เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้างถวายฎีกา

�ٻẺ�
           �觴��¤ӻ�оѹ�쪹Դ��͹���Ҿ� ������Ѻ��͡������������Ӥѭ��ҧ � �� ����Ҿ������蹴Թ�ç����ͧ�˭�

�͹�ع��ҧ���®ա�
          ����ҡ���������
           ��ó��������¡��ͧ���� ����ͧ�ع��ҧ�عἹ���ʹ�ͧ��͹���� ���д����ȷ��㹴�ҹ��������ͧ��С�кǹ��͹
           ��ù�����ͧ��Ǣع��ҧ�عἹ����Ѻ���Ҡ �ѹ��ɰҹ��Ҡ �������� �Ѫ�������稾�й���³�����Ҫ� ����ͧ�鹤������繹Էҹ �����ѧ�֧�ա�âѺ�繷ӹͧ
           ˹ѧ��;���Ǵ�� �������ê�ǡ�ا��Ҕ �����Ƕ֧����ͧ��Ƿ������ǡѺ����ͧ �ع��ҧ �عἹ ��Шҡ������㹾���Ǵ������ͧ���֧������Һ��ҢعἹ�Ѻ�Ҫ���������������稾�оѹ��� ������稾�����ҸԺ�շ�� 2 ��觤�ͧ�Ҫ�������ҧ �.�. 2034 � �.�.2072
           ����� ����稾�оѹ��Ҕ ������й��੾�о������蹴Թ���ͧ��㴾��ͧ��˹���ҡ�繾�й����Сͺ������õ�������Ѻ���¡�������蹴Թ

��������ͧ���
           �͹�ع��ҧ���®ա�
           ������ (��������ùҶ) ��ҹҧ�ѹ�ͧ仨ҡ���͹�ع��ҧ �ع��ҧ�֧���®ա� ��ѹ���ǹ�������稾�оѹ������ҧ�ѹ�ͧ�Ѵ�Թ����͡��� ������Ѻ�ع��ҧ �عἹ ���;����� �ҧ�ѹ�ͧ�ѧ��� �Ѵ�Թ���������稾�оѹ��Ҩ֧������ҡ������Ѻ����������ê��Ե�ҧ㹷���ش
           �͹�ع��ҧ���®ա� ��繵͹����Ӥѭ���ⴴ����觵͹˹������ �ҧ�ѹ�ͧ����繵���͡�ͧ����ͧ��١��Ҫ��Ե��� ���稾�оѹ��ҷç�Ѵ�Թ�������ê��Ե ��觨й�����ش�ش�ʹ�ͧ����ͧ (climax)
           �ѡɳ��� ��ó������������ ��������֡�ͧ�����������ҧ�֡��駶֧�� �����Ҽ���鹨������ʶҹ�Ҿ ��� �������㴡���

�������ҧ�ӻ�оѹ��

����������������
�еѴ�������Тͧ����
�ͧ˹���˹����˹�
���ǹ�����¢عἹ�ѹ�鹪ԧ
�����ѡ�عἹ���ʹ�ѡ
����Ӻҡ�ء����Ҵ��¡ѹ
�ع��ҧ��������¡ѹ��
�Թ�ͧ�ͧ����������
����������ҡ����ʹ����͡
��ž�ҧ��ǹҧ����������
������ѡ��ҧ�˹��������
�͡�����ҹ�������ͧ
�ٻ���������й��������
����ѵ���ѹ�ѧ�շ�����
�ѹ�Դ�˵ط�駹�������˭ԧ
�ӨеѴ�ҡ�˭������蹾��
���ѹ�ͧ����ѹ����͹�ҡ���
�èФ������������������
����ѡ����������Ѻ���ª�ҧ
�������¹ǹ���餹�ѹ�����Ź�кһ�������ҧ�á�����
�������������������
���駷�ŧ����ʹ�ҧ�ʹ˭ԧ
�����ǹ��˹����仵����
���¤����ҡ�ҹѡ�����´�ѹ��
��þѹʹ��������
��˹ѡ������������ͧ���
�������������ͧ͢���
����Ժ���ѡ��ҡѹ�Ѻ���
�������Ǿ���ҭ��繾��
���㨨л�дѧ��ҷ���ͧ
��觡��ҷ�ͧ�����ѹ����֡
����������ѡ��������鹼�
��Ҥ�����֧Ĵ��ѹ
�֧�֧�ǧ��ǧ�ԧ����������
����١�͡��������������
��ҵѴ⤹�Ҵ���ǡ��������
�������������ѹ���ѹ���
����ѡ�����Ң�ҧ���¢عἹ
�������֧�ѡ�˹��������
พระผงรูปเหมือน หลวงพ่อซำ อินทสุวัณโณ วัดตลาดใหม่ จ.อ่างทอง รุ่นแรก อีกหนึ่งพระเกจิผู้เรืองคุณวิทยาคมแห่งลุ่มแม่น้ำน้อย เจ้าตำราวิชาแพทย์แผนโบราณและเจ้าตำรับเบี้ยแก้อาถรรพณ์ ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ของเมืองอ่างทอง
หลวงพ่อซำ อินทสุวัณโณ อดีตเจ้าอาวาสวัดตลาดใหม่ ต.ตลาดใหม่ อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง เป็นพระเกจิผู้เรืองคุณวิทยาคมแห่งลุ่มแม่น้ำน้อย เจ้าตำราวิชาแพทย์แผนโบราณและเจ้าตำรับเบี้ยแก้อาถรรพณ์ ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2413 ที่บ้านหลักขอน ต.ห้วยคันแหลน อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง เป็นบุตรของนายจีนซึง กับนางอินท์ แซ่ลี้ ต่อมาใช้นามสกุลว่า "สีสุวรรณ์" ท่านมีพี่น้อง 3 คน ช่วงวัยเยาว์ ได้เรียนหนังสือกับพระที่วัดตลาดใหม่ จนอ่านออกเขียนได้ ครั้นเมื่ออายุ 24 ปี เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2438 ณ พัทธสีมาวัดตลาดใหม่ อ.วิเศษชัยชาญ มีพระอธิการดี วัดฝาง เป็นพระอุปัชฌาย์, พระอธิการแป้น วัดสิงห์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์จันทร์ วัดท่าสุวรรณ เป็นพระอนุสาวนา จารย์ หลังอุปสมบทก็อยู่จำพรรษาที่วัดตลาดใหม่ เพียง 2 พรรษา ก่อนเดินทางไปศึกษาบาลีที่วัดระฆังโฆสิตาราม ธนบุรี และย้ายไปจำพรรษาที่วัดสร้อยทอง เพื่อเรียนหนังสือ พระอาจารย์เปรม ครูใหญ่วัดสร้อยทอง เห็นแววความขยันหมั่นเพียร จึงได้แต่งตั้งให้เป็นครูผู้ช่วยสอน พ.ศ.2443 กลับมาจำพรรษาวัดตลาดใหม่ เนื่องจากเป็นห่วงหลวงพ่อคุ่ย เจ้าอาวาส ต่อมาหลวงพ่อคุ่ยได้ถ่ายทอดวิชาแพทย์แผนโบราณให้ แต่ท่านศึกษาเล่าเรียนได้เพียง 3 พรรษา หลวงพ่อคุ่ยมรณภาพ จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสสืบแทน เมื่อท่านดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส ได้เริ่มรักษาคนไข้ตามวิชาที่ร่ำเรียนมา ปรากฏว่าการรักษาได้ผลดีมาก เป็นที่เลื่องลือไปในที่ต่างๆ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบสุขุมก่อนจะให้ยารักษา กระทั่งคณะสงฆ์ออกคำสั่งห้าม มิให้ภิกษุกระทำตนเป็นหมอโบราณ ประกอบกับท่านชราภาพ จึงเลิกรักษาคนไข้ แต่ชาวบ้านก็ยังไปขอยามิได้ขาด หากไม่มีตัวยาท่านก็จดให้ไปหาซื้อหากันเอง นับว่าท่านเมตตา ช่วยเหลือชีวิตชาวบ้านโดยแท้ และในขณะนี้ร้านจำหน่ายยาแผนโบราณก็ปรุงยาตามตำราท่าน นอกเหนือจากการเป็นหมอแผนโบราณ ท่านยังจัดสร้างเบี้ยแก้อาถรรพณ์ ซึ่งเป็นวัตถุมงคลชิ้นเอกที่แจกจ่ายลูกศิษย์ลูกหาในโอกาสต่างๆ โดยหลวงพ่อซำ จะสร้างทุกวันอาทิตย์ วันอังคาร และวันเสาร์ หากในสามวันนี้ตรงกับวันพระ ท่านจะหยุดสร้าง และการสร้างเบี้ยแก้อาถรรพณ์จะสร้างจำนวนเท่ากับกำลังในแต่ละวัน เช่น วันอาทิตย์ มีกำลังวันคือ 6 ท่านจะสร้างเพียง 6 ตัว วันอังคารมีกำลัง 8 สร้างเพียง 8 ตัว หรือวันเสาร์มีกำลัง 10 สร้างเพียง 10 ตัว และประกอบพิธีให้แล้วเสร็จในคราวเดียว กรรมวิธีการสร้าง หลวงพ่อซำจะตั้งศาลเพียงตา นำเบี้ยแก้คือ หอยพูใส่พานวางไว้พร้อมกับปรอทและชันโรง บวงสรวงอัญเชิญบรมครู เทพเทวาฟ้าดิน เพื่อขออนุญาตประกอบพิธีและให้มาสถิตประสิทธิ์ประสาทวิชา จากนั้นจะบริกรรมคาถาเรียกแร่แปรธาตุ เทปรอทลงในตัวเบี้ย อุดปิดปากเบี้ยด้วยชันโรง บริกรรมคาถานิมิตกำกับ นำแผ่นฟอยล์อะลูมิ เนียมปิดทับชันโรงอีกชั้นหนึ่ง นั่งสมาธิอธิษฐานจิตปลุกเสก ขณะเดียวกัน ยังสร้างผ้ายันต์กันภัยอีกด้วย ปัจจุบัน เบี้ยแก้อาถรรพณ์หลวงพ่อซำ นับวันยิ่งหาดูหรือหาบูชาได้ยาก เนื่องด้วยเหตุผลนานาประการ ถูกจับยัดเป็นของหลวงพ่อพักตร์ วัดโบสถ์ก็มาก เพราะอายุการสร้างใกล้เคียงและพลิกแปลงการสร้างเช่นกัน จึงต้องดูขนาดเบี้ยและชันโรงเป็นหลัก เมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่นั้น ท่านเป็นเกจิอาจารย์ดังของเมืองอ่างทอง ที่ไม่เป็นสองรองใครในเรื่องเวทวิทยาคม โดยกล่าวขวัญกันว่าท่านเป็นสำเร็จฌานสมาบัติสูง สามารถหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้าได้ดุจตาเห็น จนเป็นที่โจษ จันกันอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ ยังมีความเมตตาปรานีสูงยิ่ง ใครจะไปจะมาท่านก็ต้อน รับอย่างเท่าเทียมกัน แม้แต่สัตว์ต่างๆ ท่านก็ยังให้ความเมตตา
ศิษย์ที่ได้รับการถ่ายทอดวิชา คือ
-หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ,
-หลวงพ่อทองใบ วัดอบทม,
-หลวงพ่อมี วัดม่วงคัน
-พระสมุห์ปรเมษฐ เจ้าอาวาสวัดตลาดใหม่

หลวงพ่อซำ เริ่มมีอาการอาพาธด้วยโรคชราตั้งแต่อายุ 93 ปี แต่ท่านฉันยาเก่ง เมื่อรู้ตัวว่าเป็นโรคอะไรจะรีบฉันยาโดยไม่ปล่อยให้โรคกำเริบ กระทั่งถึงวันที่ 15 มกราคม 2509 ท่านได้มรณภาพด้วยกิริยาสงบ สิริอายุ 94 พรรษา 71 ดำรงเจ้าอาวาสวัดตลาดใหม่ยาวนานถึง 63 ปี นับว่าเป็นพระเถระที่มีอายุยืนยาวรูปหนึ่งของเมืองอ่างทอง

 

1042. พระสมเด็จพิมพ์ซุ้มเรือนแก้ว หลวงพ่อทองใบ สุมโน วัดศรีวิสารวาจา จ.นครปฐม ยุคแรก เนื้อชมพู หายาก ให้บูชา 800 บาท



วัดศรีวิสารวาจา ต.โพรงมะเดื่อ อ.เมือง จ.นครปฐม ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2513 ตามประวัติ พันเอกพระยาศรีวิสารวาจา ซึ่งท่านได้เป็นกำลัง สำคัญในการสร้างวัด ท่านเป็นผู้ที่มีความศรัทธา ในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า และได้อุปถัมภ์ วัดมาโดยตลอดและวัดได้รับการบูรณะซ่อม แซมและพัฒนามาโดยตลอด
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระ กูล) (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล, หุ่น ฮุน ตระกูล-ในเอกสารบางแหล่ง เขียนว่า พระยาศรี วิศาลวาจา)อดีตอธิการบดีคนแรกของ มหา วิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลองและรัฐ มนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ,อดีตรัฐ มนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง
พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับ อุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์ จากมหาวิทยา ลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล[2] ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรม การองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี
บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิก และ เป็น ส.ส. สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และบทบาท ในทางวิชาการดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดี คนแรก ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พระยาศรีวิสารวาจา มีเชื้อสายจีนไหหลำ มีชื่อจีนว่า ฮุ่นเซ็กเตี่ยน
หลวงพ่อทองใบ สุมโน อดีตเจ้าอาวาสวัด ศรีวิสารวาจาและพระเกจิ คนนครปฐม จะรู้จักดี และคุ้นเคยกับชื่อนี้เป็นอย่างดี รวมทั้งการได้ เห็นวัตถุมงคลของท่านก็มีอยู่มากมาย และแพร่ หลายอย่างกว้างขวาง แต่หากว่าได้ขาดการสืบค้น ประวัติและการโปรโมทเท่านั้นเอง
หลวงพ่อทองใบ สุมโน (สุมโน แปลว่า พระผู้ที่มีหัวประเสริฐและบริสุทธิ์อย่างแท้จริง) เป็นเกจิชื่อดังในอดีตของนครปฐมรุ่นราวคราว เดียวกับหลวงพ่อศรีไพร วัดหุบรักษ์ และยังเป็น สหธรรมิกกันอีกด้วย
หลวงพ่อทองใบ สืบวิชาคาถาอาคมและ ไสยเวทย์ มาจากสายหลวงปู่ศุข วัดปากคลอง มะขามเฒ่า
เดิมทีท่านอยู่ที่วัดมักกะสัน กรุงเทพฯ ได้ถูก นิมนต์ให้มาเป็นเจ้าอาวาสวัด เนื่องจากท่านได้ ถวายที่ดินของท่านเองให้เพื่อสร้างวัดขึ้นที่หมู่ บ้านหนองนางแช่แห่งนี้ แต่ตัวท่านเองไปบวช เรียนศึกษาวิชาอาคมที่วัดมักกะสันและได้กลับมาเป็นเจ้าอาวาสวัดศรีวิสารวาจา เมื่อปี พ.ศ.2511 โดยสมัยนั้น ชาวบ้านได้ไปขอความอนุเคราะห์ จากเจ้าคณะตำบลในสมัยนั้น คือ พระครูธรรม สุนทร (หลวงพ่อแดง วัดบ้านยาง) และเจ้าคณะ อำเภอเมืองนครปฐมในสมัยนั้นคือ พระครูปัจ ฉิมทิศบริหาร (หลวงพ่อฉ่อย วัดโพรงมะเดื่อ) โดยมี พระราชปัญญาภรณ์ วัดพระงาม(หลวงพ่อ ปัญญา วัดไร่ขิง) สมัยนั้นเป็นเจ้าคณะจังหวัด นครปฐม
ท่านได้ก่อสร้างและบูรณะวัดศรีวิสารวาจา รวมทั้งโรงเรียนบ้านหนองนางแช่เรื่อยมา อาทิ เช่น สร้างกุฏิสงฆ์ หอระฆัง โรงครัว กำแพงวัด และซุ้มประตู เป็นต้น รวมทั้งท่านยังได้สร้าง วัตถุมงคล ออกมาเป็นจำนวนมาก เพื่อนำเงิน ที่ญาติโยมผู้ที่มีจิตศรัทธาได้ถวายและทำบุญบูชา วัตถุมงคลได้มาบูรณะวัดต่อไป
วัตุมงคลของท่านที่ได้ทำมามีดังนี้
1.พระสมเด็จปรกโพธิ์ เนื้อผงสีชมพู (มี ลักษณะ คล้ายกับปรกโพธิ์หลวงพ่อเที่ยง วัดม่วง ชุม กาญจนบุรี โดยสมเด็จปรกโพธิ์ของท่านมีการ เล่นเป็นของหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว เนื่อง จากมวลสารมีความเก่าและแกร่งพอสมควร และหลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลาอีกด้วย เนื่อง จากการตัดขอบคล้ายกัน)
2.ขุนช้างจ้าวทรัพย์ เนื้อผงสีชมพูและสีขาว (ท่านเป็นเกจิรูปแรกของเมืองไทยที่ได้รูปเหมือน ของขุนช้างขึ้นมาเป็นวัตถุมงคล)
3.ลิงนั่งกอดกัน เนื้อผงและเนื้อไม้ที่ แกะ จากรากรักซ้อน (คล้ายกับอิ่นคู่มหาเสน่ห์ของ เกจิอาจารย์ทางภาคเหนือของไทย)
4.เหรียญรูปเหมือน รุ่น1 ปีพ.ศ.2521 เนื้อ กะไหล่ทองและเนื้อทองแดงรมน้ำตาล (ท่าน สร้างก่อน ที่จะมรณภาพได้เพียงหนึ่งเดือนเท่า นั้น เพื่อนำเงินมาสร้างอุโบสถ มีประสบการณ์ มากพอสมควร ไม่ว่าจะเป็นอุบัติทางรถยนต์ พลิกคว่ำ โดนปืนเอ็มสิบหกก้อมีให้เห็น)
5.ตะกรุดโทน (พบเห็นยากมาก เนื่องจาก สับสนว่าเป็นของเกจิท่านใดกันแน่ เพราะไม่มี การบ่งบอกว่าเป็นของท่าน)
หลวงพ่อทองใบ มีลูกศิษย์ลูกหามากเมื่อสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่ อาทิเช่น ขุนศรีวิสารวาจาและภรรยา ทหารตำรวจและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในอดีตหลายท่าน ที่วัดท่านมีรูปถ่ายตอนที่ท่านประพรมน้ำมนต์ให้แก่ลูกศิษย์ที่มียศฐาบรรดาศักดิ์บนศาลาวัดในงานทำบุญต่างๆ
หลวงพ่อทองใบ สุมโน มรณภาพเมื่อปีพ.ศ.2521 โดยท่านได้กำลังสร้างพระอุโบสถพอดีแต่กำลังทำแค่เพียงการเทปูนเป็นฐานอุโบสถเท่านั้นเองท่านก้อได้มามรณภาพลงรวมทั้งสิ้นท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดศรีวิสารวาจา รวมแล้ว 10 ปีพอดี และวัดก้อมีการผลัดเปลี่ยนการเป็นเจ้าอาวาสเรื่อยมาจนมา

 

HMM Amulet said: ↑

1033. ตะกรุดนวหรคุณเกื้อหนุนชีวิต (ตะกรุดปืนเสีย) จารมือ เนื้อทองแดงร้อยไหมเบญจพรรณ หลวงพ่อสืบ วัดสิงห์

ขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้างถวายฎีกาที่ไหน

ฝ่ายขุนช้างร่างฟ้องเสร็จแล้ว ก็มาที่วังใน รออยู่ที่ใต้ตำหนักน้ำ พอสมเด็จพระพันวษาเสด็จกลับวังทางเรือตอนจวนค่ำ ขุนช้างก็ลงลอยคอเข้าถวายฎีกา สมเด็จพระพันวษาเห็นเข้า ก็ทรงพระพิโรธ ให้รับฎีกาไว้ แล้วเอาตัวไปเฆี่ยนสามสิบที จากนั้นให้ตั้งกฤษฎีกาว่า ตั้งแต่นี้ไป ถ้าใครปล่อยให้ใครเข้ามาในล้อมวง ต้องระวางโทษเจ็ดสถาน ถึง ...

เรื่องขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้างถวายฎีกามีความสำคัญอย่างไร

ตอนขุนช้างถวายฎีกา เป็นตอนที่สำคัญและโดดเด่นยิ่งตอนหนึ่งเพราะ นางวันทองซึ่งเป็นตัวเอกของเรื่องได้ถูกเจ้าชีวิตคือ สมเด็จพระพันวษาทรงตัดสินให้ประหารชีวิต ซึ่งจะนำไปสู่จุดสุดยอดของเรื่อง (climax) ลักษณะเด่น พรรณนาภาวะอารมณ์ ความรู้สึกของมนุษย์ได้อย่างลึกซึ้งถึงแก่น ไม่ว่าผู้นั้นจะอยู่ในสถานภาพ เพศใด หรือวัยใดก็ตาม

ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา กล่าวถึงอะไร

๔.๑ สาระ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา เสนอข้อคิดว่าการตกเป็นทาสของอารมณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความรัก ความโกรธ ความหลง ย่อมทำให้มนุษย์ขาดสติกระทำสิ่งต่างๆโดยไม่คำนึงถึงผลที่ตามมาว่าดีหรือร้ายแก่ตนเองหรืแก่ผู้อื่นเมื่อเกิดหลังจากที่พลายงามลอบขึ้นเรือนของขุนช้างแล้วพามารดามาอยู่ด้วย ก็เกิดเกรงขุนช้างจะเอาผิด ...

ทำไมขุนแผนจึงถูกขุนช้างหาเรื่องแล้วไปถวายฎีกา

ขุนช้างโกรธที่ขุนแผนพาตัวนางวันทองไปจึงถวายฎีการ้องทุกข์ สมเด็จพระพันวษา

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก