แบบทดสอบวิชาทักษะการเรียนรู้ ทร21001

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

ทักษะการเรียนรู้, ม ต้น, ทร21001, กศน.

ทักษะการเรียนรู้, ม ต้น, ทร21001, กศน.

More Related Content

  1. 1. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 33/2555
  2. 2. 1 หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 33 /2555
  3. 3. 2
  4. 4. 3 สารบัญ หนา คํานํา สารบัญ คําแนะนําการใชแบบเรียน โครงสรางรายวิชาทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน บทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเอง 8 บทที่ 2 การใชแหลงเรียนรู 59 บทที่ 3 การจัดการความรู 78 บทที่ 4 การคิดเปน 137 บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย 176 บทที่ 6 ทักษะการเรียนรูและศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ 189
  5. 5. 4 คําแนะนําการใชหนังสือเรียน หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนแบบเรียนที่จัดทําขึ้นสําหรับ ผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู ผูเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจใน เนื้อหาใหมใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่องเพื่อเปนการสรุปความรูความเขาใจของเนื้อหาในเรื่อง นั้น ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของเนื้อหาแตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและ เพื่อน ๆ ที่รวมเรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได 4. แบบเรียนนี้มี 6 บท คือ บทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเอง บทที่ 2 การใชแหลงเรียนรู บทที่ 3 การจัดการความรู บทที่ 4 การคิดเปน บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย บทที่ 6 ทักษะการเรียนรูและศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ
  6. 6. 5 โครงสรางการเรียนรูดวยตนเอง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระสําคัญ รายวิชาทักษะการเรียนรู มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักเรียนในดาน การเรียนรูดวยตนเอง การใชแหลงเรียนรู การจัดการความรู การคิดเปนและการวิจัยอยางงาย โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูเรียนสามารถกําหนดเปาหมาย วางแผนการเรียนรูดวยตนเอง เขาถึงและเลือกใช แหลงเรียนรูจัดการความรู กระบวนการแกปญหาและตัดสินใจอยางมีเหตุผล ที่จะสามารถใชเปน เครื่องมือชี้นํา ในการเรียนรู และการประกอบอาชีพใหสอดคลองกับหลักการพื้นฐานและการพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ ใน 5 กลุมอาชีพใหม คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ ตามยุทธศาสตร 2555กระทรวงศึกษาธิการ ไดอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต ผลการเรียนรูที่คาดหวัง บทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเอง 1. สามารถวิเคราะหความรูจากการอาน การฟง การสังเกต และสรุปไดถูกตอง 2. สามารถจัดระบบการแสวงหาความรูใหกับตนเอง 3. ปฏิบัติตามขั้นตอนในการแสวงหาความรูเกี่ยวกับทักษะการอาน ทักษะการฟง และ ทักษะการจดบันทึก 4. สามารถนําความรู ความเขาใจในเรื่อง 5 ศักยภาพของพื้นที่ และหลักการพื้นฐานตาม ยุทธศาสตร 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไปเพิ่มขีดความสามารถการประกอบอาชีพโดยเนนที่กลุมอาชีพ ใหม ใหแขงขันไดในระดับทองถิ่น บทที่ 2 การใชแหลงเรียนรู 1. จําแนกความแตกตางของแหลงเรียนรู และตัดสินใจเลือกใชแหลงเรียนรู 2. เรียงลําดับความสําคัญของแหลงเรียนรู และจัดทําระบบการใชแหลงเรียนรูของตนเอง 3. สามารถปฏิบัติการใชแหลงเรียนรูตามขั้นตอนไดถูกตอง 4. สามารถใชแหลงเรียนรูดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ เกี่ยวกับอาชีพของพื้นที่ที่ตนอาศัยอยูไดตามความตองการ บทที่ 3 การจัดการความรู 1. วิเคราะหผลที่เกิดขึ้นของขอบขายความรู ตัดสินคุณคา กําหนดแนวทางพัฒนา 2. เห็นความสัมพันธของกระบวนการจัดการความรู กับการนําไปใชการพัฒนาชุมชน ปฏิบัติการ
  7. 7. 6 3. ปฏิบัติตามกระบวนการจัดการความรูไดอยางเปนระบบ 4. สามารถนํากระบวนการจัดการความรูของชุมชน จําแนกอาชีพในดานตาง ๆ ของ ชุมชน คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและการ บริการ ไดอยางถูกตอง บทที่ 4 การคิดเปน 1. อธิบายหรือทบทวนปรัชญาคิดเปนและลักษณะของขอมูลดานวิชาการ ตนเอง สังคม สิ่งแวดลอม ที่จะนํามาวิเคราะหและสังเคราะหเพื่อประกอบการคิดและตัดสินใจแกปญหา 2. จําแนก เปรียบเทียบ ตรวจสอบขอมูลดานวิชาการ ตนเอง สังคม สิ่งแวดลอม ที่จัดเก็บ และทักษะในการวิเคราะห สังเคราะหขอมูลทั้งสามดาน เพื่อประกอบการตัดสินใจแกปญหา 3. ปฏิบัติการตามเทคนิคกระบวนการคิดเปน ประกอบการตัดสินใจไดอยางเปนระบบ 4. สามารถนําความรู ความเขาใจในเรื่อง 5 ศักยภาพของพื้นที่ และหลักการพื้นฐานตาม ยุทธศาสตร 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไปเพิ่มขีดความสามารถการประกอบอาชีพโดยเนนที่กลุมอาชีพ ใหมใหแขงขันไดในระดับชาติ บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย 1. ระบุปญหา ความจําเปน วัตถุประสงค และประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย และสืบคนขอมูล เพื่อทําความกระจางในปญหาการวิจัย รวมทั้งกําหนดวิธีการหาความรูความจริง 2. เห็นความสัมพันธของกระบวนการวิจัยกับการนําไปใชในชีวิต 3. ปฏิบัติการศึกษา ทดลอง รวบรวม วิเคราะหขอมูล และสรุปความรูความจริงตาม ขั้นตอนไดอยางถูกตอง ชัดเจน เชน การวิเคราะหอาชีพ บทที่ 6 ทักษะการเรียนรูและศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ 1.บอกความหมาย ตระหนักและเห็นความสําคัญของทักษะการเรียนรูและศักยภาพ หลักของพื้นที่ 2. สามารถบอกอาชีพในกลุมอาชีพใหม 5 ดาน 3. ยกตัวอยางอาชีพที่สอดคลองกับศักยภาพหลักของพื้นที่
  8. 8. 7 ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเอง เรื่องที่ 1 ความหมาย/ และความสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง เรื่องที่ 2 การกําหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง เรื่องที่ 3 ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนิคในการเรียนรูดวยตนเอง เรื่องที่ 4 ปจจัยที่ทําใหการเรียนรูดวยตนเองประสบความสําเร็จ บทที่ 2 การใชแหลงเรียนรู เรื่องที่ 1 ความหมาย และความสําคัญของแหลงเรียนรู เรื่องที่ 2 หองสมุด : แหลงเรียนรู เรื่องที่ 3 แหลงเรียนรูสําคัญในชุมชน บทที่ 3 การจัดการความรู เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ หลักการกระบวนการจัดการความรู เรื่องที่ 2 การฝกทักษะ และกระบวนการจัดการความรู บทที่ 4 การคิดเปน เรื่องที่ 1 ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญ และการเชื่อมโยงสูกระบวนการคิดเปน และปรัชญาคิดเปน เรื่องที่ 2 ลักษณะและความแตกตางของขอมูลดานวิชาการ ตนเอง และสังคม สิ่งแวดลอม รวมทั้งเทคนิคการเก็บขอมูลและวิเคราะห สังเคราะหขอมูล การคิดเปนที่จะนํามาใช ประกอบการคิด การตัดสินใจ แกปญหาของคนคิดเปน เรื่องที่ 3 กรณีตัวอยางเพื่อการฝกปฏิบัติ บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย เรื่องที่ 1 ความหมายและประโยชนของการวิจัยอยางงาย เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการวิจัยอยางงาย เรื่องที่ 3 สถิติงาย ๆ เพื่อการวิจัย เรื่องที่ 4 เครื่องการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล เรื่องที่ 5 การเขียนโครงการวิจัยอยางงาย บทที่ 6 ทักษะการเรียนรูและศักยภาพภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของศักยภาพหลักของพื้นที่ เรื่องที่ 2 กลุมอาชีพใหม 5 ดาน และศักยภาพหลักของพื้นที่ 5 ประการ เรื่องที่ 3 ตัวอยางการวิเคราะหศักยภาพหลักของพื้น
  9. 9. 8 บทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเอง สาระสําคัญ การเรียนรูดวยตนเอง เปนกระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนริเริ่มการเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรู เลือกวิธีการเรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเอง โดยจะดําเนินการดวยตนเองหรือรวมมือ ชวยเหลือกับผูอื่นหรือไมก็ได ทุกวันนี้คนสวนใหญแสวงหาการศึกษาระดับที่สูงขึ้น จําเปนตองรูวิธี วินิจฉัยความตองการในการเรียนของตนเอง สามารถกําหนดเปามายในการเรียนรูของตนเอง สามารถ ระบุแหลงความรูที่ตองการ และวางแผนการใชยุทธวิธี สื่อการเรียน และแหลงความรูเหลานั้น หรือแมแต ประเมินและตรวจสอบความถูกตองของผลการเรียนรูของตนเอง มาตรฐานการเรียนรูสามารถวิเคราะห เห็นความสําคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรูจากการอาน ฟง และสรุปไดถูกตองตามหลักวิชาการ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. สามารถวิเคราะหความรูจากการอาน การฟง การสังเกต และสรุปไดถูกตอง 2. สามารถจัดระบบการแสวงหาความรูใหกับตนเอง 3. ปฏิบัติตามขั้นตอนในการแสวงหาความรูเกี่ยวกับทักษะการอาน ทักษะการฟง และทักษะการ จดบันทึก ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมาย/ และความสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง เรื่องที่ 2 การกําหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง เรื่องที่ 3 ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนิคในการเรียนรู ดวยตนเอง เรื่องที่ 4 ปจจัยที่ทําใหการเรียนรูดวยตนเองประสบความสําเร็จ เรื่องที่ 1 ความหมาย และความสําคัญ ของการเรียนรูดวยตนเอง คําตอบ คือ ในปจจุบันโลกมีความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูตาง ๆ ไดเพิ่มขึ้นเปน อันมาก การเรียนรูจากสถาบันการศึกษาไมอาจทําใหบุคคลศึกษาความรูไดครบทั้งหมด การไขวควาหาความรูดวยตนเอง จึงเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะสนองความตองการของบุคคลได เพราะเมื่อใด ก็ตามที่บุคคลมีใจรักที่จะศึกษา คนควา สิ่งที่ตนตองการจะรู บุคคลนั้นก็จะดําเนินการศึกษาเรียนรู อยางตอเนื่องโดยไมมีใครตองบอก ประกอบกับระบบการศึกษาและปรัชญาการศึกษาเพื่อเตรียมคน
  10. 10. 9 ใหสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต แสวงหาความรูดวยตนเอง ใฝหาความรู รูแหลงทรัพยากรการเรียน รู วิธีการหาความรู มีความสามารถในการคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน มีนิสัยในการทํางานและการ ดํารงชีวิต และมีสวนรวมในการปกครองประเทศ การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปน การจัดการศึกษาที่มีความเหมาะสมกับสภาพปญหา และความตองการของผูเรียนที่อยูนอกระบบ ซึ่งเปน ผูที่มีประสบการณจากการทํางานและการประกอบอาชีพ โดยการกําหนดสาระการเรียนรู มาตรฐานการ เรียนรู การจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผล ใหการพัฒนากับกลุมเปาหมายดานจิตใจ ใหมีคุณธรรม ควบคูไปกับการพัฒนาการเรียนรู สรางภูมิคุมกัน สามารถจัดการกับองคความรู ทั้งภูมิปญญาทองถิ่น และเทคโนโลยี เพื่อใหผูเรียนสามารถปรับตัวอยูในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สรางภูมิคุมกัน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งคํานึงถึงธรรมชาติการเรียนรูของผูที่อยูนอกระบบ และสอดคลองกับ สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ดังนั้น ในการศึกษาแตละรายวิชา ผูเรียนจะตองตระหนักวา การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ จะสัมฤทธิผลไดดวยดีหากผูเรียนไดศึกษาพรอมทั้งการปฏิบัติ ตามคําแนะนําของครูแตละวิชาที่ไดกําหนดเนื้อหาเปนบทตาง ๆ โดยแตละบทจะมีคําถาม รายละเอียด กิจกรรมและแบบฝกปฏิบัติตาง ๆ ซึ่งผูเรียนจะตองทําความเขาใจในบทเรียน และทํากิจกรรม ตลอดจน ทําตามแบบฝกปฏิบัติที่ไดกําหนดไวอยางครบถวน ซึ่งในหนังสือแบบฝกปฏิบัติของแตละวิชาไดจัดใหมี รายละเอียดตาง ๆ ดังกลาว ตลอดจนแบบประเมินผลการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนไดวัดความรูเดิมและวัด ความกาวหนาหลังจากที่ไดเรียนรู รวมทั้งการที่ผูเรียนจะไดมีการทบทวนบทเรียน หรือสิ่งที่ไดเรียนรู อัน จะเปนประโยชนในการเตรียมสอบตอไปไดอีกดวย การเรียนรูในสาระทักษะการเรียนรู เปนสาระเกี่ยวกับรายวิชาการเรียนรูดวยตนเอง รายวิชาการ ใชแหลงเรียนรู รายวิชาการจัดการความรู รายวิชาการคิดเปน และรายวิชาการวิจัยอยางงาย ในสวน ของรายวิชาการเรียนรูดวยตนเองเปนสาระการเรียนรูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู ในดานการ เรียนรูดวยตนเอง เปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะในการเรียนรูดวยตนเอง เพื่อมุง การเรียนรูดวยตนเอง สามารถชวยใหผูเรียนพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ ของตนเองโดยการคนพบความสามารถและสิ่งที่มีคุณคาในตนเองที่เคยมองขามไป (“...it is possible to help learners expand their potential by discovered that which is yet untapped…”) (Brockett & Hiemstra, 1991)
  11. 11. 10 เสริมสรางใหผูเรียนมีนิสัยรักการเรียนรูซึ่งเปนทักษะพื้นฐานของบุคคลแหงการเรียนรูที่ยั่งยืน เพื่อใช เปนเครื่องมือในการชี้นําตนเองในการเรียนรูไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึ่งที่สอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงของสภาพปจจุบัน และเปนแนวคิดที่สนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู การเปนสังคมแหงการเรียนรู โดยการเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูที่ทําใหบุคคลมีการริเริ่มการเรียนรู ดวยตนเอง มีเปาหมายในการเรียนรูที่แนนอน มีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเอง ไมพึ่งคนอื่น มี แรงจูงใจ ทําใหผูเรียนเปนบุคคลที่ใฝรู ใฝเรียน ที่มีการเรียนรูตลอดชีวิต เรียนรู วิธีเรียน สามารถเรียนรู เรื่องราวตาง ๆ ไดมากกวาการเรียนที่มีครูปอนความรูใหเพียงอยางเดียว การเรียนรูดวยตนเองเปนหลักการทางการศึกษาซึ่งไดรับความสนใจมากขึ้นโดยลําดับในทุก องคกรการศึกษา เพราะเปนแนวทางหนึ่งที่สนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต ในอันที่จะ หลอหลอมผูเรียน ใหมีทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต ตามที่มุงหวังไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 การเรียนรูดวยตนเอง เปนหลักการทางการศึกษาที่มีแนวคิดพื้นฐาน มาจากทฤษฎีของกลุมมนุษยนิยม (Humanism) ซึ่งเชื่อวา มนุษย ทุกคนมีธรรมชาติเปนคนดี มีเสรีภาพ และความเปนตนเอง มีความเปนปจเจกชนและศักยภาพ มีตนและการรับรูตนเอง มีการเปนจริงในสิ่งที่ ตนสามารถเปนได มีการรับรู มีความรับผิดชอบและความเปนมนุษย ดังนั้น การที่ผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองไดนับวาเปนคุณลักษณะที่ดีที่สุดซึ่งมีอยูใน ตัว บุคคลทุกคน ผูเรียนควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองจัดเปน กระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมรับในศักยภาพของผูเรียนวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถที่จะเรียนรู สิ่งตาง ๆ ไดดวยตนเอง เพื่อที่ตนเองสามารถที่ดํารงชีวิตอยูในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาได อยางมีความสุข ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูในบทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเองนี้ ผูเรียนจะตองรวบรวม ผลการปฏิบัติกิจกรรมซึ่งเปนหลักฐานของการเรียนรู โดยใหผูเรียนบรรจุในแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) ของผูเรียนแตละบุคคลดังนั้น เมื่อสิ้นสุดการเรียนรูในบทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเองนี้ ผูเรียนจะตองมีแฟมสะสมผลงานสงครู
  12. 12. 11 ชื่อ........................................................นามสกุล................................................ระดับมัธยมศึกษาตอนตน คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้ เปนแบบสอบถามที่วัดความชอบและเจตคติเกี่ยวกับการเรียนรูของทาน ใหทานอานขอความตาง ๆ ตอไปนี้ ซึ่งมีดวยกัน 58 ขอ หลังจากนั้น โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงกับ ความเปนจริง ระดับความคิดเห็น ของตัวทานมากที่สุด มากที่สุด หมายถึง ทานรูสึกวา ขอความนั้นสวนใหญเปนเชนนี้หรือมีนอยครั้งที่ไมใช มาก หมายถึง ทานรูสึกวา ขอความเกินครึ่งมักเปนเชนนี้ ปานกลาง หมายถึง ทานรูสึกวา ขอความจริงบางไมจริงบางครึ่งตอครึ่ง นอย หมายถึง ทานรูสึกวา ขอความเปนจริงบางไมบอยนัก นอยที่สุด หมายถึง ทานรูสึกวา ขอความไมจริง ไมเคยเปนเชนนี้ รายการคําถาม ความคิดเห็น มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง นอย นอย ที่สุด 1. ขาพเจาตองการเรียนรูอยูเสมอตราบชั่วชีวิต 2. ขาพเจาทราบดีวาขาพเจาตองการเรียนอะไร 3. เมื่อประสบกับบางสิ่งบางอยางที่ไมเจาใจ ขาพเจาจะหลีกเลี่ยงไปจากสิ่งนั้น 4. ถาขาพเจาตองการเรียนรูสิ่งใด ขาพเจาจะหาทางเรียนรูใหได 5. ขาพเจารักที่จะเรียนรูอยูเสมอ 6. ขาพเจาตองการใชเวลาพอสมควรในการเริ่มศึกษาเรื่องใหม ๆ 7. ในชั้นเรียนขาพเจาหวังที่จะใหผูสอนบอกผูเรียนทั้งหมดอยางชัดเจนวาตองทํา อะไรบางอยูตลอดเวลา 8. ขาพเจาเชื่อวา การคิดเสมอวาตัวเราเปนใครและอยูที่ไหน และจะทําอะไร เปน หลักสําคัญของการศึกษาของทุกคน 9. ขาพเจาทํางานดวยตนเองไดไมดีนัก 10. ถาตองการขอมูลบางอยางที่ยังไมมี ขาพเจาทราบดีวาจะไปหาไดที่ไหน 11. ขาพเจาสามารถเรียนรูสิ่งตาง ๆ ดวยตนเองไดดีกวาคนสวนมาก 12. แมขาพเจาจะมีความคิดที่ดี แตดูเหมือนไมสามารถนํามาใชปฏิบัติได 13. ขาพเจาตองการมีสวนรวมในการตัดสินใจวาควรเรียนอะไร และจะเรียนอยางไร 14. ขาพเจาไมเคยทอถอยตอการเรียนสิ่งที่ยาก ถาเปนเรื่องที่ขาพเจาสนใจ 15. ไมมีใครอื่นนอกจากตัวขาพเจาที่จะตองรับผิดชอบในสิ่งที่ขาพเจาเลือกเรียน 16. ขาพเจาสามารถบอกไดวา ขาพเจาเรียนสิ่งใดไดดีหรือไม แบบประเมินตนเองกอนเรียน แบบวัดระดับความพรอมในการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน
  13. 13. 12 รายการคําถาม ความคิดเห็น มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง นอย นอย ที่สุด 17. สิ่งที่ขาพเจาตองการเรียนรูไดมากมาย จนขาพเจาอยากใหแตละวันมีมากกวา 24 ชั่วโมง 18. ถาตัดสินใจที่จะเรียนรูอะไรก็ตาม ขาพเจาสามารถจะจัดเวลาที่จะเรียนรูสิ่งนั้น ได ไมวาจะมีภารกิจมากมายเพียงใดก็ตาม 19. ขาพเจามีปญหาในการทําความเขาใจเรื่องที่อาน 20. ถาขาพเจาไมเรียนก็ไมใชความผิดของขาพเจา 21. ขาพเจาทราบดีวา เมื่อไรที่ขาพเจาตองการจะเรียนรูในเรื่องใดเรื่องหนี่งให มากขึ้น 22. ขอมีความเขาใจพอที่จะทําขอสอบใหไดคะแนนสูง ๆ ก็พอใจแลว ถึงแมวา ขาพเจายังไมเขาใจเรื่องนั้นอยางถองแทก็ตามที 23. ขาพเจาคิดวา หองสมุดเปนสถานที่ที่นาเบื่อ 24. ขาพเจาชื่นชอบผูที่เรียนรูสิ่งใหม ๆ อยูเสมอ 25. ขาพเจาสามารถคิดคนวิธีการตาง ๆ ไดหลายแบบสําหรับการเรียนรูหัวขอใหม ๆ 26. ขาพเจาพยายามเชื่อมโยงสิ่งที่กําลังเรียนกับเปาหมายระยะยาว ที่ตั้งไว 27. ขาพเจามีความสามารถเรียนรู ในเกือบทุกเรื่อง ที่ขาพเจาตองการ จะรู 28. ขาพเจาสนุกสนานในการคนหาคําตอบสําหรับคําถามตาง ๆ 29. ขาพเจาไมชอบคําถามที่มีคําตอบถูกตองมากกวาหนึ่งคําตอบ 30. ขาพเจามีความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ มากมาย 31. ขาพเจาจะดีใจมาก หากการเรียนรูของขาพเจาไดสิ้นสุดลง 32. ขาพเจาไมไดสนใจการเรียนรู เมื่อเปรียบเทียบกับผูอื่น 33. ขาพเจาไมมีปญหา เกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการศึกษาคนควา ไดแก ทักษะการฟง อาน เขียน และจํา 34. ขาพเจาชอบทดลองสิ่งใหมๆ แมไมแนใจ วา ผลนั้นจะออกมา อยางไร 35. ขาพเจาไมชอบ เมื่อมีคนชี้ใหเห็นถึงขอผิดพลาด ในสิ่งที่ขาพเจากําลังทําอยู 36. ขาพเจามีความสามารถในการคิดคน หาวิธีแปลกๆ ที่จะทําสิ่งตาง ๆ 37. ขาพเจาชอบคิดถึงอนาคต 38. ขาพเจามีความพยายามคนหาคําตอบในสิ่งที่ตองการรูไดดี เมื่อเทียบกับผูอื่น 39. ขาพเจาเห็นวาปญหาเปนสิ่งที่ทาทาย ไมใชสัญญาณใหหยุดทํา 40. ขาพเจาสามารถบังคับตนเอง ใหกระทําสิ่งที่ คิดวา ควรกระทํา 41. ขาพเจาชอบวิธีการของขาพเจา ในการสํารวจตรวจสอบปญหาตาง ๆ 42. ขาพเจามักเปนผูนํากลุม ในการเรียนรู 43. ขาพเจาสนุกที่ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอื่น
  14. 14. 13 รายการคําถาม ความคิดเห็น มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง นอย นอย ที่สุด 44. ขาพเจาไมชอบสถานการณการเรียนรูที่ทาทาย 45. ขาพเจามีความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะเรียนรูสิ่งใหม ๆ 46. ยิ่งไดเรียนรูมาก ขาพเจาก็ยิ่งรูสึก วา โลกนี้นาตื่นเตน 47. การเรียนรูเปนเรื่องสนุก 48. การยึดการเรียนรูที่ใชไดผลมาแลว ดีกวา การลองใชวิธีใหม ๆ 49. ขาพเจาตองการเรียนรูใหมากยิ่งขึ้น เพื่อจะได เปนคนที่มีความเจริญกาวหนา 50. ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบเกี่ยวกับการเรียนรูของขาพเจาเอง ไมมีใครมารับผิดชอบ แทนได 51. การเรียนรูถึงวิธีการเรียน เปนสิ่งที่สําคัญสําหรับขาพเจา 52. ขาพเจาไมมีวันที่จะแกเกินไป ในการเรียนรูสิ่งใหม ๆ 53. การเรียนรูอยูตลอดเวลา เปนสิ่งที่นาเบื่อหนาย 54. การเรียนรูเปนเครื่องมือในการดําเนินชีวิต 55. ในแตละปขาพเจาไดเรียนรูสิ่งใหม ๆ หลายๆ อยางดวยตนเอง 56. การเรียนรูไมไดทําใหชีวิตของขาพเจา แตกตางไปจากเดิม 57. ขาพเจาเปนผูเรียนที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในชั้นเรียน และการเรียนรูดวยตนเอง 58 ขาพเจาเห็นดวยกับความคิดที่วา “ผูเรียนคือ ผูนํา” ความพรอมในการเรียนรูดวยตนเอง ในการเรียนรูดวยตนเองเปนบุคลิกลักษณะสวนบุคคลของผูเรียน ที่ตองการใหเกิดขึ้นในตัว ผูเรียนตามเปาหมายของการศึกษา ผูเรียนที่มีความพรอมในการเรียนดวยตนเองจะมีความรับผิดชอบ สวนบุคคล ความรับผิดชอบตอความคิดและการกระทําของตนเอง สามารถควบคุมและโตตอบ สถานการณ สามารถควบคุมตนเองใหเปนไปในทิศทางที่ตนเลือก โดยยอมรับผลที่เกิดขึ้นจากการ กระทําที่มาจากความคิดตัดสินใจของตนเอง การเริ่มตนเรียนรูดวยตนเองที่ดีที่สุดนั้น เรามาเริ่มตนที่ความพรอมในการ เรียนรูดวยตนเอง และทานคงทราบในเบื้องตนแลววา ระดับความพรอมในการ เรียนรูดวยตนเองของทาน อยูในระดับใด (มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอย ี่
  15. 15. 14 ความหมาย และความสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูเปนเรื่องของทุกคน ศักดิ์ศรีของผูเรียนจะมีไดเมื่อมีโอกาสในการเลือกเรียนในเรื่องที่ หลากหลายและมีความหมายแกตนเอง การเรียนรูมีองคประกอบ 2 ดาน คือ องคประกอบภายนอก ไดแก สภาพแวดลอม โรงเรียน สถานศึกษา สิ่งอํานวยความสะดวก และครู องคประกอบภายใน ไดแก การคิด เปน พึ่งตนเองได มีอิสรภาพ ใฝรู ใฝสรางสรรค มีความคิดเชิงเหตุผล มีจิตสํานึกในการเรียนรู มีเจตคติ เชิงบวกตอการเรียนรู การเรียนรูที่เกิดขึ้นมิไดเกิดขึ้นจากการฟงคําบรรยายหรือทําตามที่ครูผูสอนบอก แต อาจเกิดขึ้นไดในสถานการณตาง ๆ ตอไปนี้ 1. การเรียนรูโดยบังเอิญ การเรียนรูแบบนี้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ มิไดเกิดจากความตั้งใจ 2. การเรียนรูดวยตนเอง เปนการเรียนรูดวยความตั้งใจของผูเรียน ซึ่งมีความปรารถนาจะรูใน เรื่องนั้น ผูเรียนจึงคิดหาวิธีการเรียนดวยวิธีการตางๆ หลังจากนั้นจะมีการประเมินผลการเรียนรูดวย ตนเองจะเปนรูปแบบการเรียนรูที่ทวีความสําคัญในโลกยุคโลกาภิวัตน บุคคลซึ่งสามารถปรับตนเองให ตามทันความกาวหนาของโลกโดยใชสื่ออุปกรณยุคใหมได จะทําใหเปนคนที่มีคุณคาและประสบ ความสําเร็จไดอยางดี 3. การ เรียนรูโดยกลุม การเรียนรูแบบนี้เกิดจากการที่ผูเรียนรวมกลุมกันแลวเชิญผูทรงคุณวุฒิมาบรรยายใหกับ สมาชิกทําใหสมาชิกมีความรูเรื่องที่วิทยากรพูด 4. การเรียนรูจากสถาบันการศึกษา เปนการเรียนแบบเปนทางการ มีหลักสูตร การประเมินผล มี ระเบียบการเขาศึกษาที่ชัดเจน ผูเรียนตองปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กําหนด เมื่อปฏิบัติครบถวนตามเกณฑที่ กําหนดก็จะไดรับปริญญา หรือประกาศนียบัตร จากสถานการณการเรียนรูดังกลาวจะเห็นไดวา การ เรียนรูอาจเกิดไดหลายวิธี และการเรียนรูนั้น ไมจําเปนตองเกิดขึ้นในสถาบันการศึกษาเสมอไป การ เรียนรูอาจเกิดขึ้นไดจากการเรียนรูดวยตนเอง หรือจากการเรียนโดยกลุมก็ได และการที่บุคคลมีความ ตระหนักเรียนรูอยูภายในจิตสํานึกของบุคคลนั้น การเรียนรูดวยตนเองจึงเปนตัวอยางของการเรียนรูใน ลักษณะที่เปนการเรียนรู ที่ทําใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต ซึ่งมีความสําคัญสอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบัน และสนับสนุนสภาพ “สังคมแหงการเรียนรู” ไดเปนอยางดี “เด็กตามธรรมชาติตองพึ่งพิงผูอื่นและตองการผูปกครองปกปองเลี้ยงดูและตัดสินใจแทน เมื่อเติบโต เปนผูใหญ ก็พัฒนามีความอิสระ พึ่งพิงจากภายนอกลดลงและเปนตัวเอง จนมีคุณลักษณะการชี้นํา ตนเองในการเรียนรู” “การเรียนรูเปนเพื่อนที่ดีที่สุดของมนุษย” (LEARNING makes a man fit company for himself) ... (Young)...
  16. 16. 15 การเรียนรูดวยตนเองคืออะไร เมื่อกลาวถึง การเรียนดวยตนเอง แลวบุคคลโดยทั่วไปมักจะเขาใจวาเปนการเรียนที่ผูเรียน ทําการศึกษาคนควาดวยตนเองตามลําพังโดยไมตองพึ่งพาผูสอน แตแทที่จริงแลวการเรียนดวยตนเองที่ ตองการใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียนนั้น เปนกระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนริเริ่มการเรียนรูดวยตนเอง ตามความ สนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรู เลือกวิธีการ เรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเอง โดยจะดําเนินการดวยตนเองหรือ รวมมือชวยเหลือกับผูอื่นหรือไมก็ได ซึ่งผูเรียนจะตองมีความรับผิดชอบและเปนผูควบคุมการเรียนของ ตนเอง ทั้งนี้การเรียนดวยตนเองนั้นมีแนวคิดพื้นฐานมาจากแนวคิดทฤษฎีกลุมมนุษยนิยมที่มีความเชื่อ ในเรื่องความเปนอิสระและความเปนตัวของตัวเองของมนุษยวามนุษยทุกคนเกิดมาพรอมกับความดี มี ความเปนอิสระ เปนตัวของตัวเอง สามารถหาทางเลือกของตนเอง มีศักยภาพและสามารถพัฒนาศักยภาพ ของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น ซึ่งการเรียนดวยตนเอง กอใหเกิดผลในทางบวกตอการเรียน โดยจะสงผลใหผูเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง มีแรงจูงใจในการ เรียนมากขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีการใชวิธีการเรียนที่หลากหลาย การเรียนดวยตนเอง จึงเปนมาตรฐานการศึกษาที่ควรสงเสริมใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียน ทุกคน เพราะเมื่อใดก็ตามที่ผูเรียนมีใจ รักที่จะศึกษา คนควาจากความตองการของตนเอง ผูเรียนก็จะมีการศึกษาคนควาอยางตอเนื่องตอไปโดย ไมตองมีใครบอกหรือบังคับ เปนแรงกระตุนใหเกิดความอยากรูอยากเห็นตอไปไมมีที่สิ้นสุด ซึ่งจะ นําไปสูการเปนผูเรียนรูตลอดชีวิตตามเปาหมายของการศึกษาตอไป การเรียนดวยตนเองมีอยู 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่เปนการจัดการเรียนรูที่มีจุดเนนใหผูเรียนเปน ศูนยกลางในการเรียนโดยเปนผูรับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเองโดยการวางแผน ปฏิบัติการ เรียนรู และประเมินการเรียนรูดวยตนเอง ซึ่งไมจําเปนจะตองเรียนดวยตนเองเพียงคนเดียวตามลําพัง และ ผูเรียนสามารถถายโอนการเรียนรูและทักษะที่ไดจากสถานการณหนึ่งไปยังอีก สถานการณหนึ่งได ใน อีกลักษณะหนึ่งเปนลักษณะทางบุคลิกภาพที่มีอยูในตัวผูที่เรียนดวยตนเองทุกคนซึ่งมีอยูในระดับที่ไม เทากันในแตละสถานการณการเรียน โดยเปนลักษณะที่สามารถพัฒนาใหสูงขึ้นไดและจะพัฒนาไดสูงสุด เมื่อมีการจัดสภาพการจัดการเรียนรูที่เอื้อกัน การเรียนดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนกระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนริเริ่มการเรียนรูดวย ตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการ เรียนรู เลือกวิธีการเรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเอง โดยจะดําเนินการดวย ตนเองหรือรวมมือชวยเหลือกับผูอื่นหรือไมก็ได ซึ่งผูเรียนจะตองมีความรับผิดชอบและเปนผูควบคุมการ เรียนของ ตนเอง
  17. 17. 16 การเรียนรูดวยตนเองมีความสําคัญอยางไร การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึ่งที่สอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงของสภาพปจจุบัน และเปนแนวคิดที่สนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู การเปนสังคมแหงการเรียนรู โดยการเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูที่ทําใหบุคคลมีการริเริ่มการเรียนรู ดวยตนเอง มีเปาหมายในการเรียนรูที่แนนอน มีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเอง ไมพึ่งคนอื่น มี แรงจูงใจ ทําใหผูเรียนเปนบุคคลที่ใฝรู ใฝเรียน ที่มีการเรียนรูตลอดชีวิต เรียนรูวิธีเรียน สามารถเรียนรู เรื่องราวตาง ๆ ไดมากกวาการเรียนที่มีครูปอนความรูใหเพียงอยางเดียว การเรียนรูดวยตนเองไดนับวา เปนคุณลักษณะที่ดีที่สุดซึ่งมีอยูใน ตัวบุคคลทุกคน ผูเรียนควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมรับในศักยภาพของผูเรียนวาผูเรียนทุกคน มีความสามารถที่จะเรียนรูสิ่งตาง ๆ ไดดวยตนเอง เพื่อที่ตนเองสามารถที่ดํารงชีวิตอยูในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาไดอยางมีความสุข ดังนั้น การเรียนรูดวยตนเองมีความสําคัญดังนี้ 1. บุคคลที่เรียนรูดวยการริเริ่มของตนเองจะเรียนไดมากกวา ดีกวา มีความตั้งใจ มีจุดมุงหมาย และมีแรงจูงใจสูงกวา สามารถนําประโยชนจากการเรียนรูไปใชไดดีกวาและยาวนานกวาคนที่เรียนโดย เปนเพียงผูรับ หรือรอการถายทอดจากครู 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิตวิทยา และกระบวนการทางธรรมชาติ ทํา ใหบุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหนึ่งไปสูอีกลักษณะหนึ่ง คือ เมื่อตอนเด็ก ๆ เปน ธรรมชาติที่จะตองพึ่งพิงผูอื่น ตองการผูปกครองปกปองเลี้ยงดู และตัดสินใจแทนให เมื่อเติบโตมี พัฒนาการขึ้นเรื่อยๆ พัฒนาตนเองไปสูความเปนอิสระ ไมตองพึ่งพิงผูปกครอง ครู และผูอื่น การพัฒนา เปนไปในสภาพที่เพิ่มความเปนตัวของตัวเอง 3. การเรียนรูดวยตนเองทําใหผูเรียนมีความรับผิดชอบ ซึ่งเปนลักษณะที่สอดคลองกับพัฒนาการ ใหม ๆ ทางการศึกษา เชน หลักสูตร หองเรียนแบบเปด ศูนยบริการวิชาการ การศึกษาอยางอิสระ มหาวิทยาลัยเปด ลวนเนนใหผูเรียนรับผิดชอบการเรียนรูเอง 4. การเรียนรูดวยตนเองทําใหมนุษยอยูรอด การมีความเปลี่ยนแปลงใหม ๆ เกิดขึ้นเสมอ ทําใหมี ความจําเปนที่จะตองศึกษาเรียนรู การเรียนรูดวยตนเองจึงเปนกระบวนการตอเนื่องตลอดชีวิต การเรียนรูดวยตนเอง เปนคุณลักษณะที่สําคัญตอการดําเนินชีวิตที่มีประสิทธิภาพ ชวยใหผูเรียน มีความตั้งใจและมีแรงจูงใจสูง มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความยืดหยุนมากขึ้น มีการปรับพฤติกรรม การทํางานรวมกับผูอื่นได รูจักเหตุผล รูจักคิดวิเคราะห ปรับและประยุกตใชวิธีการแกปญหาของตนเอง จัดการกับปญหาไดดีขึ้น และสามารถนําประโยชนของการเรียนรูไปใชไดดีและยาวนานขึ้น ทําใหผูเรียน ประสบความสําเร็จในการเรียน
  18. 18. 17 การเรียนรูดวยตนเองมีลักษณะอยางไร การเรียนรูดวยตนเอง สามารถจําแนกออกเปน 2 ลักษณะสําคัญ ดังนี้ 1. ลักษณะที่เปนบุคลิกคุณลักษณะสวนบุคคลของผูเรียนในการเรียนดวยตนเอง จัดเปน องคประกอบภายในที่จะทําใหผูเรียนมีแรงจูงใจอยากเรียนตอไป โดยผูเรียนที่มี คุณลักษณะในการเรียน ดวยตนเองจะมีความรับผิดชอบตอความคิดและการกระทําเกี่ยวกับการเรียน รวมทั้ง รับผิดชอบในการ บริหารจัดการตนเอง ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นไดสูงสุดเมื่อมีการจัดสภาพการเรียนรูที่สงเสริมกัน 2. ลักษณะที่เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนดวยตนเอง ประกอบดวย ขั้นตอนการวาง แผนการเรียน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลการเรียน จัดเปนองคประกอบ ภายนอกที่สงผลตอ การเรียนดวยตนเองของผูเรียน ซึ่งการจัดการเรียนรูแบบนี้ผูเรียนจะไดประโยชนจากการเรียนมากที่สุด Knowles (1975) เสนอใหใชสัญญาการเรียน (Learning contracts) เปนการมอบหมายภาระงานใหแก ผูเรียนวาจะตองทําอะไรบางเพื่อใหไดรับความรูตามเปาประสงคและผูเรียนจะปฏิบัติตามเงื่อนไขนั้น องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเองมีอะไรบาง องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเอง มีดังนี้ 1. การวิเคราะหความตองการของตนเองจะเริ่มจากใหผูเรียนแตละคนบอกความตองการ และความสนใจของตนในการเรียนกับเพื่อนอีกคน ทําหนาที่เปนที่ปรึกษา แนะนํา และเพื่อนอีกคน ทําหนาที่จดบันทึก และใหกระทําเชนนี้หมุนเวียน ทั้ง 3 คน แสดงบทบาทครบทั้ง 3 ดาน คือ ผูเสนอ ความตองการ ผูใหคําปรึกษา และผูคอยจดบันทึก การสังเกตการณ เพื่อประโยชนในการเรียน รวมกันและชวยเหลือซึ่งกันและกันในทุกๆ ดาน 2. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียน โดยเริ่มจากบทบาทของผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียน ควรศึกษาจุดมุงหมายของวิชา แลวเขียนจุดมุงหมายในการเรียนของตนใหชัดเจน เนนพฤติกรรมที่ คาดหวัง วัดได มีความแตกตางของจุดมุงหมายในแตละระดับ 3. การวางแผนการเรียน ใหผูเรียนกําหนดแนวทางการเรียนตามวัตถุประสงคที่ระบุไว จัดเนื้อหาใหเหมาะสมกับสภาพความตองการและความสนใจของตน ระบุการจัดการเรียนรูให เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด 4. การแสวงหาแหลงวิทยาการทั้งที่เปนวัสดุและบุคคล 4.1 แหลงวิทยาการที่เปนประโยชนในการศึกษาคนควา เชน หองสมุด พิพิธภัณฑ เปนตน 4.2 ทักษะตาง ๆ ที่มีสวนชวยในการแสวงแหลงวิทยาการไดอยางสะดวกรวดเร็ว เชน ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการอาน เปนตน 5. การประเมินผล ควรประเมินผลการเรียนดวยตนเองตามที่กําหนดจุดมุงหมายของการ เรียนไว และใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเกี่ยวกับความรู ความเขาใจ ทักษะ ทัศนคติ คานิยม มี
  19. 19. 18 ขั้นตอนในการประเมิน คือ 5.1 กําหนดเปาหมาย วัตถุประสงคใหชัดเจน 5.2 ดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคซึ่งเปนสิ่งสําคัญ 5.3 รวบรวมหลักฐานจากผลการประเมินเพื่อตัดสินใจซึ่งตองตั้งอยูบนพื้นฐานของ ขอมูลที่สมบูรณและเชื่อถือได 5.4 เปรียบเทียบขอมูลกอนเรียนกับหลังเรียนเพื่อดูวาผูเรียนมีความกาวหนาเพียงใด 5.5 ใชแหลงขอมูลจากครูและผูเรียนเปนหลักในการประเมิน รายละเอียดกิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมที่ 1 ใหอธิบายความหมายของคําวา “การเรียนรูดวยตนเอง” โดยสังเขป กิจกรรมที่ 2 ใหอธิบาย “ความสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง” โดยสังเขป กิจกรรมที่ 3 ใหสรุปสาระสําคัญของ “ลักษณะการเรียนรูดวยตนเอง” มาพอสังเขป กิจกรรมที่ 4 ใหสรุปสาระสําคัญของ “องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเอง” มาพอสังเขป องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนควรมีการวิเคราะหความตองการ วิเคราะห เนื้อหา กําหนดจุดมุงหมายและการวางแผนในการเรียน มีความสามารถในการแสวงหาแหลง วิทยาการ และมีวิธีในการประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง โดยมีเพื่อนเปนผูรวมเรียนรูไปพรอมกัน และมีครูเปนผูชี้แนะ อํานวยความสะดวก และใหคําปรึกษา ทั้งนี้ ครูอาจตองมีการวิเคราะหความ พรอมหรือทักษะที่จําเปนของผูเรียนในการกาวสูการเปนผูเรียนรูดวยตนเองได
  20. 20. 19 เรื่องที่ 2 การกําหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง กระบวนการในการเรียนรูดวยตนเอง ความรับผิดชอบในการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน เปน สิ่งสําคัญที่จะนําผูเรียนไปสูการเรียนรูดวยตนเอง เพราะความรับผิดชอบในการเรียนรูดวยตนเองนั้น หมายถึง การที่ผูเรียนควบคุมเนื้อหา กระบวนการ องคประกอบของสภาพแวดลอมในการเรียนรูของ ตนเอง ไดแก การวางแผนการเรียนของตนเอง โดยอาศัยแหลงทรัพยากรทางความรูตางๆ ที่จะชวยนํา แผนสูการปฏิบัติ แตภายใตความรับผิดชอบของผูเรียน ผูเรียนรูดวยตนเองตองเตรียมการวางแผนการ เรียนรูของตน และเลือกสิ่งที่จะเรียนจากทางเลือกที่กําหนดไว รวมทั้ง วางโครงสรางของแผนการเรียนรู ของตนอีกดวย ในการวางแผนการเรียนรู ผูเรียนตองสามารถปฏิบัติงานที่กําหนด วินิจฉัยความชวยเหลือ ที่ตองการ และทําใหไดความชวยเหลือนั้น สามารถเลือกแหลงความรู วิเคราะห และวางแผนการการ เรียนทั้งหมด รวมทั้งประเมินความกาวหนาในการเรียนของตน ในการเรียนรูดวยตนเองผูเรียนและครูควรมีบทบาทอยางไร บทบาทของผูเรียนในการเรียนรูดวยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรูดวยตนเอง 1. การวิเคราะหความตองการในการเรียน  วินิจฉัยการเรียนรู  วินิจฉัยความตองการในการเรียนรูของตน  รับรูและยอมรับความสามารถของตน  มีความรับผิดชอบในการเรียนรู  สรางบรรยากาศการเรียนรูที่พอใจดวยตนเอง  มีสวนรวมในการระบุความตองการในการเรียน  เลือกสิ่งที่จะเรียนจากทางเลือกตางๆ ที่ กําหนด  วางโครงสรางของโครงการเรียนของตน 1. การวิเคราะหความตองการในการเรียน  สรางความคุนเคยใหผูเรียนไววางใจ เขาใจ บทบาทครู บทบาทของตนเอง  วิเคราะหความตองการการเรียนรูของผูเรียน และพฤติกรรมที่ตองการใหเกิดแกผูเรียน  กําหนดโครงสรางคราว ๆ ของหลักสูตร ขอบเขตเนื้อหากวาง ๆ สรางทางเลือกที่ หลากหลาย  สรางบรรยากาศใหเกิดความตองการการเรียน  วิเคราะหความพรอมในการเรียนรูของผูเรียน โดยการตรวจสอบความพรอมของผูเรียน  มีสวนรวมในการตัดสินใจในทางเลือกนั้น  แนะนําขอมูลใหผูเรียนคิด วิเคราะหเอง การเปรียบเทียบบทบาทของครูและผูเรียนตามกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง
  21. 21. 20 บทบาทของผูเรียนในการเรียนรูดวยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรูดวยตนเอง 2. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียน  ฝกการกําหนดจุดมุงหมายในการเรียน  รูจุดมุงหมายในการเรียน และเรียนใหบรรลุ จุดมุงหมาย  รวมกันพัฒนาเปาหมายการเรียนรู  กําหนดจุดมุงหมายจากความตองการของตน 2. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียน  กําหนดโครงสรางคราวๆ วัตถุประสงคการ เรียนของวิชา  ชวยใหผูเรียนเปลี่ยนความตองการที่มีอยูให เปนจุดมุงหมายการเรียนรูที่วัดไดเปนไดจริง  เปดโอกาสใหมีการระดมสมอง รวมแสดง ความคิดเห็นและการนําเสนอ  แนะนําขอมูลใหผูเรียนคิด วิเคราะหเอง 3. การออกแบบแผนการเรียน  ฝกการทํางานอยางมีขั้นตอนจากงายไปยาก  การใชยุทธวิธีที่เหมาะสมในการเรียน  มีความรับผิดชอบในการดําเนินงานตามแผน  รวมมือ รวมใจรับผิดชอบการทํางานกลุม  รับผิดชอบควบคุมกิจกรรมการเรียนรูของ ตนเองตามแผนการเรียนที่กําหนดไว 3. การออกแบบแผนการเรียน  เตรียมความพรอมโดยจัดประสบการณการ เรียนรู เสริมทักษะที่จําเปนในการเรียนรู  มีสวนรวมในการตัดสินใจ วิธีการทํางาน ตอง ทราบวา เรื่องใดใชวิธีใด สอนอยางไร มีสวนรวม ตัดสินใจเพียงใด  ยั่วยุใหเกิดพฤติกรรมการเรียนรู  ผูประสานสิ่งที่ตนเองรูกับสิ่งที่ผูเรียนตองการ  แนะนําขอมูลใหผูเรียนคิด วิเคราะหเองจนได แนวทางที่แจมแจง สรางทางเลือกที่หลากหลาย ใหผูเรียนเลือกปฏิบัติตามแนวทางของตน 4. การแสวงหาแหลงวิทยาการ  ฝกคนหาความรูตามที่ไดรับมอบหมายจาก แหลงการเรียนรูที่หลากหลาย  กําหนดบุคคล และสื่อการเรียนที่เกี่ยวของ  มีสวนรวมในการสืบคนขอมูลรวมกับเพื่อนๆ ดวยความรับผิดชอบ  เลือกใชประโยชนจากกิจกรรมและยุทธวิธีที่มี ประสิทธิภาพเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนด 4. การแสวงหาแหลงวิทยาการ  สอนกลยุทธการสืบคนขอมูล ถายทอดความรู ถาผูเรียนตองการ  กระตุนความสนใจชี้แหลงความรูแนะนําการใชสื่อ  จัดรูปแบบเนื้อหา สื่อการเรียนที่เหมาะสม บางสวน  สังเกต ติดตาม ใหคําแนะนําเมื่อผูเรียนเกิด ปญหาและตองการคําปรึกษา การเปรียบเทียบบทบาทของครูและผูเรียนตามกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (ตอ)
  22. 22. 21 บทบาทของผูเรียนในการเรียนรูดวยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรูดวยตนเอง 5. การประเมินผลการเรียนรู  ฝกการประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง  มีสวนรวมในการประเมินผล  ผูเรียนประเมินผลสัมฤทธิ์ดวยตนเอง 5. การประเมินผลการเรียนรู  ใหความรูและฝกผูเรียนในการประเมินผลการ เรียนรูที่หลากหลาย  เปดโอกาสใหผูเรียนนําเสนอวิธีการ เกณฑ ประเมินผล และมีสวนรวมในการตัดสินใจ  จัดทําตารางการประเมินผลที่จะใชรวมกัน  แนะนําวิธีการประเมินเมื่อผูเรียนมีขอสงสัย การเปรียบเทียบบทบาทของครูและผูเรียนตามกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (ตอ) จะเห็นไดวา ทั้งผูเรียนและครูตองมีการวินิจฉัยความตองการสิ่งที่จะเรียน ความพรอม ของผูเรียนเกี่ยวกับทักษะที่จําเปนในการเรียน การกําหนดเปาหมาย การวางแผนการเรียนรู การ แสวงหาแหลงวิทยาการ การประเมินผลการเรียนรู ซึ่งครูเปนผูฝกฝน ใหแรงจูงใจ แนะนํา อํานวยความ สะดวกโดยเตรียมการเบื้องหลัง และใหคําปรึกษา สวนผูเรียนตองเปนผูเริ่มตนปฏิบัติ ดวยความ กระตือรือรน เอาใจใส และมีความรับผิดชอบ กระทําอยางตอเนื่องดวยตนเอง เรียนแบบมีสวนรวม จึงทําใหผูเรียนเปนผูเรียนรูดวยตนเองได ดังหลักการที่วา “การเรียนรูตองเริ่มตนที่ตนเอง” และ ศักยภาพอันพรอมที่จะเจริญเติบโตดวยตนเองนั้น ผูเรียนควรนําหัวใจนักปราชญ คือ สุ จิ ปุ ลิ หรือ ฟง คิด ถาม เขียน มาใชในการสังเคราะหความรู นอกจากนี้ กระบวนการเรียนรูในบริบททางสังคม จะเปนพลังอันหนึ่งในการเรียนรูดวยตนเอง ซึ่งเปนการเรียนรูในสภาพชีวิตประจําวันที่ตองอาศัย สภาพแวดลอมมีสวนรวมในกระบวนการ ทําใหเกิดบรรยากาศการแลกเปลี่ยน พึ่งพากัน แตภายใต ความเปนอิสระในทางเลือกของผูเรียนดวยวิจารณญาณที่อาศัย เหตุผล ประสบการณ หรือคําชี้แนะ จากผูรู ครู และผูเรียนจึงเปนความรับผิดชอบรวมกันตอความสําเร็จในการเรียนรูดวยตนเอง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก