ข้อสอบ วิชา IS1 ม.2 พร้อม เฉลย doc

2.ข้อใดคือความหมายของ IS *

การศึกาาค้นคว้าสิ่งที่เราอยากรู้

การศึกษาค้นคว้าสิ่งที่เราสนใจ

3.บันไดสู่ความสำเร็จ ของวิชา IS มีกี่ขั้น *

4. ข้อใดไม่ใช่บันไดสู่ความสำเร็จของวิชา IS *

การตั้งประเด็นคำถามและสมมุติฐาน

การแสวงหาและสืบค้นความรู้

5. รายงานทางวิชาการมีกี่ประเภท *

6. การนำเสนอผลงานอันเนื่องมาจากการศึกษาค้นคว้าพิเศษนอกเหนือจากสิ่งที่เราเรียนในชั้นเรียนคือความหมายของข้อใด *

7. การศึกษาค้นคว้าตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียนเอง ที่ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทำการค้นคว้าหาคำตอบหรือผลงานซึ่งมีความสมบูรณ์ในชั้นงาน โดยนักเรียนเป็นผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า คือความหมายของข้อใด *

8. เป็นรายงานศึกษาวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท จัดทำขึ้นจากการทดลองค้นคว้าและทำการวิจัยอย่างพอสมควร และได้ข้อมูลที่อาจเป็นข้อมูลเพิ่มเติมหรือข้อมูลที่ได้ค้นพบใหม่ คือความหมายของข้อใด *

9. เป็นรายงานศึกษาวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญาเอก  ต้องจัดทำขึ้นจากการทดลองค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีวิธีการกระทำที่ถูกต้องและลึกซึ้งตามหลักวิชาการ ทั้งยังมีข้อมูลที่บ่งชัดเจนถึงสิ่งที่ได้ค้นพบใหม่ หรือองค์ความรู้ใหม่  ซึ่งอาจนำไปใช้ในการสร้างทฤษฎีใหม่ หรือนำไปประยุกต์ใช้ต่อไปได้ คือความหมายของข้อใด *

10. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของการศึกษาค้นคว้า *

ประเภทการสร้างและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์

11.องค์ประกอบของตั้งชื่อเรื่องการศึกษาค้นคว้าจะต้องมีกี่ส่วน *

12. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการต้องชื่อเรื่อง *

13.เอกสารงานเขียนที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวข้องกับหัวข้อหรือชื่อเรื่องที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสนใจ *

14. ข้อคือความสำคัญของการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง *

เพื่อให้ทราบถึงองค์ความรู้

ช่วยให้สามารถหลีกเลี้ยงความซ้ำซ้อนกับผู้อื่น

ช่วยให้เห็นแนวทางการดำเนินงานของผู้ค้นคว้าเอง

15. ข้อใดคือแบบอ้างอิงในเนื้อหา *

16. การอ้างอิงท้ายเล่มเรียกว่าอะไร *

17. ให้นักเรียนระบุข้อมูลที่ใช้เขียนแบบ MLA (2 คะแนน) *

เรื่อง การอ้างอิงทางวิชาการ ผู้แต่ง วิจิตร ณัฏฐการนิจ  พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง  สถานที่พิมพ์ วัฒนาพานิช กรุงเทพมหานคร ปี 2555

18. ให้นักเรียนระบุข้อมูลที่ใช้เขียนแบบ APA(2 คะแนน) *

เรื่อง การอ้างอิงทางวิชาการ ผู้แต่ง วิจิตร ณัฏฐการนิจ  พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง  สถานที่พิมพ์ วัฒนาพานิช กรุงเทพมหานคร ปี 2555

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

โรงเรยี นเทพศิรินทรค์ ลองสิบสาม ปทุมธานี
Debsirinklongsibsam Pathumthani School
เอกสารประกอบการเรียน
การศกึ ษาคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้
(Research and Knowledge formation)

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

IS 1
ชือ่ -นามสกุล: .....................................................................................
เลขท่ี........................................ ชั้น........................................................
ครทู ีป่ รึกษา...........................................................................................
โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์คลองสบิ สาม ปทมุ ธานี
ตาบลบงึ คอไห อาเภอลาลกู กา จงั หวัดปทมุ ธานี
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 4

คำนำ

การจัดการเรียนรใู้ นโรงเรยี นมาตรฐานสากล มุง่ เนน้ การเสริมสร้างความรู้ ความสามารถและ
คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และเป็นไปตามปฏิญญาว่าด้วยการจัด
การศึกษาของ UNESCO ได้แก่ Learning to know, Learning to do , Learning to live with
the others และ Learning to be ท้ังนเ้ี พอ่ื พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพ ทัง้ ในฐานะพลเมืองไทยและ
พลโลก เทียบเคยี งไดก้ บั นานาอารยประเทศ

หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นหลักสูตรที่ใช้เป็นเป้าหมายและทิศทางในการยกระดับ
การจดั การศกึ ษาของทง้ั โรงเรยี น โดยการออกแบบหลักสูตรจะตอ้ งสอดคล้องกับหลกั การและแนวคิด
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ซ่ึง
ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาคุณภาพบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
สาระ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นท่กี ำหนด มีการพฒั นาตอ่ ยอดคณุ ลักษณะท่เี ทียบเคียงกบั สากล

ค่มู ือการเรียนการสอนวชิ า การศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ : IS1 ของโรงเรยี น
เทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี เล่มนี้ จัดทำตามกรอบแนวทางการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียน ในการดำเนินงานครั้งนี้คณะผู้จัดทำขอขอบคุณคณะครูทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ ให้ข้อมูล
และเป็นกำลังใจ ในการจดั ทำจนสำเรจ็ สมบูรณ์ อันจะนำไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสบิ สาม ปทุมธานี ใหม้ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานเปน็ ทยี่ อมรบั ของชุมชนต่อไป

คณะผ้จู ัดทำ

สารบญั หนา้
1
หนว่ ยที่ 1 จดุ ประกายความคิด 11
กิจกรรมที่ 1.1 กำหนดประเด็นปญั หาและกำหนดแนวทางแกไ้ ขปญั หา 15
กิจกรรมท่ี 1.2 กำหนดประเด็นทีส่ นใจ 16
กจิ กรรมที่ 1.3 เสนอปญั หาท่ีสนใจ พร้อมบอกสาเหตใุ นรูปแบบ My mapping 17
กิจกรรมท่ี 1.4 สืบค้นรปู ภาพ พร้อมต้ังประเด็นปญั หา/คำถาม 21
กจิ กรรมท่ี 1.5 ประเดน็ ปัญหา/วัตถปุ ระสงค์ของการคน้ คว้า 23
กิจกรรมที่ 1.6 ประเดน็ ปญั หา/วัตถปุ ระสงค์/สมมตฐิ าน 24
กิจกรรมที่ 1.7 การวางแผนและการออกแบบการทำงาน 26
กิจกรรมที่ 1.8 โครงร่างการศึกษาคน้ คว้า 30
แบบบันทกึ การศึกษาคน้ คว้าข้อมลู 32
หนว่ ยที่ 2 คน้ ควา้ แสวงหาคำตอบ 45
กิจกรรมที่ 2.1 การสืบข้อมลู จากแหล่งเรียนรู้ 46
กิจกรรมที่ 2.2 การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เก่ียวขอ้ ง 50
กจิ กรรมท่ี 2.3 การเขยี นกรอบแนวคิดในการศึกษาค้นควา้ 52
กจิ กรรมท่ี 2.4 องคป์ ระกอบของวิธีการดำเนินการ 54
กจิ กรรมท่ี 2.5 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 56
กิจกรรมท่ี 2.6 การสรา้ งเคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 57
กจิ กรรมที่ 2.7 แหล่งท่ีมาของข้อมูล 58
หนว่ ยที่ 3 รอบรแู้ ละเหน็ คณุ คา่ 65
กจิ กรรมที่ 3.1 องค์ความรขู้ องฉนั

สารบญั (ต่อ) หน้า
66
กจิ กรรมที่ 3.2 ประโยชน์และคณุ คา่ ของการศึกษาดว้ ยตนเอง 67
กจิ กรรมท่ี 3.3 การเขยี นโครงรา่ งรายงานการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 70
กจิ กรรมท่ี 3.4 การเขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้า 75
การเขยี นบรรณานกุ รม

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1
จดุ ประกายความคิด

การตัง้ ประเดน็ ปญั หาหรือต้งั คำถาม

การใช้คำถามเป็นเทคนิคสำคัญในการเสาะแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ เป็นกลวิธีการสอนที่ก่อให้เกิดการ
เรียนรู้ทพ่ี ัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคดิ สามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุง
การจัดกระบวนการเรยี นรู้ได้เปน็ อย่างดี

การถามเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาความคิดใหม่ ๆ
กระบวนการถามจะช่วยขยายทักษะการคิด ทำความเข้าใจใหก้ ระจา่ ง ไดข้ ้อมูลป้อนกลบั ท้ังด้านการเรยี นการสอน ก่อให้เกิด
การทบทวน การเช่อื มโยงระหว่างความคดิ ตา่ ง ๆ สง่ เสรมิ ความอยากรู้อยากเหน็ และเกิดความท้าทาย

การสังเกต (Observation) วิธีการทางวิทยาศาสตร์มักจะเริ่มจากการสังเกต
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา เมื่อได้ข้อสังเกตบางอย่างที่เราสนใจจะทาให้ได้
สิ่งที่ตามมาคือ ปัญหา (Problem) เช่น การสังเกต ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่ หรือต้นหญ้าท่ี
อยู่ใต้หลังคามักจะไม่งอกงาม ส่วนต้นหญ้าในบริเวณใกล้เคียงกันที่ได้รับแสงเจริญงอก
งามดี

1

การตงั้ ปัญหา
"การตัง้ ปญั หานั้นสำคัญกว่าการแก้ปญั หา" เพราะ การตง้ั ปัญหาท่ดี ีและชดั เจนจะทำใหผ้ ูต้ ง้ั ปัญหาเกดิ ความเข้าใจ

และมองเหน็ ลูท่ างของการคน้ หาคำตอบเพ่ือแก้ปัญหาทต่ี ัง้ ข้ึน ดังน้นั จึงต้องหมั่นฝึกการสงั เกตสิ่งทส่ี งั เกตนัน้ เป็น
อะไร? เกิดขน้ึ เมอื่ ไร? เกดิ ขึ้นที่ไหน? เกดิ ข้นึ ได้อย่างไร? ทำไมจงึ เปน็ เชน่ นนั้ ?

ตัวอย่าง

"แสงแดดมีสว่ นเก่ยี วข้องกบั การเจรญิ งอกงามของตน้ ไมห้ รือไม่"
"ตน้ หญ้าทอ่ี ย่ใู ต้ต้นไม้มกั จะไมง่ อกงาม ส่วนต้นหญา้ ในบรเิ วณใกลเ้ คยี งกันท่ีไดร้ ับแสงเจริญงอกงามดี"
"แบคทีเรียในจานเพาะเชือ่ เจรญิ ช้าไมง่ อกงามถา้ มรี าสเี ขยี วอยู่ในจานเพาะเช้ือนนั้ "
ระดับของการตั้งคำถาม การตง้ั คำถามมี 2 ระดบั คือ คำถามระดับพน้ื ฐาน และคำถามระดบั สูง ซึง่ มีรายละเอียดดังน้ี

2

1) คำถามระดับพื้นฐาน เป็นการถามความรู้ ความจำ เป็นคำถามท่ีใช้ความคิดทั่วไป หรือความคิดระดับต่ำ ใช้พื้น
ฐานความรู้เดิมหรอื สิง่ ทปี่ ระจกั ษ์ในการตอบ เน่อื งจากเปน็ คำถามท่ีฝึกใหเ้ กิดความคล่องตวั ในการตอบ คำถามในระดับนี้เป็นการ
ประเมินความพรอ้ มของผูเ้ รยี นกอ่ นเรยี น วินิจฉยั จดุ อ่อน – จดุ แขง็ และสรุปเนือ้ หาที่เรยี นไปแลว้ คำถามระดับพน้ื ฐานไดแ้ ก่

1.1) คำถามใหส้ งั เกต เปน็ คำถามท่ีให้ผ้เู รียนคิดตอบจากการสังเกต เปน็ คำถามที่ต้องการใหผ้ ู้เรียนใช้ประสาทสัมผัสท้ัง
ห้าในการสบื คน้ หา

คำตอบ คอื ใชต้ าดู มือสมั ผัส จมกู ดมกล่ิน ล้ินชมิ รส และหฟู ังเสียง ตัวอยา่ งคำถาม เชน่
- เมอ่ื นกั เรยี นฟงั เพลงน้ีแลว้ รสู้ ึกอย่างไร
- ภาพนีม้ ลี ักษณะอย่างไร
- สารเคมใี น 2 บกี เกอร์ ตา่ งกนั อย่างไร
- พื้นผวิ ของวตั ถเุ ปน็ อยา่ งไร

1.2) คำถามทบทวนความจำ เป็นคำถามทใ่ี ชท้ บทวนความรู้เดิมของผู้เรยี น เพ่ือใช้เชือ่ มโยงไปสู่ความรู้ใหมก่ ่อนเริ่ม
บทเรียน

ตวั อยา่ งคำถาม เชน่
- วนั วิสาขบชู าตรงกับวันใด
- ดาวเคราะหด์ วงใดที่มขี นาดใหญท่ ี่สดุ
- ใครเป็นผ้แู ตง่ เรือ่ งอเิ หนา
- เมอ่ื เกดิ อาการแพย้ าควรโทรศัพท์ไปท่เี บอรใ์ ด

1.3) คำถามทีใ่ หบ้ อกความหมายหรือคำจำกัดความ เปน็ การถามความเข้าใจ โดยการให้บอกความหมายของข้อมูล
ตา่ ง ๆ ตวั อย่างคำถาม เชน่

- คำวา่ สิทธิมนษุ ยชนหมายความว่าอยา่ งไร
- ภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา คืออะไร
- สถติ ิ (Statistics) หมายความวา่ อย่างไร
- บอกความหมายของ Passive Voice

1.4) คำถามบง่ ช้ีหรือระบุ เป็นคำถามทีใ่ ห้ผู้เรยี นบ่งช้ีหรอื ระบุคำตอบจากคำถามให้ถกู ต้อง ตวั อย่างคำถาม เชน่
- ประโยคท่ีปรากฏบนกระดานประโยคใดบ้างทีเ่ ป็น Past Simple Tense
- คำใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นคำควบกลา้ ไมแ่ ท้
- ระบชุ ื่อสตั ว์ท่มี ีกระดูกสนั หลงั
- ประเทศใดบ้างที่เปน็ สมาชกิ APEC

3

2) คำถามระดับสูง เป็นการถามให้คิดค้น หมายถึง คำตอบที่ผู้เรียนตอบต้องใช้ความคิดซับซ้อนเป็นการส่งเสริม
ความคิดสร้างสรรค์และกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถใช้สมองซีกซ้ายและซีกขวาในการคิดหำคาตอบ โดยอาจใช้ความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิมมาเปน็ พ้ืนฐานในการคดิ และตอบคำถาม ตวั อย่างคำถามระดับสูงได้แก่

2.1) คำถามให้อธิบาย เป็นการถามโดยให้ผู้เรียนตีความหมาย ขยายความ โดยการให้อธิบายแนวคิดของข้อมูล
ต่างๆ ตัวอยา่ งคำถาม เช่น

- เพราะเหตุใดใบไม้จึงมีสเี ขยี ว
- นักเรียนควรมบี ทบาทหนา้ ที่ในโรงเรยี นอย่างไร
- ชาวพทุ ธทด่ี คี วรปฏบิ ัตติ นอยา่ งไร
- นักเรยี นจะปฏิบัตติ นอย่างไรจึงจะทำใหร้ ่างกายแข็งแรง

2.2) คำถามให้เปรยี บเทยี บ เปน็ การตง้ั คำถามให้ผเู้ รยี นสามารถจำแนกความเหมือน – ความแตกตา่ งของข้อมลู ได้
ตัวอยา่ งคำถาม เชน่

- พชื ใบเลย้ี งคู่ต่างจากพืชใบเล้ยี งเดยี่ วอย่างไร
- จงเปรียบเทียบวถิ ีชีวติ ของคนไทยในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย
- DNA กับ RNA แตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร
- สังคมเมืองกบั สังคมชนบทเหมอื นและต่างกันอย่างไร

2.3) คำถามให้วเิ คราะห์ เปน็ คำถามใหผ้ ู้เรยี นวเิ คราะห์ แยกแยะปัญหา จดั หมวดหมู่ วจิ ารณ์แนวคดิ หรอื บอก
ความสมั พันธแ์ ละเหตผุ ล ตัวอย่างคำถาม เชน่

- อะไรเป็นสาเหตุทีท่ ำให้เกดิ ภาวะโลกร้อน
- วฒั นธรรมแบ่งออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบ้าง
- สาเหตใุ ดท่ีทำให้นางวันทองถกู ประหารชีวิต
- การตดิ ยาเสพตดิ ของเยาวชนเกิดจากสาเหตุใด

2.4) คำถามให้ยกตัวอยา่ ง เปน็ การถามใหผ้ ู้เรยี นใช้ความสามารถในการคดิ นำมายกตัวอย่าง ตัวอยา่ งคำถาม เช่น
- รา่ งกายขบั ของเสียออกจากส่วนใดบา้ ง
- ยกตวั อย่างการเคล่อื นทีแ่ บบโปรเจกไตล์
- หนิ อัคนสี ามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งไรบา้ ง
- อาหารคาวหวานในพระราชนพิ นธก์ าพย์เหช่ มเครื่องคาวหวานได้แก่อะไรบ้าง

4

2.5) คำถามให้สรุป เป็นการใช้คำถามเมื่อจบบทเรียน เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนไดร้ ับความรู้หรือมคี วามก้าวหน้าใน
การเรียนมากน้อยเพียงใด และเป็นการช่วยเน้นย้ำความรู้ที่ได้เรียนไปแล้ว ทำให้สามารถจดจาเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น ตัวอย่าง
คำถาม เชน่

- จงสรุปเหตผุ ลท่ีทำให้พระเจา้ ตากสินทรงย้ายเมืองหลวง
- เม่อื นักเรยี นอ่านบทความเรือ่ งนี้แลว้ นักเรียนได้ข้อคดิ อะไรบา้ ง
- จงสรุปแนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรน้ำเพ่อื ใหเ้ กดิ คุณคา่ สูงสดุ
- จงสรปุ ขน้ั ตอนการทำผา้ บาตคิ
2.6) คำถามเพื่อใหป้ ระเมินและเลือกทางเลอื ก เป็นการใช้คำถามท่ีให้ผูเ้ รียนเปรียบเทียบหรือใช้วิจารณญาณใน
การตดั สินใจเลอื กทางเลือกท่หี ลากหลาย ตวั อย่างคำถามเชน่
- การวา่ ยนำ้ กับการวิ่งเหยาะ อยา่ งไหนเป็นการออกกำลงั กายท่ดี ีกวา่ กัน เพราะเหตุใด
- ระหวา่ งน้ำอดั ลมกบั นมอยา่ งไหนมีประโยชนต์ อ่ ร่างกายมากกว่ากัน เพราะเหตใุ ด
- ดนิ รว่ นดนิ ทรายและดนิ เหนียวดนิ ชนิดใดเหมาะแก่การปลกู มะมว่ งมากกว่ากันเพราะเหตใุ ด
2.7) คำถามให้ประยุกต์ เป็นการถามให้ผู้เรียนใช้พื้นฐานความรู้เดมิ ที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่หรือ
ในชีวิตประจำวนั ตวั อย่างคำถามเช่น
- นกั เรยี นมวี ิธีการประหยัดพลงั งานอย่างไรบ้าง
- เม่อื นกั เรยี นเหน็ เพื่อนในหอ้ งขาแพลง นักเรยี นจะทำการปฐมพยาบาลอยา่ งไร
- นักเรียนนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวันอยา่ งไรบ้าง
- นกั เรียนจะทำการสง่ ขอ้ ความผา่ นทางอีเมลลไ์ ด้อย่างไร
2.8) คำถามให้สรา้ งหรือคดิ ค้นสง่ิ ใหม่ ๆ หรือผลิตผลใหม่ ๆ เปน็ ลกั ษณะการถามให้ผเู้ รยี นคดิ สร้างสรรคผ์ ลงาน
ใหม่ ๆ ที่ไมซ่ ำ้ กับผูอ้ ่นื หรอื ท่ีมอี ยแู่ ล้ว ตัวอยา่ งคำถามเช่น
- กระดาษหนังสือพิมพ์ที่ไม่ใช้แล้ว สามารถนำไปประดษิ ฐข์ องเลน่ อะไรได้บ้าง
- กล่องหรอื ลงั ไมเ้ ก่า ๆ สามารถดดั แปลงกลับไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ได้อยา่ งไร
- เส้ือผ้าทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว นกั เรียนจะนำไปดัดแปลงเป็นสิ่งใดเพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์
- นักเรยี นจะนำกระดาษทีใ่ ชเ้ พยี งหน้าเดยี วมาประดษิ ฐเ์ ปน็ สงิ่ ใดบา้ ง

5

การตั้งสมมตฐิ าน HYPOTHESIS
สมมติฐาน (Hypothesis) หมายถงึ ความเช่ือของบุคคลใดบุคคลหน่ึง หรอื ของกลมุ่ ใดกลุ่มหนึ่งหรืออาจกล่าวได้

ว่า สมมตฐิ านเปน็ ส่งิ ทบี่ คุ คลหรอื กลมุ่ บุคคลคาดวา่ จะเกดิ ขนึ้ โดยทีค่ วามเชื่อหรอื ส่งิ ทคี่ าดนัน้ จะเป็นจริงหรือไม่ก็ได้
สรปุ คอื ส่งิ ทีบ่ ุคคลหรอื กลุ่มบคุ คล คาดวา่ จะเกิดขึน้ โดยทคี่ วามเช่อื หรือส่ิงที่คาดนน้ั จะเปน็ จรงิ หรือไม่กไ็ ด้

การคาดคะเน หรอื ทำนายคำตอบอย่างไรให้มเี หตุผลโดยอาศัย
- แนวคิดหลักการ
- ประสบการณ์
- ทฤษฎที ี่เก่ยี วข้อง

ตวั อย่างการตงั้ สมมตฐิ าน
- แม่ค้าขายลกู ช้ินปลาระเบดิ เปิดใหม่ มียอดขายต่อเดือนโดยเฉลี่ย เดือนละ 5,000 บาท แม่ค้าคาดวา่ ถ้า

ทำแบบนไ้ี ปอีกหน่งึ ปจี ะมเี งินเก็บ 60,000 บาท
- เจ้าของรา้ นค้าปลกี คาดว่าจะมีกำไรสทุ ธิจากการขายสนิ ค้าต่อปไี ม่ตำ่ กว่า 500,000 บาท
- หัวหน้าพรรคการเมือง A …..คาดว่าการเลือกตั้งสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรในคราวหน้า พรรคอ่ืนๆจะได้ท่ี

นง่ั ในสภาตำ่ กวา่ 50% ของทง้ั หมด
- คาดวา่ รายได้เฉลยี่ ต่อเดอื นของประชากรในจงั หวัดพิษณโุ ลกเท่ากบั 15,000 บาท

1. ความแตกต่างของสมมตฐิ านกับการพยากรณ์
การตั้งสมมตฐิ าน คือ การทำนายผลล่วงหนา้ โดยไมท่ ราบ ความสัมพันธ์เก่ยี วข้องระหวา่ งข้อมลู
การพยากรณ์ คือ การทำนายผลล่วงหน้าโดยการทราบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการ
ทำนายล่วงหน้า

6

2. หลักการต้งั สมมุติฐาน

1) สมมติฐานต้องเปน็ ขอ้ ความทบี่ อกความสัมพนั ธ์ระหว่าง ตวั แปรตน้ กบั ตวั แปรตาม

2) ในสถานการณ์หน่งึ ๆ อาจตัง้ หนึง่ สมมตฐิ านหรือหลายสมมตฐิ านก็ได้ สมมตฐิ านท่ีต้ังข้ึนอาจจะถูกหรือ
ผิดก็ได้ ดังนั้นจำเป็นต้องมีการทดลองเพื่อตรวจสอบว่า สมมติฐานที่ตั้งขึ้นนั้นเป็นที่ยอมรับหรือไม่ซึ่งจะทราบภายหลังจาก
การทดลองหาคำตอบแล้ว

ตัวอยา่ งการตั้งสมมตฐิ าน

คำถาม : อะไรมผี ลต่อความเร็วรถ (ความเร็วรถขนึ้ อยูก่ บั ปจั จยั อะไรบา้ ง)

สมมติวา่ นักเรยี นเลอื กขนาดของยางรถยนต์ เปน็ ตัวแปรทต่ี อ้ งการทดสอบ ก็อาจตั้งสมมติฐานไดว้ ่า

การตง้ั สมมตฐิ าน : เม่ือขนาดของยางรถยนตใ์ หญ่ข้นึ ความเรว็ ของรถยนต์จะลดลง

(ตัวแปรตน้ : ขนาดของยางรถยนต์) (ตวั แปรตาม : ความเร็วของรถยนต)์

3. การตั้งสมมติฐานทีด่ ี ควรมีลักษณะดงั น้ี

1) เป็นสมมติฐานทีเ่ ข้าใจง่าย มักนยิ มใช้วลี “ถา้ …ดังน้นั ”

2) เป็นสมมติฐานที่แนะลูท่ างท่ีจะตรวจสอบได้

3) เป็นสมมตฐิ านที่ตรวจไดโ้ ดยการทดลอง

4) เป็นสมมตฐิ านทส่ี อดคล้องและอยู่ในขอบเขตขอ้ เท็จจริงท่ีไดจ้ ากการสังเกตและสัมพันธก์ บั ปัญหาที่ต้งั ไว้
สมมตฐิ านที่เคยยอมรบั อาจล้มเลกิ ได้ถา้ มีขอ้ มูลจากการทดลองใหมๆ่ มาลบลา้ ง แต่ก็มีบางสมมติฐานท่ีไมม่ ีขอ้ มูลจากการ
ทดลองมาคัดค้านทาใหส้ มมติฐานเหล่าน้ันเป็นที่ ยอมรับวา่ ถูกต้อง เช่น สมมติฐานของเมนเดลเกีย่ วกบั หน่วยกรรมพนั ธุ์ ซ่ึง
เปลย่ี นกฎการแยกตัวของยนี หรอื สมมติฐานของอโวกาโดรซง่ึ เปลี่ยนเป็นกฎของอโวกาโดร

5) ใชภ้ าษาที่งา่ ยๆ มคี วามหมายชดั เจน

7

4. ตวั อย่างการตง้ั สมมติฐาน
1) ข้อสงสยั /ข้อสังเกต/ปัญหา : “ความแรงของพัดลมข้ึนอยูก่ ับปจั จยั อะไรบา้ ง”
ประเดน็ ปญั หา : “ขนาดของใบพดั มีผลต่อความแรงของพัดลมหรอื ไม่”
สมมติฐาน : “เม่ือขนาดของใบพัดเลก็ ลง ความแรงของพัดลมจะลดลง”
2) ข้อสงสยั /ข้อสังเกต/ปญั หา : “นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ชอบเรียนวิชาอะไร”
ประเด็นปัญหา : “ศึกษาพฤตกิ รรมการเรยี นในรายวิชาของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ...”
สมมติฐาน : “ถ้านักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ……. มีนสิ ัยชอบสงั เกต และทดลอง ดงั นั้นนักเรียน ชั้น

มธั ยมศกึ ษาปที …่ี ..ชอบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์”
3) ข้อสงสัย/ขอ้ สังเกต/ปัญหา : “ทำไมหญ้าบริเวณใต้ต้นไม้จงึ ไมง่ อกงามเทา่ หญา้ ที่อยู่กลางแจง้ ”
ประเดน็ ปัญหา : “แสงแดดมีส่วนเก่ยี วข้องกับการเจรญิ งอกงามของต้นหญา้ หรือไม”่
สมมติฐาน : “ถา้ แสงแดดมสี ่วนเกย่ี วข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้า ดงั นั้น ตน้ หญา้ บริเวณท่ไี มไ่ ด้

รับแสงแดดจะไมง่ อกงามหรือตายไป” หรือ “ถ้าแสงแดดมีสว่ นเก่ยี วขอ้ งกับการเจรญิ งอกงามของตน้ หญ้า ดังน้ัน ตน้ หญา้
บริเวณท่ีได้รบั แสงแดดจะเจริญงอกงาม”
หมายเหตุ (การวิจยั เชงิ สำรวจไมต่ ้องต้ังสมมติฐานก็ได)้

5. ประเภทของสมมติฐาน
สมมติฐานมี 2 ประเภท คือ สมมตฐิ านทางการวิจยั ( Research hypothesis) และ สมมตฐิ านทางสถติ ิ (
Statistical hypothesis)

5.1 สมมุติฐานทางการวิจัย.... (Research Hypothesis)
เปน็ สมมตฐิ านทีเ่ ขียนอยู่ในรูปของ ข้อความ ท่ี ใช้ภาษา เป็นส่อื ในการอธิบายความสัมพนั ธข์ องตวั แปรท่ี
ศกึ ษาเทคนิคการเขียนอยู่ 2 แบบ

- สมมตฐิ านแบบมีทศิ ทาง (Directional hypothesis)
- สมมติฐานแบบไม่มที ศิ ทาง (Nondirectionnal hypothesis)

8

5.1.1 สมมตฐิ านแบบมีทิศทาง (Directional hypothesis)
เปน็ สมมติฐานทเ่ี ขยี นโดยสามารถระบุได้แน่นอน ถงึ ทิศทางของความสัมพันธข์ องตวั แปรว่าสัมพนั ธ์ในทางใด
(บวกหรอื ลบ) ก็สามารถระบไุ ดถ้ งึ ทิศทางของความแตกตา่ ง เชน่ “ดกี วา่ ” หรอื “สงู กว่า” หรอื “ตำ่ กว่า” หรอื “น้อยกวา่ ”
ในสมมตฐิ านน้นั ๆ หรอื ระบทุ ิศทางของความสมั พนั ธ์ โดยมคี ำว่า “ทางบวก” หรือ “ทางลบ” ในสมมติฐานน้ันๆ เช่น

- นักเรียนหญิงส่งงานตรงเวลามากกวา่ นกั เรยี นชาย
- นกั เรยี นสายวิทย์-คณติ จะมีทศั นะคติทางวิทยาศาสตร์ดีกว่านกั เรยี นสายศิลป์ภาษา
- ครอู าจารยเ์ พศชายมีความวิตกกังวลในการทำงานน้อยกว่าครอู าจารยเ์ พศหญิง
- ผูส้ ูบบหุ รเี่ ปน็ โรคมากกวา่ ผูท้ ่ีไมส่ ูบบหุ ร่ี
- การต้งั ใจเรยี นและส่งงานตรงเวลามผี ลทำให้ประสทิ ธิภาพในการเรียนดีขน้ึ
- นกั เรียนในกรุงเทพฯจะมที ศั นะคติทางวทิ ยาศาสตร์ดีกว่านักเรียนในชนบท
- ผบู้ รหิ ารเพศชายมปี ระสิทธภิ าพในการบริหารงานมากกวา่ ผู้บริหารเพศหญงิ
5.1.2 สมมติฐานแบบไม่มีทศิ ทาง (Nondirectional hypothesis)

เปน็ สมมตฐิ านท่เี ขยี นโดยไม่ไดร้ ะบทุ ิศทางของความสัมพันธข์ องตวั แปร หรือทศิ ทางของความแตกต่าง
เพยี งระบวุ า่ ตวั แปร 2 ตัวน้นั มีความสัมพนั ธห์ รือถ้าเป็นการเปรียบเทยี บก็ ระบุเพยี งว่าสองกลมุ่ นัน้ มคี ุณลักษณะแตกต่างกัน
เท่าน้ัน เช่น “มอี ิทธพิ ลตอ่ ” “สง่ ผลต่อ” “มีความสมั พันธ์กับ” “แปรผนั กบั ”

- สภาพแวดล้อมทางกายภาพ มคี วามสัมพนั ธ์ กบั ประสิทธผิ ลในการทำงาน
- ความตอ้ งการใช้เครอ่ื งไฟฟ้าของบุคคลในชุมชนชนบทและชมุ ชนเมืองแตกต่างกัน
- ในอดีต และปัจจบุ ันผชู้ ายมคี วามสนใจในเพศเดียวกนั แตกตา่ งกนั
- ผ้สู บู บุหรม่ี ีความสมั พนั ธก์ บั การเป็นมะเร็งปอด
- คา่ แรงในการทำงานมีผลตอ่ ประสิทธิภาพในการทำงาน
- คา่ แรงในการทำงานมอี ิทธิพลกับประสิทธิภาพในการทำงาน
- นกั เรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูด้วยวธิ ีการท่ีแตกต่างกนั จะมวี ินัยในตนเองตา่ งกนั

9

6. ประโยชนข์ องสมมตฐิ าน
1. ทำหนา้ ทเ่ี หมอื นทศิ ทาง และแนวทางในการวิจยั
2. สมมติฐานต้องตอบวัตถุประสงคข์ องการวิจยั ได้อย่างครบถ้วน
3. สามารถทดสอบและวัดได้ดว้ ยขอ้ มลู และวธิ ีการทางสถิติ

10

กจิ กรรมท่ี 1.1

คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นสังเกตภาพแล้วกำหนดประเดน็ ปัญหาหรือตง้ั คำถามและกำหนดแนวทางแก้ไขปญั หา ภาพละ 5
คำถาม และอภิปรายหน้าช้นั เรยี น.

ทีม่ า : //www.nationweekend.com/content/image_news/7042

ประเดน็ ปญั หา

1.
2.
3.
4.
5.

แนวทางแกไ้ ข/พัฒนา

11

ทีม่ า: //www.rakluke.com/school-zone

ประเดน็ ปัญหา

1.
2.
3.
4.
5.

แนวทางแกไ้ ข/พัฒนา

12

ที่มา : //www.saohinlocal.go.th/webboard.php?qid=20191018142916HpjmmYQ

ประเดน็ ปัญหา

1.
2.
3.
4.
5.

แนวทางแกไ้ ข/พฒั นา

13

ที่มา : //www.xn--e3ca6azave5c9bh0pubo.com/Article/Detail/70672

ประเด็นปญั หา

1.
2.
3.
4.
5.

แนวทางแกไ้ ข/พฒั นา

14

กจิ กรรมที่ 1.2

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กประเด็นที่สนใจในชุมชน ท้องถิ่น และประเทศ ตั้งประเดน็ ปัญหา อย่างละ 5 ประเด็น และ
อภปิ รายหนา้ ชั้นเรียน.

ประเดน็ ใน ชุมชน ประเดน็ ปัญหา

ประเดน็ ใน ท้องถิน่ ประเดน็ ปญั หา
ประเด็นใน ประเทศ ประเด็นปัญหา

15

กจิ กรรม
คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเสนอปัญหาทสี่ นใจ และแยกสาเหตุและวธิ ีการแก้ไขปัญหา

มท่ี 1.3
าในรปู แบบของ My mapping.

16

กจิ กรรมท่ี 1.4
คำชี้แจง ให้นักเรยี นสืบค้นรูปภาพ คนละ 4 ภาพ โดยตง้ั ประเด็นปัญหา/คำถาม พร้อมกำหนดสมมติฐาน อ้างองิ แหลง่ ท่มี า
ของรูปภาพ และนำเสนอหน้าช้ันเรยี น
1.

ทีม่ า : …………………………………………………………………………………………………………………………………………….

17

2.
ท่มี า : …………………………………………………………………………………………………………………………………………….

18

3.
ท่มี า : …………………………………………………………………………………………………………………………………………….

19

5.
ท่มี า : …………………………………………………………………………………………………………………………………………….

20

กิจกรรมท่ี 1.5

ประเดน็ ปญั หา/วตั ถุประสงค์ของการคน้ คว้า

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน ระดมความคิดในเร่อื งที่สนใจ แลว้ ใหน้ ักเรียนระบปุ ัญหาทนี่ ักเรียนเลือกมา
และกำหนดวัตถุประสงคข์ องการศกึ ษาค้นคว้า

กลุ่มที่ สมาชกิ 1. เลขที่ ชั้น
2. เลขท่ี ชั้น
3. เลขท่ี ชน้ั
4. เลขที่ ช้ัน

ประเดน็ ปญั หา

วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษาค้นคว้า

21

แนวทางในการศึกษา
1.ปญั หาดังกล่าว เกิดจากสาเหตุใด
2.ปัญหาดังกล่าวมผี ลกระทบดา้ นใดบ้าง
3.นกั เรียนสามารถมีส่วนรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาดงั กล่าวอยา่ งไร

22

กจิ กรรมท่ี 1.6

ประเด็นปัญหา/วตั ถุประสงค์/สมมติฐาน

คำช้แี จง ให้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ 3-4 คน (กลุ่มเดมิ ท่เี ลือกแล้ว) โดยใหน้ ักเรียนระบุปญํ หา วัตถุประสงค์ สมมตฐิ าน
ของการศึกษาคน้ ควา้ และอภิปรายหน้าชั้นเรียน

กล่มุ ที่ สมาชกิ 1. เลขท่ี ช้นั

2. เลขที่ ชั้น

3. เลขที่ ชั้น

4. เลขที่ ชั้น

ประเด็นปัญหา (เร่ืองเดิมท่ีเลือก)

วตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาค้นคว้า

สมมติฐานของการศกึ ษาคน้ ควา้

23

กิจกรรมท่ี 1.7

การวางแผนและการออกแบบการทำงาน

คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 3-4 คน (กลุ่มเดิมท่ีเลือกแล้ว) โดยใหน้ กั เรียนระดมความคิดในเรื่องที่นักเรียนศึกษา
แล้วเขียนวางแผนทำงานวจิ ัย

กลุ่มที่ สมาชิก 1. เลขท่ี ชน้ั

2. เลขท่ี ชนั้

3. เลขที่ ชน้ั

4. เลขที่ ชน้ั

1.คำถามวจิ ยั

2.นกั เรยี นต้องการรู้อะไรบ้าง

3.จดุ ศกึ ษาหรือบรเิ วณท่ีจะศึกษา (สถานท)่ี
4.คำตอบของคำถามนา่ จะเป็นอย่างไร

24

5.นักเรียนจะตอบคำถามวจิ ยั ได้อย่างไร

6.นักเรยี นจะต้องวัดอะไรบ้าง อย่างไร และตรวจวดั เมอ่ื ใด

สิ่งทต่ี ้องการตรวจวัด วธิ กี ารตรวจวัด ช่วงเวลาในการตรวจวัด
1.
2.
3.
4.
5.
7.นกั เรียนจะใชว้ ัสดุและอุปกรณ์อะไรบา้ ง

1.

2.

3.

4.

5.

8.นักเรยี นจะใช้เวลานานเทา่ ไร

9.นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลโดยวธิ ใี ด

25

1.ช่ือเรอ่ื งหรือประเดน็ ปัญหา กจิ กรรมท่ี 1.8
โครงรา่ งการศกึ ษาค้นคว้า
2.ช่อื ผู้จดั ทำ
1. เลขท่ี ชน้ั
2. เลขที่ ชน้ั
3. เลขที่ ชน้ั
4. เลขที่ ชน้ั

3. ชอื่ ครทู ี่ปรึกษาการศกึ ษาค้นควา้
4.ระยะเวลาและสถานที่
5.ท่มี าและความสำคญั

6.วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา

26

7.สมมตฐิ าน
8.วิธกี ารดำเนินการศึกษา

8.1 วสั ดุอุปกรณ์
8.2 วิธดี ำเนินการศกึ ษา (ข้ันตอนการทดลอง)

27

9.แผนการดำเนนิ งาน (กำหนดช่วงเวลาในการทำงาน)

ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน วนั เดอื น ปี ผ้รู ับผดิ ชอบ

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

10.ประโยชน์ทจ่ี ะได้รับ

11. เอกสารอ้างอิง (หาข้อมูลมาจากท่ีไหนบ้าง)

28

ผลการพิจารณาของครทู ี่ปรึกษา  ไม่อนมุ ัติเร่ืองหรือประเด็นปญั หา
 อนุมตั ิเรื่องหรือประเดน็ ปัญหา

ข้อเสนอแนะ(สำหรบั ครทู ป่ี รึกษา)

ลงชือ่ ...................................................ครทู ่ีปรกึ ษา
(...............................................)
................/.............../.................

29

กลมุ่ ท่ี สมาชิก 1. เลขที่ ช้ัน
2. เลขท่ี ชนั้
3. เลขที่ ชัน้
4. เลขที่ ชั้น

แบบบันทึกการศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูล

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกการสบื เสาะค้นคว้าข้อมลู ลงในแบบบนั ทกึ อยา่ งละเอียด

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ปี เรือ่ ง/ประเด็นที่ศกึ ษา ที่มาของข้อมูล

30

แบบบนั ทึกการศกึ ษาค้นคว้าข้อมูล

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นบันทึกการสืบเสาะค้นคว้าข้อมลู ลงในแบบบันทกึ อยา่ งละเอียด

ครั้งท่ี วนั /เดือน/ปี เรอ่ื ง/ประเด็นทศี่ กึ ษา ท่มี าของข้อมูล

31

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2
ค้นคว้าแสวงหาคำตอบ
การศึกษาค้นคว้า หมายถึง การหาข้อมูลความรู้เพิ่มเติมเพื่อหาคำตอบจากปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ในเรื่องนั้นๆ การศึกษาค้นคว้าจึงเป็นการเเสวงหาความรู้เพื่อให้ได้รับคำตอบ หรือเพื่อนำ
ความรนู้ นั้ ไปใชใ้ นการเเกไ้ ขปญั หาหรือประกอบการตัดสินใจการศึกษาค้นคว้าจงึ มีความสำคญั ทช่ี ว่ ยใหน้ ักเรยี นมีความเข้าใจ
ในเรื่องทเ่ี รียนมากขน้ึ เเละชัดเจนข้ึนจากการบนั ทึกเเละเผยเเพร่ไว้ในสื่อต่างๆ เช่น สือ่ สง่ิ พมิ พ์สื่อโสตทัศนูปกรณ์ เเละสื่อ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ โดยใช้วธิ คี น้ หาในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
1. การอ่าน เป็นวิธีการศึกษาค้นคว้าที่ใช้กันมากที่สุด เพราะสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลาที่มีหนังสือหรือเคื่อง
คอมพวิ เตอรเ์ ชื่อมต่อเคลอื ค่ายอนิ เทอรเ์ น็ตนกั อ่านท่ีดีจะต้องเข้าใจเนื้อหาได้มากทสี่ ดุ โดนใชเ้ วลาในการอ่านน้อยท่สี ดุ

2. การฟัง เป็นทักษะสำคญั ในการศกึ ษาเลา่ เรียนของนกั เรยี นเเละนักศึกษา รวมทัง้ บุคคลทว่ั ไปท่ีสนใจหาความรู้จาก
การฟัง เช่น การฟังคำบรรยายในชัน้ เรียน การฟังวิทยุเพ่ือการศึกษา การฟังการสัมมนา การฟังเทศน์เเละการบรรยาน
ธรรมมะ เปน็ ต้น

32

3. การดู เป็นการศึกษาเรียนรู้อีกวิธีหนึ่งที่ทำให้ผู้ดูมีความรู้ในเรื่องที่ชอบเเละสนใจซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์
ได้ เชน่ การดวู ิธีการปลกู ต้นไม้ การดูส่ือวดี ที ศั นเ์ ก่ียวกบั การศึกษา

4. การสอบถาม เปน็ การศกึ ษาเรยี นรู้ด้วยการสอบถามจากผ้รู ู้ เปน็ วธิ กี ารเรียนรทู้ ีช่ าญฉลาดเพราะการสอบถามจาก
ผรู้ โู้ ดยตรงจะชว่ ยให้เขา้ ใจสงิ่ ทอ่ี ยากรู้ไดเ้ เจ่มเเจ้งเเละชัดเจน

5. การลงมอื ปฏิบัติจริง เปน็ การศึกษาเพ่ือเรียนร้จู ากการลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ เชน่ การปลกู พชื การเล้ียงสัตว์ การจัด
สวน การซอ่ มเเซมของใช้ในบ้าน การจำหนา่ ยสินค้า

33

การคน้ หาข้อมูลใน Google Advance search
เม่อื เอ่ยถึง Google เช่อื เหลอื เกินว่าผู้ใช้ Internet ตอ้ งรูจ้ กั และก็เชื่อว่าหลายท่านน่าจะรู้จัก Google ในนามของ

เครื่องมือค้นหากันเสียเป็นส่วนใหญ่ แล้วก็เชื่อต่อไปอีกว่าหลายท่านน่าจะทราบว่า Google นั้น เป็นมากกว่าเครื่องมือใน
การค้นหา เป็นอย่างน้ันจริง ๆ ครับ Google เป็นได้มากกว่าเคร่ืองมอื ในการค้นหา ขึ้นอยู่กับผู้ใช้งานว่าจะใช้ความสามารถ
ในด้านได้ของ Google ซ่ึงในเอกสารน้ีก็จะบอกว่า Google นั้น เป็นมากกว่าเครื่องมือในการค้นหาอย่างไร เชื่อว่าหากท่าน
อ่านเอกสารนี้จนจบ ท่านสามารถนำความรู้ในส่วนนี้ไปใช้ประโยชน์ในการเรียน การทำงาน ได้แน่นอน มาเริ่มด้วยฟังก์ช่ั น
ยอดฮิตกนั กอ่ นเลย

Google Search เป็นเครื่องมือที่ให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอ ร์เน็ต ( Search Engine) ของ
เวบ็ ไซต์ Google.com ท่โี ด่งดังที่สดุ ในปัจจุบัน ผ้ใู ชง้ านเพียงเข้าเว็บไซต์ www.Google.com จากนั้นพิมพ์คำหรือข้อความ
( Keyword) เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการค้นหา เพียงชั่วอึดใจหลังกดปุ่ม Enter Google Search ก็จะแสดงเว็บไซต์ทั้งหมดที่
เกยี่ วขอ้ งกับ Keyword เหลา่ นน้ั ทนั ที

ไม่เฉพาะแต่เพียงการค้นหาข้อมูลในรูปของเว็บไซต์เท่านั้น Google Search ยัง
สามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพ( Images) , กลุ่มข่าว( News Groups) และ สาร
ร ะ บ บ เ ว ็ บ ( Web Directory) ไ ด ้ อ ย ่ า ง แ ม ่ น ย ำ อ ย ่ า ง น ่ า ท ึ่ ง อ ี ก ด ้ ว ย ปั จ จ ุ บั น
เว็บไซต์ Google ได้รบั ความนิยมอย่างมากจากผู้ท่ีต้องการค้นหาข้อมลู ผา่ นเวบ็ ไซต์ โดยมีผู้
เข้าใช้กว่า 250 ล้านครั้งต่อวันเลยทีเดียว บริการค้นหาข้อมูลของ Google Search แบ่ง
หมวดหมขู่ องการค้นหาออกเปน็ 4 หมวดหลกั ด้วยกัน คือ

1. เวบ็ ( Web) เป็นการคน้ หาข้อมลู ในรปู แบบของเว็บไซตต์ า่ ง ๆ ทั่วโลก โดยการ
แสดงผลจะแสดงเวบ็ ไซตท์ ีม่ ีคำท่เี ป็น Keyword อยูภ่ ายเว็บไซตน์ ั้น

34

2. รูปภาพ ( Images) เปน็ การค้นหาไฟลร์ ปู ภาพจากการแปลคำ Keyword

3. กลมุ่ ข่าว ( News Groups) เปน็ การคน้ หาข่าวสารจากกลุ่มสมาชิกทใี่ ช้บรกิ าร Google News Groups เพอื่ รบั ส่ง
ขา่ วสารกนั เองระหวา่ งสมาชกิ โดยมีการระบชุ ่ือผู้เขียนขา่ ว , หวั ขอ้ ขา่ ว , วันท่ีและเวลาทีมีการส่งข่าว

4. สารระบบเว็บ ( Web Directory) Google มีการจัดประเภทของเวบ็ ไซตอ์ อกเป็นหมวดหมู่ ซ่งึ ผูใ้ ชส้ ามารถค้นหา
เว็บในเรอ่ื งท่ตี ้องการตามหมวดหมทู่ ม่ี ีอยแู่ ล้วได้เลยทันที

รปู แบบการค้นหาขอ้ มูลด้วย Google ทค่ี วรทราบ

การค้นหาโดยท่วั ไปสว่ นใหญ่แลว้ จะใช้ Keyword เปน็ เคร่ืองมอื ในการนำทางการค้นหาอยา่ งเดียว แต่ถ้าผ้ใู ชร้ ู้จักใช้
เครือ่ งหมายบางตวั รว่ มดว้ ย ก็จะทำให้ขอบเขตการค้นหาของ Google แคบลง ทำใหผ้ ู้ใช้ไดข้ ้อมูลที่ตรงกับความต้องการ
มากขนึ้ เคร่ืองหมายทีส่ ามารถนำมาช่วยในการค้นหาได้ มีดงั น้ี

1. การเช่อื มคำด้วยการใช้เครือ่ งหมายบวก (+)

การใช้เครื่องหมายบวก (+) เชื่อมคำ โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในในการค้นหาข้อมูลจากการ
พิมพ์ Keyword ประเภท Common Word( คำง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of แต่
เนือ่ งจากเปน็ บางคร้ังคำเหลา่ นี้เป็นคำสำคัญของประโยคทผี่ ู้ใช้จำเปน็ ต้องคน้ หา ดังนั้นเครื่องหมาย + จะชว่ ยเช่ือมคำ โดยมี
เงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเครื่องหมาย + ต้องมีการเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเกมที่มีช่ือ
วา่ Age of Empire ถ้าผู้ใช้พมิ พ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะทำการค้นหาแยกคำโดยไม่สนใจคำวา่ of และจะ
ค้นหาคำว่า Age หรือ Empire เพียงสองคำ แต่ถ้าผู้ใช้ระบุว่า Age +of Empire Google จะทำการค้นหาทั้งคำว่า Age,
of และ Empire มาแสดง

ภาพตัวอย่างการใช้เง่ือนไข (+)

35

2. การตดั คำทไ่ี ม่ต้องการด้วยการใช้เคร่อื งหมายลบ ( - )

ตัดบางคำที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - ) จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดเรื่องที่ผู้ใช้ไม่ต้องการ หรือไม่
เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้อง การ การล่องแก่งที่เกี่ยวข้องกับ
จังหวัดตาก ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้าเครื่องหมาย
ดว้ ย) Google จะทำการคน้ หาเว็บไซตท์ ่ีเกี่ยวกบั การล่องแกง่ แต่ไม่มีจงั หวดั ตากเขา้ มาเกีย่ วขอ้ ง

ภาพตวั อย่างการใช้เงื่อนไข (-)

ใช้ “-” เพื่อช่วยตัดคำบางคำออกเพื่อลดความกำกวม เช่น Inception -Movie (หมายถึงจะเอา Result ท่ี
เป็น Inception ทีไ่ ม่ใชห่ นังท่ี Leonardo แสดง)

3. การค้นหากลุ่มคำ Keyword ดว้ ยการใชเ้ ครื่องหมายคำพูด ("...")

การค้นหาด้วยเครื่องหมายคำพูด ("...") เหมาะสำหรับการค้นหาคำ Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลีหรือ
กลุ่มคำ ที่ผู้ใช้ต้องการใหแ้ สดงผลทุกคำในประโยค โดยไม่แยกคำ เช่น ถ้าผู้ใช้ตอ้ งการหาเว็บไซต์เก่ียวกับเพลงท่ีมีชือ่ ว่า If I
Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทำการค้นหาประโยค " If I Let You Go" ทั้งประโยคโดยไม่แยก
คำค้นหา

ภาพตวั อยา่ งการใช้เง่ือนไข ("...")
ตวั อยา่ ง “ลเิ วอร์พูลชนะแมนยู” “แชมป์ชนแชมป์ The mask singer”

36

4. การค้นหาข้อมลู เพ่มิ มากขึ้น ด้วยการใชค้ ำวา่ OR
การค้นหาด้วยคำว่า OR เป็นการสั่งให้ Google ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่

เก่ียวกบั การลอ่ งแก่ง ทั้งในจังหวดั ตาก และปราจีนบรุ ี ใหผ้ ู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ลอ่ งแก่ง ตาก OR ปราจีนบุรี Google จะ
ทำการคน้ หาเวบ็ ไซตท์ ่เี กี่ยวกับการล่องแก่งท้งั ในจังหวดั ตาก และกาญจนบุรี เชน่ dog OR cat OR bird

ภาพตวั อยา่ งการใช้เง่ือนไข OR

5. ไม่ต้องใชค้ ำวา่ AND ในการแยกคำคน้ หา
แต่เดิมการใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คำในการค้นหาเว็บไซต์แบบแยกคำ ผู้ใช้จำเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคำ

เหล่านั้น ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้ว เพราะ Google จะทำการแยกคำให้โดยอัตโนมัติเมื่อผูใ้ ช้ทำการเว้นวรรคคำเหล่านั้น
เช่น ถ้าผู้ใช้พิมพ์คำว่า Thai Travel Nature เมื่อคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าในรายชื่อหรือเนื้อหาของเว็บที่ปรากฏจะมีคำ
ว่า Thai ,Travel และ Nature อยู่ในน้นั ดว้ ย

ภาพตัวอยา่ งการใชเ้ ง่ือนไข AND

37

6. คน้ หาภายในเวบ็ (Site Search)
ใชค้ ำวา่ “site:” เพ่ือคน้ หาภายในเว็บได้ เชน่ site:www.ohlor.com แต่งตัว

7. หาเว็บทีม่ ีเน้ือหาใกล้เคียง (Related)
ค้นหาเว็บที่มเี นื้อหาใกล้เคียงกับ URL ที่คณุ รู้ เช่น related:www.chula.ac.th

8. ใช้จุดสองจุด “..”
แยกตัวเลขเป็น 2 ตวั ตัวนอ้ ยกบั ตวั มาก แล้วคุณจะเห็นผลลัพธ์ข้อมลู ตวั เลขทอ่ี ยู่ในระหว่างตวั เลขนนั้ เช่น ปฏวิ ตั ิ

พ.ศ. 2500..2555
ภาพตวั อยา่ งการใชเ้ ง่ือนไข Common Word

ค้นหารูปไดแ้ สนง่าย ความสามารถทผ่ี ู้ใชส้ ่วนใหญ่ชอบกนั นกั หนา และสรา้ งชือ่ ให้กับ Google กค็ ือการค้นหา
รปู ภาพด้วย Google Search วธิ กี ารใชก้ ็คือ

1. คลิกเมนลู งิ ค์ รูปภาพ จากนนั้ ก็พมิ พช์ ่อื ภาพท่ีตอ้ งการคน้ หา และคลกิ ปุ่มค้นหารปู ภาพ ดงั รปู

38

2. จะปรากฏรูปภาพทง้ั หมดที่ตอ้ งการดังรปู

เทคนคิ พิเศษทีม่ ีใน Google
เทคนคิ การค้นหาข้อมลู ด้วย Google แบบพเิ ศษ

Google คน้ หาไฟล์ได้ Google สามารถค้นหาไฟล์เอกสารทส่ี ำคัญๆ ได้ดังน้ี คอื Adobe Portable Document
Format ( ไฟลน์ ามสกุล . pdf), Adobe PostScript ( ไฟล์นามสกุล . ps), Lotus 1-2-3 ( ไฟล์
นามสกลุ . wk1, .wk2, .wk3, .wk4, .wk5, .wki, .wks และ . wku), Lotus WordPro ( ไฟลน์ ามสกลุ . lwp) MacWrite
( ไฟล์นามสกุล . mw), Microsoft Excel ( ไฟ
ลน์ ามสกลุ . xls), Microsoft PowerPoint ( ไฟลน์ ามสกุล . ppt), Microsoft Word ( ไฟลน์ ามสกลุ . doc), Microsoft
Works ( ไฟล์นามสกุล . wks, .wps, .wdb), Microsoft Write ( ไฟลน์ ามสกุล . wri), Rich Text Format ( ไฟล์
นามสกุล . rtf), Shockwave Flash ( ไฟล์นามสกุล . swf),Text ( ไฟลน์ ามสกุล . ans, .txt)

39

1.รูปแบบของการค้นหาคือ ให้ผู้ใช้พิมพ์ "ชื่อเรื่องหรือชื่อเอกสาร" filetype: นามสกุลของไฟล์ ใน
ช่อง Google ตัวอยา่ งเชน่ "การเล้ยี งไก่" filetype:doc ซ่ึงหมายถึง การค้นหาไฟล์เอกสารทม่ี นี ามสกุล . doc เร่ือง การ
เลยี้ งไก่ นนั่ เอง

ภาพตวั อยา่ งการใช้ file type:

2. Google สามารถค้นหาเว็บท้งั หมดท่ีเช่อื มมายังเว็บนั้นได้ โดยพมิ พ์ link: ชื่อ URL ของเวบ็ ในชอ่ ง Search
ของ Google เช่น link:www.plawan.com เป็นการค้นหาลิงคท์ ีเ่ ชอ่ื มมายังเว็บของปลาวาฬดอตคอมเป็นต้น

ภาพตวั อยา่ งการใช้เง่ือนไข link:www.plawan.com

3. Google สามารถหาคำเฉพาะเจาะจงในเวบ็ ไซต์นน้ั ๆ ได้ โดยพมิ พ์ คำท่ีค้นหา site: ชื่อ URL ของเว็บ ในชอ่ ง
Search ของ Google เชน่ Google Earth site:www.kapook.com ซ่ึงเปน็ การหาหน้าเว็บไซต์ที่เก่ียวกบั Google Earth
ในเว็บไซต์ของ Kapook น่ังเอง

ภาพตวั อยา่ งการใช้เง่ือนไข site:www.kapook.com

40

4. ค้นหาแบบวัดดวงกนั บ้าง จะวัดดวงค้นหาเว็บไซต์ด้วย Google กนั สักครงั้ คงไม่เปน็ ไร เพราะถ้าดวงดีผ้ใู ชก้ จ็ ะ
ได้ไม่เสยี เวลามานง่ั เลือก โดยพมิ พ์ Keyword สำหรับคน้ หาเว็บไซต์ทตี่ ้องการจากน้นั คลกิ ท่ปี ุ่ม ดใี จจัง ค้นหาแล้วเจอเลย

ภาพตวั อย่างการใช้ปุ่ม ดใี จจงั คน้ หาแลว้ เจอเลย
5. ค้นหาบทสรุปของหนงั สือก่อนตัดสนิ ใจซื้อ ก่อนการตัดสินใจทจ่ี ะซื้อหนงั สือสักเล่ม ผู้ใช้น่าจะทราบก่อนว่า
เนือ้ หามีอะไรบ้าง หรอื มโี อกาสไดด้ ูสารบญั ของหนังสือเลม่ น้นั เสียก่อน Google Search สามารถบอกผู้ใช้ได้เพียงใสช่ ่ือ
หนังสอื หลงั คำว่า books about ชือ่ หนงั สอื เช่น books about Harry Potter

ภาพตวั อย่างการใช้ book about
6. ใช้ Google แทนเครื่องคิดเลขได้ ผใู้ ชส้ ามารถใช้ Google คำนวณตัวเลขด้วยเคร่ืองหมายในการคำนวณ
หลกั ๆ เชน่ + = บวก, - = ลบ, * = คณู , / = หาร , ^ = ยกกำลัง เปน็ ต้น

ภาพตวั อยา่ งการใช้เง่ือนไข calculator

41

7. คน้ หาความหมายหรือนิยามของศพั ท์เฉพาะ(เปน็ ภาษาอังกฤษ) Google สามารถค้นหาศพั ทเ์ ฉพาะได้ดว้ ย
การพมิ พ์ define: ศัพท์เฉพาะ

ภาพตัวอยา่ งการใชเ้ ง่ือนไข define
8. คน้ หาเว็บไซต์รวมรปู ดีๆ นอกจากการใช้เมนู รปู ภาพ (Images) ในการคน้ หารูปภาพแลว้ ผใู้ ช้ยังค้นหาภาพได้
ดว้ ยการพิมพ์ ชือ่ ภาพ pictures

ภาพตวั อย่างการใช้เง่ือนไข pictures
9. คน้ หารวี วิ ภาพยนตร์สนกุ ๆ ผู้ใชส้ ามารถคน้ หารวี ิวหรอื ตวั อย่างภาพยนตร์ดว้ ย Google ไดง้ ่ายๆ ด้วยการ
พมิ พ์ movie: ช่อื ภาพยนตร์

ภาพตวั อย่างการใช้เง่ือนไข movie:

42

10. ค้นเน้ือหาข้อมลู ในเว็บไซต์ทต่ี ้องการ ผู้ใชส้ ามารถค้นหาข้อมลู เฉพาะในเวบ็ ไซตท์ ่ตี ้องการได้ โดยการพมิ พ์ ชอ่ื
ข้อมลู ค้นหา site: เว็บไซต์ทจี่ ะคน้ หา ยกตวั อย่างเชน่ การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกบั Spyware ในเวบ็ ไซต์ของกระปุก โดยการ
พิมพ์ Spyware site: www.kapook.com

ภาพตวั อย่างการใช้เงื่อนไขเวบ็ ไซตท์ ต่ี ้องการ
การคน้ หาขอ้ มลู แบบละเอียด( Advance Search)

เพ่ือความแมน่ ยำในการคน้ หาข้อมลู ผู้ใช้สามารถกำหนดเงอ่ื นไขในแบบท่ีละเอียดไดไ้ ม่ยาก เพราะ Google ได้เพิ่ม
รูปแบบในการกำหนดเง่ือนไขสำเร็จรปู มาใหเ้ รียบรอ้ ยแลว้ โดยคลิกไปยงั เมนู ค้นหาแบบละเอยี ด ดา้ นขวามือ กจ็ ะเข้าสหู่ นา้
ค้นหาดงั รปู

43

หนา้ ตาของ Google Advance Search
44

กจิ กรรมที่ 2.1
การสืบข้อมลู จากแหล่งเรยี นรู้
คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นนำประเด็นปญั หาที่นักเรียนได้เลอื กท่ีจะศึกษา นำมาสบื เสาะบอกแหลง่ เรยี นร้ทู ี่จะได้มาซึ่งวธิ กี าร
แก้ปญั หา
1.แหลง่ เรยี นรู้
1.1
1.2
1.3
1.4
1.5
1.6
1.7
1.8
1.9
1.10
2.การสืบค้นอยา่ งไร

45

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก