำเป็นภูมิปัญญาที่เกิดในประเทศไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยการตั้งบ้านแปลงเมือง ดังหลักฐานทางด้านโบราณคดีตามชุมชนโบราณขนาดใหญ่หลายแห่ง …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: ระบบการจัดการน้ำเป็นภูมิปัญญาที่เกิดในประเทศไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยการตั้งบ้านแปลงเมือง ดังหลักฐานทางด้านโบราณคดีตามชุมชนโบราณขนาดใหญ่หลายแห่ง มีการขุดคูน้ำและแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค นอกจากเหตุผลการป้องกันข้าศึกศัตรูแล้วยังเป็นแหล่งอาหารให้กับประชาชนอีกด้วย ในสมัยสุโขทัย บริเวณที่ตั้งเมืองสุโขทัย…

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

3. สรีดภงส์ – วิกิพีเดีย

  • ผู้เขียนบทความ: th.wikipedia.org

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (21520 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ สรีดภงส์ – วิกิพีเดีย เดิมคนท้องถิ่นตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เรียกร่องรอยของคันดินโบราณเพื่อการชลประทานว่า ทำนบพระร่วง เนื่องจากกษัตริย์สุโขทัยพระองค์ใดพระองค์ …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: เดิมคนท้องถิ่นตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เรียกร่องรอยของคันดินโบราณเพื่อการชลประทานว่า ทำนบพระร่วง เนื่องจากกษัตริย์สุโขทัยพระองค์ใดพระองค์หนึ่งเป็นผู้สร้างขึ้น จึงถือว่าเป็นของที่พระร่วงทำขึ้นหรือเกิดขึ้นด้วยอิทธิฤทธิ์ของพระร่วงทั้งสิ้น

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

4. เขื่อนสรีดภงค์ หรือ ทำนบพระร่วง

  • ผู้เขียนบทความ: www.digitalschool.club

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (39087 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ เขื่อนสรีดภงค์ หรือ ทำนบพระร่วง … สร้างเพื่อการชลประทาน มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เป็นลักษณะทำนบคันดิน หรือเรียกว่าเป็นเขื่อนดินก็ได้ … ตระพังทอง เพื่อนำไปใช้ในเมือง และพระราชวังในสมัยโบราณ

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: เขื่อนสรีดภงค์ หรือทำนบพระร่วง ถือว่าเป็นเขื่อนแห่งแรกของประเทศไทย สร้างเพื่อการชลประทาน มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เป็นลักษณะทำนบคันดิน หรือเรียกว่าเป็นเขื่อนดินก็ได้ สำหรับกั้นน้ำอยู่ระหว่างซอกเขาคือ เขาพระบาทใหญ่ และเขากิ่วอ้ายมา ที่สร้างขึ้นเพื่อกักน้ำ และชักน้ำไปตามคลองส่งน้ำมาเข้ากำแพงเมืองเข้าสระตร…

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

5. Page 21 –

  • ผู้เขียนบทความ: ebook.lib.ku.ac.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (24459 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ Page 21 – 1762-1981) ในสมัยกรุงสุโขทัยเป นราชธานีซึ่งได เริ่มต นขึ้นเมื่อ พ.ศ. … จึงได มีการส งเสริมระบบชลประทานเพื่อช วยเพาะปลูก โดยการสร างรางคันดิน …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด:  

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

6. ระบบชลประทานสมัยสุโขทัย (Irrigation System in Sukhothai Period)

  • ผู้เขียนบทความ: www.bansuanporpeang.com

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 3 ⭐ (19870 คะแนน)

  • ระดับสูง: 3 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 1 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ ระบบชลประทานสมัยสุโขทัย (Irrigation System in Sukhothai Period) ระบบชลประทานสมัยสุโขทัย (Irrigation System in Sukhothai Period). เขียนโดย TuayFoo เมื่อ 19 มิถุนายน, 2015 – 16:05. หมวดหมู่ของบล็อก: ภูมิปัญญาชาวบ้าน.

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: จากความแห้งแล้งที่มาเยือนทำให้ผมหยิบเอกสารที่ได้รับแจกครั้งไปเดินดูที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง (Ramkhamhaeng National Museum) ติดกับเมืองเก่า อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยเลยครับ ถ้าท่านใดถ้ามีโอกาสไปเยือนสุโขทัย ผมว่าก็น่าจะเป็นอีกสถานที่หนึ่งที่น่าเข้าไปศึกษาประวัติศาสตร์ประเทศไทยยุคสมัยอาณาจัก…

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

7. โครงการชลประทานสุโขทัย ชลประทานจังหวัดสุโขทัย

  • ผู้เขียนบทความ: www.stkrid.com

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 3 ⭐ (5924 คะแนน)

  • ระดับสูง: 3 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 1 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ โครงการชลประทานสุโขทัย ชลประทานจังหวัดสุโขทัย ศ.2565 นายโสภัญญ์ ศรีสว่างวรกุล ผู้อำนวยการโครงการชลประทานสุโขทัย มอบหมายให้ นายพิษณุ พิริยะวิศรุต หัวหน้าฝ่ายจัดสรรน้ำและปรับปรุงระบบชลประทาน …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม 2565 เวลา 08.30 น. นายโสภัญญ์ ศรีสว่างวรกุล ผู้อำนวยการโครงการชลประทานสุโขทัย มอบหมายให้ นางสาวภัทร์ศิริ จั่นแก้ว หัวหน้าฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1 และเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมในพิธีเปิดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ฟื้นฟู และแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำ ตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั…

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

8. สังคมในสมัยสุโขทัย | pawatsadsukhothai

  • ผู้เขียนบทความ: pawatsadsukhothai.wordpress.com

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (26339 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ สังคมในสมัยสุโขทัย | pawatsadsukhothai การที่ต้องลงทุนจัดระบบชลประทานเพื่อการเพาะปลูก ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ ทางการเกษตรของอาณาจักรสุโขทัยขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำที่จะสามารถกักเก็บไว้ได้นาน …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: สังคมในสมัยสุโขทัยเป็น   สังคมการเกษตร
    การเกษตรอาณาจักรสุโขทัยมีสภาพพื้นที่ราบที่ใช้ในการเพาะปลูกแบ่งอย่างกว้าง ๆ ได้เป็น2 ลักษณะ คือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบเชิงเขา บริเวณที่ราบลุ่มที่สำคัญ  คือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำยมและแม่น้ำ ซึ่งมีอาณาบริเวณตั้งแต่อุตรดิตถ์ ศรีสัชนาลัย สุโขทัย เรื่อยลงมาจนถึงนครสวรร…

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

9. อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยน้ำไม่ท่วม! สะท้อนภูมิปัญญาเมื่อ 700 ปีก่อน

  • ผู้เขียนบทความ: www.the1.co.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 3 ⭐ (14179 คะแนน)

  • ระดับสูง: 3 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 1 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยน้ำไม่ท่วม! สะท้อนภูมิปัญญาเมื่อ 700 ปีก่อน นี่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของคนสมัยสุโขทัยในการบริหารจัดการระบบชลประทานเมื่อ 700 กว่าปีมาแล้วได้เป็นอย่างดี …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: นี่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของคนสมัยสุโขทัยในการบริหารจัดการระบบชลประทานเมื่อ 700 กว่าปีมาแล้วได้เป็นอย่างดี ผ่านมาจนถึงยุคนี้ก็ยังสามารถใช้การได้อยู่ หากใครสนใจเรื่องการจัดการน้ำในสมัยสุโขทัยสามารถศึกษาข้อมูลต่อได้ที่นี่ ระบบชลประทานเมืองสุโขทัย

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

10. Content

  • ผู้เขียนบทความ: www.satit.up.ac.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (38143 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ Content ปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะทางเศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัย … ด้วยการจัดระบบชลประทานเข้าช่วย โดยให้มีการสร้างทำนบกักเก็บน้ำหรือสรีดภงส์ …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: ��Ҿ��鹴Թ������觹��
    ��鹷��ͧ�ҳҨѡ���⢷����ǹ�˭���������������л�١���кҧ��ǹ�繾�鹷��������� ������Դ��ӷ����ͧ�������� �����˹ͧ�֧�ҡ ��鹷��������Шзӡ���ɵ���������Ǥ�� ��鹷�����ͺ��������dz���ͧ�ͧ��(��ɳ��š) ��ǹ��÷�����ӹ�Ӣ�Ҵ�˭���ż�ҹ�֧ 3 ��¤�� �ӹ�ӻԧ ��ҹ���ͧ�ҡ��Ъҡѧ��� (��ᾧྪ�) �ӹ���� ��ҹ��⢷���������Ѫ����� �ӹ�ӹ�ҹ �…

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

11. ความเป็นมาและเหตุการณ์สำคัญ – จังหวัดสุโขทัย

  • ผู้เขียนบทความ: www.sukhothai.go.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (30405 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ ความเป็นมาและเหตุการณ์สำคัญ – จังหวัดสุโขทัย 1600 เป็นต้นมา จนถึงสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 … ปราสาทราชวงวัดวาอาราม คูเมือง กำแพงเมือง และระบบชลประทานต่าง ๆ ถูกภัยธรรมชาติทำลายให้เสียหาย …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด:

    [�����Ũѧ��Ѵ��⢷��] [����ѵ���ʵ����⢷��] [ʶҹ����ͧ�����] [�ȡ�ŧҹ���ླ�] [˹�觵Ӻ�˹�觼�Ե�ѳ��] [����º˹��§ҹ] [���䫵�㹨ѧ��Ѵ]

    [Ἱ�ѧ���䫵�]  

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

12. เชิญชมนิทรรศการพิเศษ เรื่อง – โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม

  • ผู้เขียนบทความ: suw.ac.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (30124 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ เชิญชมนิทรรศการพิเศษ เรื่อง – โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ร่วมกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง จัดนิทรรศการพิเศษ เรื่อง “ระบบชลประทานสมัยสุโขทัย”.

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด:           เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์โบราณคดีของแคว้นสุโขทัยในอดีต และเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติไทย  โดยนิทรรศการได้ประมวลภาพพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ  แ…

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

  • ผู้เขียนบทความ: obrrd.ricethailand.go.th

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 3 ⭐ (3292 คะแนน)

  • ระดับสูง: 3 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 1 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ การชลประทานกับนาข้าว – หน้าแรก สำหรับประเทศไทยมีหลักฐานบันทึกจากศิลาจารึก พบว่าในสมัยสุโขทัยยุคพ่อขุนรามคำแหงได้มีการ … 1830 มีระบบชลประทานที่เรียกว่าเหมืองฝายและพนังกั้นน้ำขนาดใหญ่ …

  • คำค้นที่ค้นหามากที่สุด: HTTP Error 404. The requested resource is not found.

  • อ้างจากแหล่งที่มา:

วิดีโอสอนเกี่ยวกับ ระบบ ชลประทาน สมัย สุโขทัย

ข้อใดคือภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยด้านการชลประทาน

สรีดภงส์ หรือ ศรีดภงส์, สรีดภงค์, สรีดภงษ์, ทำนบพระร่วง คือ ทำนบกั้นน้ำหรือที่เรียกกันในปัจจุบันว่าเขื่อน ที่มีลักษณะเป็นเขื่อนดินกั้นน้ำระหว่างเขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา เพื่อทำการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในการเกษตรกรรมและใช้สอยในเมืองสมัยสุโขทัย

ระบบการชลประทานในสมัยสุโขทัยมีอะไรบ้าง

วิธีการของการชลประทานของสุโขทัย - พบร่องรอยการทำเขื่อนเก็บน้ำบริเวณเขาพระบาทและเขากิ่วอ้ายมา - มีทำนบขนาดใหญ่ที่โคกมนกับเขามือเสือ เรียกว่า ทำนบพระร่วง - ภายในเมืองมีการขุดสระน้ำเรียกว่า ตระพัง - มีบ่อน้ำและคลองส่งน้ำไปยังที่ต่างๆ

ภูมิปัญญาในสมัยสุโขทัยที่สําคัญมีอะไรบ้าง

1. ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ในสมัยสุโขทัยได้พัฒนาสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบเฉพาะของตนเอง เช่น เจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรือทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ... .
2. ขนบธรรมเนียมประเพณี ส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา เช่น ประเพณีการบวช การทำบุญเข้าพรรษา ออกพรรษา และประเพณีทอดกฐิน.
3. อักษรไทย ... .
4. เครื่องสังคโลก ... .
5. การชลประทาน.

ภูมิปัญญาการจัดการน้ำ” ในสมัยสุโขทัย คือข้อใด

ตามหลักศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ ที่ว่า “เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” การจัดการปัญหาน้ำเพื่อใช้ปลูกข้าวที่ก้าวหน้ายิ่ง คือการใช้แนวถนนพระร่วงเป็นคันกั้นน้ำเป็นช่วงๆ ทำให้สองข้างทางเป็นเสมือนคลองชลประทานผันน้ำเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้อนุรักษ์แนวคลองชลประทานโบราณนี้ ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก